โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

ดัชนี รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

293 ความสัมพันธ์: บรรดาศักดิ์ชาร์ล นโปเลียนชาวมาวรีชาวอังกฤษพ.ศ. 2021พ.ศ. 2048พ.ศ. 2338พ.ศ. 2341พ.ศ. 2343พ.ศ. 2361พ.ศ. 2362พ.ศ. 2365พ.ศ. 2366พ.ศ. 2374พ.ศ. 2377พ.ศ. 2382พ.ศ. 2391พ.ศ. 2403พ.ศ. 2421พ.ศ. 2422พ.ศ. 2432พ.ศ. 2434พ.ศ. 2436พ.ศ. 2454พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465พ.ศ. 2467พ.ศ. 2469พ.ศ. 2471พ.ศ. 2472พ.ศ. 2473พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2478พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2492พ.ศ. 2493พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496...พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2513พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560พระยาวิชิตภักดี (เต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน)พระสันตะปาปาพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรักพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกสพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกสพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าธีบอพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดาพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษพอล-ฟิลิป โฮเอินโซลเลิร์นการรวมชาติอิตาลีการเลิกล้มราชาธิปไตยฝ่ายอักษะมกุฎราชกุมารมองโกเลียยฺเหวียน ชื่อไข่รัฐสุลต่านอาเจะฮ์รัฐสุลต่านซูลูรัฐซาราวักรัฐเอกราชโครเอเชียราชวงศ์ชิงราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์กราชวงศ์กอญัรราชวงศ์วิทเทลส์บัคราชวงศ์ศาหะราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์ออตโตมันราชวงศ์อาหมราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชวงศ์ทิพย์จักรราชวงศ์ซาวอยราชวงศ์ปาห์ลาวีราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชวงศ์โชซ็อนราชวงศ์โบนาปาร์ตราชวงศ์โกนบองราชวงศ์โรมานอฟราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นราชวงศ์โซกูราชวงศ์เวททินราชวงศ์เหงียนราชวงศ์เทพวงศ์ราชอาณาจักรบัลแกเรียราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรกรีซราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชอาณาจักรมอนเตเนโกรราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมนราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรลาวราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)ราชอาณาจักรลิเบียราชอาณาจักรอังกฤษราชอาณาจักรอิรักราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรอียิปต์ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ราชอาณาจักรฮาวายราชอาณาจักรซัคเซินราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสองราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรโรมาเนียราชอาณาจักรโปรตุเกสราชอาณาจักรไอร์แลนด์ราชอาณาจักรเยรูซาเลมราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลียราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์คราชอาณาจักรเซอร์เบียราชอาณาจักรเนปาลราชอาณาจักรเนเปิลส์ราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคมรายพระนามพระมหากษัตริย์ลาวรายพระนามเจ้าผู้ครองนครน่านสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาลสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปนสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซสมเด็จพระราชาธิบดีตูเฮอิเตีย ปากีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโกสมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปียสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนาสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลีสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวียสหราชอาณาจักรสังข์ พัธโนทัยสุลต่านอาลีแห่งยะโฮร์สงครามดอกกุหลาบสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งหมู่เกาะโคโคส (คีลิง)ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กอาฟงซู เจ้าชายแห่งไบราอาณาจักรรีวกีวอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์อาณาจักรหอคำเชียงรุ่งอาณาจักรอาหมอาณาจักรปัตตานีอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิชอี กูอี ว็อนอี แฮ-ว็อนอ้ายซินเจว๋หลัวฌออากีม มูว์ราผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปาฌ็อง-เบแดล บอกาซาจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดินโปเลียนที่ 3จักรพรรดิโคจงจักรพรรดิเต้ากวังจักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิลจักรวรรดิบราซิลจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งจักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)จักรวรรดิแอฟริกากลางจักรวรรดิเกาหลีจักรวรรดิเม็กซิโกจักรวรรดิเยอรมันจักรวรรดิเวียดนามจักรวรรดิเอธิโอเปียจิน โหย่วจือจู หรงจี้ทะไลลามะทะไลลามะที่ 14ทายาทโดยสันนิษฐานทิเบตคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์กคำตี่ต่อพะยาซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธาประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประวัติศาสตร์จีนประเทศมัลดีฟส์ประเทศสกอตแลนด์ประเทศสเปนประเทศออสเตรียประเทศอังกฤษประเทศอิหร่านประเทศจอร์เจียประเทศนิวซีแลนด์ประเทศแมนจูปุรันทาร สิงห์นามสกุลนครเชียงใหม่แฟร์ดีนันด์ ซโวนีมีร์ ฟอน ฮับส์บูร์กแกรนด์ดยุกจอร์จ มิไคโลวิชแห่งรัสเซียโชติ แพร่พันธุ์โรซ เปาลา อีรีบากิซาโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินไอล์ออฟแมนเหิง เจิ้นเอมิเรตบูคาราเจ้าชายบ๋าว ทั้งเจ้าชายกียอร์ก ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซียเจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีสเจ้าชายฌ็อง-เบแดล บอกาซา มกุฎราชกุมารแห่งแอฟริกากลางเจ้าชายดูอาร์ท ปิโอ ดยุกแห่งบรากันซาเจ้าชายคาร์ดัม เจ้าชายแห่งทาร์โนเจ้าชายปีเตอร์ รัชทายาทแห่งเซอร์เบียเจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลียเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่านเจ้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนียเจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซเจ้าพรหมาภิพงษธาดาเจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)เจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน)เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนเจ้าวาสนา ภู่วุฒิกุลเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปางเจ้าสมปรารถนา ณ น่านเจ้าสุริวงศ์ สว่างเจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนียเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงินเจ้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนียเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าธัญวงศ์ สว่างเจ้าแก้วนวรัฐเจ้าโคมทอง ณ น่านเด่น โต๊ะมีนา ขยายดัชนี (243 มากกว่า) »

