โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

ดัชนี เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน

้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน (พ.ศ. 2449 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์โตใน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าขานแก้วขจรศักดิ์ เจ้าพงศ์ธาดา เป็นผู้เป็นพุทธบริษัท ทำนุบำรุงพรพพุทธศาสนาตลอด และสอนให้บุตรทุกคนประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เมื่อครั้งไปรับราชการที่จังหวัดนครปฐม เจ้าพงศ์ธาดา มีพี่น้องร่วมบิดามารดา 4 ท่าน คือ เจ้าลำเจียก ณ ลำพูน เจ้าวรรณรา ณ ลำพูน เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน และเจ้ารัทธาธร ณ ลำพูน และมีน้องต่างมาดา จำนวน 4 คน คือ เจ้าประกายคำ ณ ลำพูน เจ้าสุริยา ณ ลำพูน เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน และเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน.

29 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2449พ.ศ. 2463พ.ศ. 2474พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2538พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์กรกฎาคมกิตติคุณ เชียรสงค์กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูนอำเภอเมืองลำพูนจังหวัดลำพูนจังหวัดนครปฐมประเทศอังกฤษโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเจ้าพัฒนา ณ ลำพูนเจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูนเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนเจ้าอินทยงยศโชติเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์เจ้านายฝ่ายเหนือเจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ14 พฤษภาคม21 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเครื่องบรมราชาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เป็น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ระหว่างวันที่ 4 - 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2493 ปรากฏบันทึกรายละเอียดไว้ ดังนี้.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม

กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและกรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

กิตติคุณ เชียรสงค์

กิตติคุณ เชียรสงค์ หรือ กุ้ง กิตติคุณ (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 - 28 กันยายน พ.ศ. 2550) นักร้องเพลงโฟล์กซอง เจ้าของฉายา ราชาเพลงคันทรี่เมืองไทย เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ที่อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2550 รวมอายุได้ 50 ปี.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและกิตติคุณ เชียรสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร

กิรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือที่รู้จักกันในชื่อ เขียว คาราบาว เป็นนักร้องและมือกีตาร์ อดีตสมาชิกวงคาราบาว และเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร มีผลงานเพลงที่โด่งดังคือเพลง สัญญาหน้าฝน และ เพลง ไม.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน

ในปี พ.ศ. 2324 ภายหลังจากที่พระเจ้ากาวิละ ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้านครเชียงใหม่ ขณะนั้นนครลำพูนยังคงเป็นเมืองร้าง ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ในปี..

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองลำพูน

มืองลำพูน (60px) เป็นอำเภอศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของจังหวัดลำพูน และเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดลำพูน อีกทั้งยังเป็นที่ตั้งของอาณาจักรหริภุญชัยที่เรืองอำนาจอยู่ในแถบภาคเหนือตอนบนในอดีตอีกด้วย ภายในเมืองมีโบราณสถานที่เก่าแก่อายุกว่า 1,300 ปีตั้งอยู่มากมาย เช่น พระรอดอายุ 1,300 ปี กำแพงเมืองโบราณ พระธาตุหริภุญชัย กู่ช้างกู่ม้.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและอำเภอเมืองลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพัฒนา ณ ลำพูน

้าพัฒนา ณ ลำพูน (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - พ.ศ. 2512) เจ้านายฝ่ายเหนือ ราชบุตรองค์สุดท้ายในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์สุดท้าย กับแม่เจ้าส่วนบุญจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าพัฒนา ณ ลำพูน ถึงแก่อนิจกรรมในปี..

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าพัฒนา ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน

้าวรทัศน์ ณ ลำพูน (12 มิถุนายน พ.ศ. 2454 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) อดีตรัฐมนตรีในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน (พ.ศ. 2483 -) เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน เป็นบุตรคนโตในเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน กับท่านหญิงจิตรจง ณ ลำพูน มีศักดิ์เป็นพระนัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย นอกจากหน้าที่ในการสืบราชสกุลแล้ว เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน ยังเป็นผู้ดูแลคุ้มหลวงของเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทยงยศโชติ

้าอินทยงยศโชติ (110px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 9 ในราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าอินทยงยศโชติ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์

้าหลวงดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ (170px) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 7 แห่ง ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)".

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านายฝ่ายเหนือ

้านายฝ่ายเหนือ หมายถึง เจ้านายผู้สืบเชื้อสายในราชวงศ์ที่เคยปกครองอาณาจักรหัวเมืองเหนือ ซึ่งเข้ามาเป็นประเทศราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช อันได้แก่ เจ้าในราชวงศ์ทิพย์จักรที่ปกครองนครเชียงใหม่ นครลำปาง และนครลำพูน ราชวงศ์น่านที่ปกครองนครน่าน และราชวงศ์เทพวงศ์ที่ปกครองนครแพร่ ในอดีตเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดินแดนของตน แต่มีหน้าที่ต้องส่งเครื่องบรรณาการถวายราชสำนักสยามเพื่อแสดงความจงรักภักดีเท่านั้น อย่างไรก็ตามราชสำนักสยามได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในราชสำนักประเทศราชหลายครั้ง จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงยกเลิกการปกครองแบบประเทศราชเพื่อรวมศูนย์อำนาจการปกครองไว้ที่กรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ตำแหน่งเจ้าประเทศราชก็ให้สิ้นสุดเมื่อเจ้านครนั้นถึงแก่พิราลัย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักรยังคงมีการสืบทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น และยังมีการรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ

้าหลวงไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ (210px) เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 6 พระองค์ปกครองลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2386 - พ.ศ. 2414 รวมระยะเวลาการปกครองทั้งหมด 28 ปี ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนที่ปกครองลำพูนยาวนานเป็นอับดับที่ 2 รองจากเจ้าจักรคำขจรศัก.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและเจ้าไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: เจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูนและ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »