เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ดัชนี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน (พ.ศ. 2483 -) เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน เป็นบุตรคนโตในเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน กับท่านหญิงจิตรจง ณ ลำพูน มีศักดิ์เป็นพระนัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย นอกจากหน้าที่ในการสืบราชสกุลแล้ว เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน ยังเป็นผู้ดูแลคุ้มหลวงของเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จนถึงปัจจุบัน.

สารบัญ

  1. 21 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2483พ.ศ. 2538พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์กองทัพอากาศรัชทายาทที่ได้รับสมมุติรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูนสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีหม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์อำเภอเมืองลำพูนจังหวัดลำพูนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนเจ้าอินทยงยศโชติเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์เจ้านายฝ่ายเหนือเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและพ.ศ. 2538

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ

ระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าชายมงคล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ กับหม่อมแพ ศิริวงศ์ ณ อยุธยา พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า หม่อมเจ้าชายมงคล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานนามใหม่ว่า "มงคลเลิศ" และสถาปนาพระอิสริยยศให้เป็น พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม..

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

กองทัพอากาศ

กองทัพอากาศ คือกองกำลังติดอาวุธที่ปฏิบัติการในอากาศหรือเกี่ยวข้องกับอากาศ โดยใช้อากาศยานเป็นส่วนใหญ่ มีหน้าที่ปกป้องน่านฟ้าของประเทศนั้น.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและกองทัพอากาศ

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน

ในปี พ.ศ. 2324 ภายหลังจากที่พระเจ้ากาวิละ ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่ ขณะนั้นนครลำพูนยังคงเป็นเมืองร้าง ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ในปี..

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์

หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ (22 เมษายน พ.ศ. 2400 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2473) เป็นหม่อมห้ามสะใภ้หลวงในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและหม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์

อำเภอเมืองลำพูน

มืองลำพูน (60px) เป็นอำเภอศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของจังหวัดลำพูน และเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดลำพูน อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของอาณาจักรหริภุญชัยที่เรืองอำนาจอยู่ในแถบภาคเหนือตอนบนในอดีตอีกด้วย ภายในเมืองมีโบราณสถานที่เก่าแก่อายุกว่า 1,300 ปีตั้งอยู่มากมาย เช่น พระรอดอายุ 1,300 ปี กำแพงเมืองโบราณ พระธาตุหริภุญชัย กู่ช้างกู่ม้.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและอำเภอเมืองลำพูน

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและจังหวัดลำพูน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย

รงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย (ย่อ: ป.ร., P.R.C.) เป็นโรงเรียนสหศึกษาของเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 3 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 1 สังกัดสำนักงานพันธกิจการศึกษา มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนก่อตั้งเมื่อปี..

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย

เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

เจ้าอินทยงยศโชติ

้าอินทยงยศโชติ (110px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและเจ้าอินทยงยศโชติ

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและเจ้าจักรคำขจรศักดิ์

เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์

้าหลวงดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ (170px) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 7 แห่ง ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)".

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและเจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและเจ้านายฝ่ายเหนือ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.

ดู เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า