บรรดาศักดิ์

รรดาศักดิ์ คือระดับชั้น หรือชั้นยศของขุนนาง ซึ่งมีในทุกๆ ประเทศ เพียงแต่แตกต่างกันออกไปเท่านั้น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและบรรดาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล นโปเลียน

นโปเลียนที่ 7 หรือ ชาร์ล นโปเลียน (Charles Marie Jérôme Victor Napoléon Bonaparte) เป็นนักการเมืองฝรั่งเศส และผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์สมเด็จพระจักรพรรดิฝรั่งเศสองค์ที่ 4 เป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์สมเด็จพระจักรพรรดิฝรั่งเศสสืบต่อจาก นโปเลียนที่ 6 หลุยส์ ที่สิ้นพระชนม์ไปในปี ค.ศ. 1997 พระองค์เป็นพระประมุขราชวงศ์โบนาปาร์ตองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและชาร์ล นโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมาวรี

มาวรี เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนพื้นเมืองของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและชาวมาวรี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอังกฤษ

วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและชาวอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2021

ทธศักราช 2021 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2021 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2048

ทธศักราช 2048 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2048 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2361

ทธศักราช 2361 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2361 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2362

ทธศักราช 2362 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2362 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2365

ทธศักราช 2365 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2365 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2366

ทธศักราช 2366 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2366 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2374

ทธศักราช 2374 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2374 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2377

ทธศักราช 2377 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1834.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2377 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2382

ทธศักราช 2382 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1839.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2382 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2391

ทธศักราช 2391 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2391 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2421

ทธศักราช 2421 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1878.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2421 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2422

ทธศักราช 2422 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1879.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2434

ทธศักราช 2434 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1891 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2434 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2472 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิชิตภักดี (เต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน)

ต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน (Tengku Abdul Kadir Kamaruddin) เป็นพระยาเมืองปัตตานีในช่วงปี พ.ศ. 2442 - 2445 ถือเป็นรายาปัตตานีองค์ที่ 5 และเป็นองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์กลันตันที่ปกครองปัตตานี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระยาวิชิตภักดี (เต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน) · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก

ระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก (الملك فيصل الثان, Al-Malik Fayṣal Ath-thānī) พระนามเต็ม อัลมะลิก ฟัยศ็อล อัษษานี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์อิรัก ระหว่างปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส (อังกฤษ: Emmanuel II; 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟพระองค์สุดท้าย ทรงมีพระราชสมัญญานามว่า "ผู้รักชาติ" (the Patriot; โปรตุเกส: o Patriota) หรือพระนามว่า "ผู้เคราะห์ร้าย" (the Unfortunate; โปรตุเกส: o Desventurado) ทรงสืบราชบัลลังก์หลังจากเกิดเหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าคาร์ลอสที่ 1 แห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระราชบิดาและเจ้าชายลูอิส ฟิลิเป รัชทายาทแห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระเชษฐา ก่อนที่จะทรงสืบราชบัลลังก์พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ "ดยุกแห่งเบฌา" รัชสมัยของพระองค์สิ้นสุดลงด้วยการล้มล้างราชาธิปไตยจากเหตุการณ์การปฏิวัติ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2453 และพระเจ้ามานูเอลทรงดำรงพระชนม์ชีพอย่างสงบในระหว่างทรงถูกเนรเทศโดยสาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส

มเด็จพระเจ้ามิเกลที่ 1 แห่งโปรตุเกส (ภาษาอังกฤษ: Michael I; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2345 ในลิสบอน - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ในชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ, บาวาเรีย) ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้สมบูรณาญาสิทธิ์" (the Absolutist; ภาษาโปรตุเกส:o Absolutista) หรือ "ผู้อนุรักษนิยม" (the Traditionalist; ภาษาโปรตุเกส:o Tradicionalista) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกสระหว่างปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Louis-Philippe Ier; Louis-Philippe of France) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม "พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 (Louis XIV de France; หลุยส์กาโตร์ซเดอฟร็องส์, 5 กันยายน พ.ศ. 2181 – 1 กันยายน พ.ศ. 2258) หรือเรียกว่า หลุยส์มหาราช (Louis le Grand; หลุยส์ เลอ กร็อง) หรือ สุริยกษัตริยาธิราช (le Roi Soleil) เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสและนาวาร์ ทรงครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้เพียง 5 ชันษา เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์บูร์บงแห่งราชวงศ์กาเปเตียง เสวยราชสมบัติเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2186 และทรงครองราชย์นานถึง 72 ปี นับเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุโรป และในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ฝรั่งเศสของพระเจ้าหลุยส์เป็นช่วงที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการรวมอำนาจของแผ่นดิน พระเจ้าหลุยส์เริ่มบริหารประเทศด้วยตัวของพระองค์เองเมื่อปี พ.ศ. 2204 หลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะรัฐมนตรีของพระองค์นั่นก็คือ พระคาดินัล เมเซริน ซึ่งเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดของเทวสิทธิราชย์ ถึงต้นกำเนิดกษัตริย์ผู้มีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศต่อพระเจ้าหลุยส์มาอย่างต่อเนื่อง การทำงานของพระองค์ได้สร้าง อำนาจรัฐ ภายใต้การควบคุมของเมืองหลวง พระองค์ทรงพยายามที่จะขจัดเศษของระบบศักดินา ที่คงอยู่ในฝรั่งเศสและเต็มไปด้วยสมาชิกของชนชั้นสูงสังคม ที่อาศัยอยู่อย่างฟุ่มเฟือยภายในพระราชวังแวร์ซายของพระองค์ (เดิมเป็นกระท่อมล่าสัตว์ของพระบิดาของพระเจ้าหลุยส์) และทรงประสบความสำเร็จในการปลอบสมาชิกเหล่าขุนนางได้จำนวนมากที่มีส่วนร่วมในฟรอนด์ ซึ่งเกิดจากการจลาจลของชนกลุ่มน้อยของพระเจ้าหลุยส์ โดยวิธีการดังกล่าวทรงได้กลายเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและรวมระบอบของระบบกษัตริย์ในฝรั่งเศสที่ทนกว่าจะมีการการปฏิวัติฝรั่งเศส พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 สวรรคตก่อนที่จะถึงวันครบรอบพระราชสมภพครบ 77 พรรษา และพระราชปนัดดาของเขาก็ครองราชย์สืบต่อเป็นพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 โดยในรัชสมัยอันยาวยาวนานของพระองค์ ทรงมีรัชทายาทต่อราชบัลลังก์มาแล้วกว่า 3 พระองค์ ได้แก่ พระราชโอรสของพระองค์ หลุยส์ โดแฟ็งใหญ่แห่งฝรั่งเศส, พระโอรสในของโดแฟ็งใหญ่ ได้แก่ หลุยส์ โดแฟ็งน้อย, และพระโอรสองค์โตในโดแฟ็งน้อย ได้แก่ เจ้าชายหลุยส์ ดยุกแห่งเบรอตาญ.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าธีบอ

ระเจ้าธีบอ หรือ พระเจ้าสีป่อ (ตี่บอมิง) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์อลองพญา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติและเนรเทศไปอยู่ที่เมืองรัตนคีรีในบริติชราช หลังสิ้นสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม และสวรรคตเมื่อ..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าธีบอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา

ระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา (King Kigeli V of Rwanda) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งรวันดาตั้งแต่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 - 28 มกราคม ค.ศ. 1961 พระองค์เสด็จพระราชสมภพที่เมืองคาเมมเบ ประเทศรวันดา พระองค์มีชื่อแบบคริสเตียนว่า "ฌ็อง-บาติสต์ นดาฮินเดอร์วา" พระเจ้าคิเกลิที่ 5 ทรงครองราชย์ต่อจากพระเจ้ามูทาราที่ 3 แห่งรวันดาพระอิสริยยศของพระองค์เปรียบได้กับสมเด็จพระราชาธิบดีคิเกลิที่5แห่งรวันดา พระราชบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อปี 1959 พระองค์ครองราชย์ขณะมีพระชนมายุได้ 23 พรรษา แต่ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความขัดแย้งของชนเผ่าก็เกิดขึ้น และรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ แม้พระองค์จะมีความพยายามในการสร้างความปรองดองแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ ในที่สุดโดมินิกัว มบอนยูมูตวาได้ทำการปฏิวัติภายใต้การสนับสนุนของทหารเบลเยียม ในปี 1961 ทำให้สถาบันพระมหากษัตริย์รวันดาถูกล้มล้าง และพระเจ้าคิเกลิที่ 5 ต้องเสด็จลี้ภัยไปต่างประเทศ ปัจจุบันพำนักอยู่ที่ วอชิงตันดีซี สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าคิเกลิที่ 5 แห่งรวันดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย

มเด็จพระเจ้าซ็อกที่ 1 สคันเดอร์เบ็กที่ 3 แห่งแอลเบเนีย (Zog I, Skanderbeg III) พระนามเดิม อาเหม็ด มุห์ตา เบย์ โซโกลลี ภายหลังเปลี่ยนเป็น อาเหม็ด โซกู (8 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 9 เมษายน พ.ศ. 2504) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2482 ก่อนหน้านั้นพระองค์ทรงเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2465 - 2467) และประธานาธิบดีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2468 - 2471).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (Henry VII of England) (28 มกราคม ค.ศ. 1457 – 21 เมษายน ค.ศ. 1509) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์ทิวดอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1485 ถึงปี ค.ศ. 1509.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พอล-ฟิลิป โฮเอินโซลเลิร์น

อล-ฟิลิป โฮเอินโซลเลิร์น พระโอรสคนใหญ่ใน เจ้าชายเมอร์เซียแห่งโฮเฮนโซเลน กับ เฮเลา พระชายาคนแรก เป็นพระราชนัดดาคนแรกใน สมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย เป็นพระราชภาติยะคนแรกใน สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย แต่ถึงอย่าไงไร โรมาเนีย ได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ไม่มีสิทธิครองราชย์แต่สามารถพำนักและปฏิบัติพระราชกรณียากิจได้ดั่งเดิม ในฐานะพระราชวงศ์ พอลเองก็เช่นกัน ทำให้ประชาชนทั่วไปยกย่องให้เป็น เจ้าชายแห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและพอล-ฟิลิป โฮเอินโซลเลิร์น · ดูเพิ่มเติม »

การรวมชาติอิตาลี

การรวมชาติอิตาลี (Italian unification) หรือ ริซอจิเมนโต ความเคลื่อนไหวทางการเมืองและทางสังคมโดยบรรดารัฐต่าง ๆ เพื่อรวมกันเป็น ราชอาณาจักรอิตาลี ใน คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเริ่มต้นพร้อมกับ การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา ใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและการรวมชาติอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

มกุฎราชกุมาร

มกุฎราชกุมาร (Crown Prince) หรือ มกุฎราชกุมารี (Crown Princess) เป็นพระอิสริยยศของรัชทายาทในบางประเทศ มกุฎราชกุมารจะดำรงพระอิสริยยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์ จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ ปัจจุบันประเทศที่เรียกรัชทายาทว่ามกุฎราชกุมารมีประเทศไทยและประเทศแถบสแกนดิเนเวีย สำหรับมกุฎราชกุมารประเทศต่าง ๆ มีดังนี้.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

มองโกเลีย

มองโกเลีย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ยฺเหวียน ชื่อไข่

ยฺเหวียน ชื่อไข่ (16 กันยายน พ.ศ. 2402 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2459) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ โดยได้อาศัยความได้เปรียบจากการคุมกองทัพเป่ยหยาง ซึ่งเป็นปัจจัยทั้งการอยู่รอดของราชวงศ์ชิงและการก่อตั้งสาธารณรัฐ ถ้ายฺเหวียนเลือกข้างฝ่ายไหน ฝ่ายนั้นก็ได้รับชัยชนะไป กองทัพของซุนยัคเซนเองก็ใช่ว่าจะสามารถต่อต้านทัพเป่ยหยางที่มีอาวุธที่ทันสมัยกว่าได้ หลังจากได้เข้าเจรจาทั้งฝ่ายปฏิวัติและฝ่ายต้าชิงแล้ว ยฺเหวียนได้บีบให้หลงหยู่ไทเฮาประกาศให้ฮ่องเต้ปูยีสละราชสมบัติ ซุน ยัตเซนจึงลาออกจากประธานาธิบดีชั่วคราว และยกตำแหน่งนี้ให้ยฺเหวียนดำรงตำแหน่ง ภายหลังยฺเหวียนสถาปนาตนเองเป็น "จักรพรรดิหงเซียน" ปกครองจักรวรรดิจีนแต่ไม่ได้รับการยอมรับ จึงล้มเลิกจักรวรรดิและกลับมาปกครองแบบสาธารณรัฐเช่นเดิม หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน ซ.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและยฺเหวียน ชื่อไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ (Sultanate of Aceh) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรอาเจะฮ์ดารุซซาลัม (Kingdom of Aceh Darussalam, ภาษาอาเจะฮ์: Keurajeuën Acèh Darussalam; อักษรยาวี: كاورجاون اچيه دارالسلام) เป็นรัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ครองอำนาจในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ก่อนจะเสื่อมอำนาจลง เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กูตาราจา ปัจจุบันคือบันดาอาเจะฮ์ ในช่วงที่มีอำนาจ อาเจะฮ์พยายามเข้ายึดครองรัฐสุลต่านยะโฮร์ และมะละกาที่อยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส พยายามเข้าควบคุมช่องแคบมะละกา และพื้นที่ที่มีพริกไทยและดีบุกมาก อาเจะฮ์เป็นศูนย์กลางของนักปราชญ์อิสลามและการค้.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านซูลู

รัฐสุลต่านซูลู หรือ รัฐสุลต่านซูลูดารุลอิสลาม (ยาวี: سلطنة سولو دار الإسلام) เป็นรัฐสุลต่านในประวัติศาสตร์ มีพื้นที่ครอบคลุมหมู่เกาะในทะเลซูลูทางตอนใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ในปัจจุบัน รัฐสุลต่านซูลูก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1450 แต่นักประวัติศาสตร์มุสลิมหลายคนเชื่อว่าก่อตั้งก่อนหน้านั้น ในช่วงที่รัฐขยายอาณาเขตได้กว้างไกลที่สุด ได้มีอาณาเขตทางตะวันออกไปถึงคาบสมุทรทางตะวันตกของเกาะมินดาเนา ทางตะวันตกและทางใต้กินพื้นที่ไปถึงรัฐซาบะฮ์ในปัจจุบัน และทางเหนือมีพื้นที่ไปถึงเกาะปาลาวัน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและรัฐสุลต่านซูลู · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซาราวัก

ซาราวัก หรือ ซาราวะก์ (Sarawak, อักษรยาวี: سراواك) เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว เป็นที่รู้จักกันในชื่อ บูมีเกอญาลัง (Bumi kenyalang, "ดินแดนแห่งนกเงือก") ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ และเป็นรัฐที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ส่วนอันดับสอง คือ รัฐซาบะฮ์ นั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองศูนย์กลางการบริหารของรัฐนี้ คือ กูชิง (ประชากร 600,300 คน ใน ปี พ.ศ. 2548) มีความหมายตรงตัวว่า "แมว" (Kuching) เมืองหลักของรัฐเมืองอื่น ๆ ได้แก่ ซีบู (228,000 คน) มีรี (282,000 คน) และบินตูลู (152,761 คน) การสำรวจสำมะโนประชากรครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 รัฐนี้มีประชากร 2,376,800 คน ซาราวักเป็นรัฐที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรมมากที่สุดในมาเลเซียและไม่มีกลุ่มชาติพันธุ์หลัก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและรัฐซาราวัก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเอกราชโครเอเชีย

รัฐเอกราชโครเอเชีย (Nezavisna Država Hrvatska, NDH; Unabhängiger Staat Kroatien; Stato Indipendente di Croazia) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี และอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยรัฐนี้ก่อตั้งขึ่นในวันที่ 10 เมษายน 1941 หลังบุกครองยูโกสลาเวียได้สำเร็จโดยรัฐนี้มีดินแดนคือในประเทศโครเอเชีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เซอร์เบีย และ สโลวีเนียในปัจจุบันโดยในยุคนี้ชาวเซิร์บ, ชาวยิว, ชาวโรมา, ประชาชนที่ต่อต้านฟาสซิสต์, ถูกจับเป็นจำนวนมากและส่งเข้าค่ายกักกันยาเชโนวั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและรัฐเอกราชโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก

ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก (Slesvig-Holsten-Sønderborg-Lyksborg, House of Schleswig-Holstein-Sonderburg-Glücksburg) เป็นราชตระกูลจากกลึคสบวร์กทางเหนือสุดของเยอรมนี ที่เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์โอลเดินบูร์กที่สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก สมาชิกของตระกูลนี้มาจากดยุคแห่งชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-เบ็ค ผู้สืบเชื้อสายคนสุดท้ายเป็นดยุคแห่งกลึคสบวร์กและเปลี่ยนบรรดาศักดิ์ตามฟรีดิช วิลเฮล์ม ดยุคแห่งชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก ฟรีดิช วิลเฮล์มสมรสกับเจ้าหญิงหลุยส์ คาโรไลน์ แห่งเฮสส์-คาสเซิลพระราชธิดาของพระเจ้าคริสเตียนที่ 5 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์กอญัร

ราชวงศ์กอญัร เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์กอญัร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์วิทเทลส์บัค

ราชวงศ์วิทเทลส์บัค (House of Wittelsbach) เป็นราชตระกูลเยอรมันของยุโรปจากบาวาเรีย ตำแหน่งการปกครองสำคัญของราชวงศ์วิทเทลส์บัคคือ.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์วิทเทลส์บัค · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ศาหะ

ราชวงศ์ศาหะ (Shah dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักร กุรข่าจนกระทั่ง 1768 และเป็นราชวงศืที่ปกครองราชอาณาจักรเนปาลตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี 1768 จนกระทั่งสิ้นสุดระบอบราชาธิปไตยในปี 2008.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ศาหะ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ออตโตมัน

ราชวงศ์ออตโตมัน หรือ ราชวงศ์ออสมัน (Osmanlı Hânedanı, Ottoman Dynasty หรือ Imperial House of Osman) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิออตโตมันระหว่าง ค.ศ. 1299 ถึง ค.ศ. 1922 โดยมี สุลต่านออสมันที่ 1 แห่งจักรวรรดิออตโตมันเป็นปฐมสุลต่าน (ไม่รวมพระราชบิดา Ertuğrul) แม้ว่าจะมิได้ประกาศว่าเป็นราชวงศ์อย่างเป็นทางการมาจนกระทั่งถึงรัชสมัยของพระราชโอรสของพระองค์--สุลต่านออร์ฮันที่ 1 (Orhan I) ผู้ประกาศพระองค์เป็นสุลต่าน ก่อนหน้านั้นราชวงศ์หรือเผ่าชนกลุ่มนี้ก็อาจจรู้จักกันว่า Söğüt แต่ได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น “ออสมันลิ” (Osmanlı) เพื่อเป็นเกียรติแก่สุลต่านออสมัน (หรือ “Ottoman” ในภาษาอังกฤษ) สุลต่านเป็นตำแหน่งเดียวและเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจเด็ดขาด เป็นประมุขของรัฐและของรัฐบาลของจักรวรรดิอย่างน้อยก็อย่างเป็นทางการ แต่บางครั้งอำนาจก็อาจจะตกไปอยู่ในมือของข้าราชสำนักอื่น (ซึ่งโดยระบบมีตำแหน่งที่ขึ้นกับสุลต่าน) โดยเฉพาะของอัครเสนาบดี (Grand Vizier) ผู้ที่มีวังที่เรียกกันในรัฐบาลออตโตมันว่า “ประตูหลัก” (High Porte) ส่วนพระราชวังทอปคาปึ (Topkapı Palace) ของสุลต่านเป็นเพียงที่ประทับอาศัยของพระราชฐานฝ่ายใน (Seraglio) หรือ ฮาเร็ม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อาหม

ราชวงศ์อาหม (ค.ศ. 1228-1826) ปกครองอาณาจักรอาหม ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอัสลัมมาเป็นเวลาเกือบ 600 ปี ราชวงศ์อาหมก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า โดยทรงอพยพออกจากเมืองมาวหลวง จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลังจากการรุกรานอัสลัมของพม่าและการผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอังกฤษโดยบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากสนธิสัญญายันดาโบ ในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์อาหม · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิพย์จักร

ราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ทิพจักราธิวงศ์ หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครลำปาง นครเชียงใหม่ และนครลำพูน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ทิพย์จักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซาวอย

ราชวงศ์ซาวอย (Casa Savoia, House of Savoy) เป็นราชตระกูลที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1003ในภูมิภาคประวัติศาสตร์ซาวอย ราชตระกูลขยายตัวและรุ่งเรืองขึ้นจากราชตระกูลที่ปกครองอาณาจักรเคานท์ในบริเวณซาวอยไปจนในที่สุดก็ได้ปกครองราชอาณาจักรอิตาลีจนกระทั่งปลายสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อตำแหน่งพระมหากษัตริย์อิตาลีถูกยุบเลิกในปี ค.ศ. 1946 ราชวงศ์ซาวอยเป็นราชตระกูลที่เก่าที่สุดในโลก, ฝรั่งเศส, สเปน และ โครเอเชี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โบนาปาร์ต

ราชวงศ์โบนาปาร์ต (Maison de Bonaparte, House of Bonaparte) เป็นราชวงศ์สุดท้าย ที่ปกครองฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1804 โดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และราชวงศ์นี้ในรัชสมัยจักรพรรดินโปเลียนได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง แต่หลังจากที่พ่ายแพ้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี ค.ศ. 1815 จักรพรรดินโปเลียนก็ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ โดยก่อนหน้านั้นประเทศใกล้เคียงก็ได้มีสมาชิกราชสกุลโบนาปาร์ตไปปกครอง แต่หลังจากนโปเลียนลงจากราชบัลลังก์ กษัตริย์ในประเทศที่มีเชื้อพระวงศ์โบนาปาร์ตปกครองก็สละราชสมบัติและถูกเนรเทศไปจนหมดสิ้น หลังจากนโปเลียนถูกเนรเทศไปเกาะเอลบาได้ไม่นานก็ทรงรวบรวมกำลังทหารขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมกับหนีออกจากเกาะเอลบาและกลับมาปกครองฝรั่งเศสอีกครั้ง แต่ปกครองได้เพียง 100 วันก็ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติอีกครั้งและถูกส่งตัวไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา และสวรรคตที่เกาะนี้เมื่อปี ค.ศ. 1821 หลังจากนั้นราชสกุลโบนาปาร์ตก็เงียบหายไปจนถึงปี ค.ศ. 1848 หลุยส์ นโปเลียน โบนาปาร์ต พระราชนัดดาในพระเจ้านโปเลียนที่ 1 ก็ได้เป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรก ต่อมาหลังจากดำรงตำแหน่ง ครบ 4 ปี ก็ประกาศสถาปนาตนเองขึ้นเป็น จักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ในปี ค.ศ. 1852และครองราชย์อยู่ 18 ปีก็สละราชสมบัติในปี ค.ศ. 1870 เป็นอันสิ้นสุดราชวงศ์โบนาปาร์ตและสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ที่ปกครองฝรั่งเศสมายาวนาน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์โบนาปาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โรมานอฟ

งราชวงศ์โรมานอฟ ตราแผ่นดินของจักรวรรดิรัสเซีย ตราประจำพระราชวงศ์ ราชวงศ์โรมานอฟ ตามสำเนียงอังกฤษ หรือ รามานาฟ ตามสำเนียงรัสเซีย (Romanov) เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซีย โดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1613 ถึง ค.ศ. 1917 กษัตริย์โรมานอฟพระองค์แรก คือพระเจ้าซาร์มิฮาอิลที่ 1 ได้รับแต่งตั้งใน ค.ศ. 1613 ภายหลังสมัยแห่งความวุ่นวาย (Time of Troubles) ราชวงศ์นี้ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกือบตลอดเวลา โดยได้มีความพยายามร่างรัฐธรรมนูญ โดยพระจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แต่พระองค์ก็ถูกลอบปลงพระชนม์เสียก่อน แม้ว่าจักรพรรดินีโคไลที่ 2 จะทรงตั้งสภาดูมาใน ค.ศ. 1905 ก็มิได้มีสิทธิในการออกกฎหมายอย่างเต็มที่ จนเกิดการปฏิวัติใหญ่ในรัสเซีย จักรพรรดินิโคสัสที่ 2 ต้องทรงสละราชสมบัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 และถูกปลงพระชนม์โดยกำลังของฝ่ายบอลเชวิกในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งสาเหตุของการปลงพระชนม์เนื่องด้วย พระจักรพรรดินิโคสัสที่ 2 เข้าร่วมสงครามและทุ่มงบประมาณไปกับสงครามมาก ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ประชาชนก่อการปฏิวัติ และทางราชวงศ์ได้พยายามหลบหนีแต่ไม่สำเร็จ ได้ถูกนำมากักตัวและถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์โรมานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น (Haus Hohenzollern) เป็นราชตระกูลเยอรมันและโรมาเนียของยุโรปที่ปกครองปรัสเซีย, เยอรมนี และ โรมาเนีย บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมืองเฮ็คคิงเงิน (Hechingen) ในชวาเบินที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่าปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern) คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) ตราประจำตระกูลเริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โซกู

ราชวงศ์โซกู เป็นพระราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ที่ก่อตั้งโดยโซกู ปาชา ข้าราชการระดับสูงของออตโตมันที่อพยพเข้ามาปกครองเขตแคว้นมัท เขตดินแดนประเทศแอลเบเนียในปัจจุบันในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยทำหน้าที่ปกครองแคว้นมัทในฐานะเมืองขึ้นของจักรวรรดิออตโตมัน การสืบทอดตำแหน่งผู้ปกครองแคว้นมัท จึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของตระกูลโซกูตลอดมา และมีพระราชวังประจำตระกูลคือ พระราชวังบูร์กาเยท (Castle Burgajet) บุคคลจากราชวงศ์โซกูที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย ที่เป็นพระมหากษัตริย์จากราชวงศ์โซกูพระองค์แรกที่ขึ้นมาปกครองราชอาณาจักรแอลเบเนีย ก่อนที่สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลีที่จะเข้ามาบุกรุกประเทศแอลเบเนียในปี ค.ศ. 1939 และขึ้นมาปกครองแอลเบเนียแทน แม้ว่าปัจจุบันในประเทศแอลเบเนียเองได้ยกเลิกระบอบกษัตริย์ลงแล้ว และปกครองในระบอบสาธารณรัฐแล้ว แต่ก็ยังมีการสืบทอดอำนาจภายในราชวงศ์โซกูต่อไป โดยอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศแอลเบเนียจนถึงปัจจุบัน โดยผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์ปัจจุบันคือ เจ้าชายเลก้า มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย โดยพระองค์ก็เรียกตัวเองว่าพระองค์เป็นกษัตริย์และอ้างว่าพร้อมที่จะปกครองประเทศแอลเบเนียอยู่เสมอ.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์โซกู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เวททิน

ราชวงศ์เวททิน (House of Wettin) เป็นราชตระกูลเคานท์, ดยุก, พรินซ์อีเล็คเตอร์ (Kurfürsten) และ พระมหากษัตริย์เยอรมันที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐแซกโซนีในเยอรมนี เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนในแซกโซนี-อันฮาลท์ และ ทูริงเกีย เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงในบริเตนใหญ่ (สหราชอาณาจักร) กับเบลเยียมเท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์เวททิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหงียน

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ. 1802 เมื่อจักรพรรดิซา ล็อง ทรงปราบดาภิเษกหลังจากปราบปรามกบฏไตเซินแล้ว และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 เมื่อจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยทรงสละราชสมบัติ และมอบอำนาจให้กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ในระหว่างรัชกาลของจักรพรรดิซา ล็อง เวียดนามมีชื่อว่า เวียดนาม (越南) อยู่อย่างปัจจุบัน แต่ในรัชสมัยของจักรพรรดิมิญ หมั่ง พระองค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ดั่ยนาม (大南, แปลว่า "ชาติยิ่งใหญ่ทางตอนใต้") การปกครองของราชวงศ์เหงียนถูกจำกัดโดยอิทธิพลที่เพิ่มขึ้นของนักล่าอาณานิคมฝรั่งเศส ประเทศได้ถูกแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ โคชินไชนาเป็นรัฐอาณานิคมโดยตรงขณะที่อันนามและตังเกี๋ยกลายเป็นรัฐอารักขาซึ่งมีอิสระเพียงในนาม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์เหงียน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เทพวงศ์

ราชวงศ์เทพวงศ์ หรือ ราชวงศ์แพร่ เป็นราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายมาจากพระยาเทพวงศ์ ที่ปกครองนครแพร่มาตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชวงศ์เทพวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบาวาเรีย

ราชอาณาจักรบาวาเรีย (Königreich Bayern; Kingdom of Bavaria) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของเยอรมนีระหว่างปี ค.ศ. 1805 ถึงปี ค.ศ. 1918 พระเจ้าแม็กซิมิเลียนที่ 1 โจเซฟแห่งบาวาเรียแห่งราชวงศ์วิตเตลสบาคเป็นกษัตริย์องค์แรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรกรีซ (Βασίλειον τῆς Ἑλλάδος, Vasíleion tīs Elládos; Kingdom of Greece) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเฮลเลนิก (Kingdom of Hellenic) สถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1832 ในการประชุมกรุงลอนดอน โดยกลุ่มประเทศมหาอำนาจซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซีย จนได้รับการรับรองจากนานาประเทศในโลกอันเป็นผลมาจากสนธิสัญญาคอนสแตนติโนเปิล ทำให้ราชอาณาจักรกรีซมีเอกราชเป็นของตนเองอย่างสมบูรณ์และมั่นคง ซึ่งไม่ต้องอยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิออตโตมันอีกต่อไป โดยเอกราชของกรีซนี้เป็นผลสำเร็จมาจากการเรียกร้องเอกราชโดยรัฐบาลพลัดถิ่นแห่งกรีซ และมาจากสงครามเรียกร้องเอกราชของกรีซ (โดยมีสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และจักรวรรดิรัสเซียคอยให้การช่วยเหลือและสนับสนุน) ซึ่งในการปกครองของราชอาณาจักรนั่นมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขของประเทศมาตั้งแต่สถาปนาเอกราช จนในปี ค.ศ. 1924 พระราชวงศ์และสถาบันพระมหากษัตริย์ก็ถูกล้มล้าง จนได้สถาปนา สาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 2 ขึ้นมา แต่ในภายหลังก็ได้มีการฟื้นฟูพระราชวงศ์ขึ้นมาและได้สถาปนาสถาบันพระมหากษัตริย์กลับมาเป็นพระประมุขของประเทศดังเดิมอีกครั้ง จนในท้ายที่สุดในปี ค.ศ. 1974 พระราชวงศ์ก็ถูกล้มล้างอีกครั้งอันเป็นผลมาจากการปกครองแบบเผด็จการทหาร ภายใต้การนำโดยพรรคการเมืองทหารของกรีซ และได้ก่อตั้งสาธารณรัฐเฮลเลนิกที่ 3 มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร (Краљевина Црнa Горa; Kingdom of Montenegro).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์ (المملكة المتوكلية) หรือ ราชอาณาจักรเยเมน เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยเมนในปัจจุบัน หลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1918 จนถึง ค.ศ. 1945 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียก่อตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นและราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ ราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ขณะที่บริเวณคอซอวอ วอยวอดีนา และมาซิโดเนียเป็นส่วนหนึ่งของเซอร์เบียก่อนหน้าการรวมตัว 11 ปีแรกราชอาณาจักรเรียกตนเองอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน (Kraljevina Srba, Hrvata i Slovenaca, อักษรซีริลลิก: Краљевина Срба, Хрвата и Словенаца; Kraljevina Srbov, Hrvatov in Slovencev) แต่คำว่า "ยูโกสลาเวีย" เป็นชื่อเรียกกันอย่างง่าย ๆ มาตั้งแต่ต้น เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลาว

ราชอาณาจักรลาว เป็นชื่อของประเทศลาวตั้งแต่ พ.ศ. 2496 จนถึงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 เมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาวสามารถล้มกษัตริย์และสามารถสถาปนาสปป.ลาวได้สำเร็จ โดยได้รับสิทธิปกครองตนเองจากประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2492 ใช้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรลาว · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)

ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (Lietuvos Karalystė) คืออดีตรัฐระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ที่ดำรงสถานะภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อลิทัวเนียภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิเยอรมัน สภาแห่งลิทัวเนียทำการประกาศอิสรภาพเมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิเบีย

ราชอาณาจักรลิเบีย (المملكة الليبية) เดิมมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหราชอาณาจักรลิเบีย เป็นรัฐลิเบียสมัยใหม่ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951 และ สิ้นสุดลงด้วยการรัฐประหารล้มล้างระบอบราชาธิปไตยและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1969.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอังกฤษ

ราชอาณาจักรอังกฤษ (Kingdom of England.) เป็นราชอาณาจักรระหว่างปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิรัก

ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอียิปต์

ราชอาณาจักรอียิปต์ (المملكة المصرية) เป็นชื่อของรัฐอิยิปต์สมัยใหม่รัฐแรก ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1922 - ค.ศ. 1953 ราชอาณาจักรได้รับสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1922 เมื่อสหราชอาณาจักรตัดสินใจจะให้อียิปต์พ้นจากฐานะความเป็นรัฐในอารักขาของตนซึ่งเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1914 สุลต่านฟูอัดที่ 1 เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรแห่งนี้ ต่อมาพระเจ้าฟารุกที่ 1 จึงทรงสืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1936 ก่อนหน้าสมัยราชอาณาจักร ประเทศอียิปต์ได้ถูกยึดครองและควบคุมโดยสหราชอาณาจักรนับตั้งแต่ ค.ศ. 1882 เมื่อมหาอำนาจยุโรปได้ส่งกองทัพเข้ามาสนับสนุนการปกครองระบอบเคดีฟเพื่อต่อต้านการลุกฮือของขบวนการชาตินิยม เหตุการณ์ดังกล่าวได้เป็นจุดเริ่มต้นให้สหราชอาณาจักรเข้าควบคุมอียิปต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันแต่เพียงในนาม ในปี ค.ศ. 1914 ผลจากการประกาศสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันได้ทำให้สหราชอาณาจักรต้องประกาศให้อียิปต์เป็นรัฐในอารักขาและถอดถอนเคดีฟออกจากตำแหน่ง พร้อมทั้งแต่งตั้งฮุสเซน กามิล พระญาติของเคดีฟ ขึ้นเป็นสุลต่านแห่งอียิปต์แทน อียิปต์ได้รับการสถาปนาและได้รับการยอมรับโดยสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1922 โดยมีพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ ทรงเป็นปฐมกษัตริย์ และได้ต่อสู้ทางการเมืองกับพรรควาฟด์ (Wafd) อันเป็นพรรคการเมืองขนาดใหญ่แนวทางชาตินิยมที่ต่อต้านทั้งอิทธิพลของสหราชอาณาจักรและประเทศสหราชอาณาจักร ซึ่งพรรคดังกล่าวต้องการจะให้อียิปต์เข้าควบคุมคลองสุเอซโดยตรง นอกจากนั้นยังมีขบวนการทางการเมืองอื่นๆ ที่เคลื่อนไหวในยุคนี้ เช่น พรรคคอมมิวนิสต์อียิปต์ (ก่อตั้ง ค.ศ. 1925) และขบวนการภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood - ก่อตั้ง ค.ศ. 1928) ซึ่งขบวนการหลังนี้เป็นขบวนการที่ทรงอำนาจทั้งทางการเมืองและศาสนา พระเจ้าฟูอัดที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1936 ราชสมบัติจึงตกอยู่กับเจ้าชายฟารุกซึ่งขณะนั้นมีพระชนม์ได้ 16 พรรษา การรุกรานเอธิโอเปียโดยอิตาลีในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน เป็นสัญญานเตือนให้พระองค์ต้องลงพระนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-อียิปต์ เพื่อให้สหราชอาณาจักรถอนทหารออกไปจากอียิปต์ทั้งหมด โดยยกเว้นเพียงบริเวณคลองสุเอซ ซึ่งสหราชอาณาจักรได้ตกลงถอนทหารในปี ค.ศ. 1949 ราชอาณาจักรอียิปต์ประสบความยุ่งยากจากภาวะการฉ้อราษฎร์บังหลวงและการที่พลเมืองของตนเองมองว่าประเทศของตนเป็นเพียงหุ่นเชิดของสหราชอาณาจักร จากเหตุเหล่านี้ และซ้ำเติมด้วยสงครามอาหรับ-อิสราเอล ในปี ค.ศ. 1948 ได้นำไปสู่การปฏิวัติอียิปต์ในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์

ราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ (Königreich Hannover) ก่อตั้งขึ้นในเดือนตุลาคมปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮาวาย

ราชอาณาจักรฮาวาย (Kingdom of Hawaii) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนหมู่เกาะฮาวาย ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซัคเซิน

ราชอาณาจักรซัคเซิน ในปี ค.ศ. 1900 ราชอาณาจักรซัคเซิน Königreich Sachsen) หรือ ราชอาณาจักรแซกโซนี (Kingdom of Saxony) เป็นราชอาณาจักรตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐเช็กในปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ. 1806 ถึงปี ค.ศ. 1918 โดยมีพระเจ้าฟรีดิช ออกัสตัสที่ 1 แห่งซัคเซินแห่งราชวงศ์เวททินเป็นกษัตริย์องค์แรก และพระเจ้าฟรีดิช ออกัสตัสที่ 3 แห่งซัคเซินแห่งราชวงศ์เวททินเป็นกษัตริย์องค์สุดท้าย ราชอาณาจักรซัคเซินเป็นราชรัฐอิสระหลังสมัยนโปเลียนและเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1871 ก่อนที่จะถูกกลืนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐไวมาร์ในปี ค.ศ. 1918 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เมืองหลวงตั้งอยู่ที่เดรสเดิน ในปัจจุบันราชอาณาจักรซัคเซินคือเสรีรัฐซัคเซินของประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง (Regno delle Due Sicilie; Kingdom of the Two Sicilies) เป็นชื่อใหม่ที่สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง หรือสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์แห่งราชวงศ์บูร์บงทรงประทานให้แก่บริเวณทางใต้ของอิตาลีและซิซิลีหลังจากสมัยนโปเลียนและการฟื้นฟูอำนาจเมื่อปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโปรตุเกส

ราชอาณาจักรโปรตุเกส (Kingdom of Portugal; Reino de Portugal) เป็นอาณาจักรภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส ราชอาณาจักรตั้งอยู่ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรียของยุโรป และรุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 1139 จนถึงปี ค.ศ. 1910 ที่มาแทนที่ด้วยสาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง หลังจากการสังหารกษัตริย์ในลิสบอน (Lisbon Regicide) ในปี ค.ศ. 1908 และในที่สุดการปฏิวัติเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ภาษาเกลลิค: Ríocht na hÉireann; ภาษาอังกฤษ: Kingdom of Ireland) เป็นชื่อที่เรียกรัฐไอร์แลนด์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม หรือ ราชอาณาจักรละตินแห่งเยรูซาเลม (Kingdom of Jerusalem หรือ Latin Kingdom of Jerusalem) เป็นอาณาจักรคริสเตียนที่ก่อตั้งในบริเวณลว้าน (Levant) ในปี ค.ศ. 1099 หลังสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และยืนยงต่อมาร่วมสองร้อยปีจนถึงปี ค.ศ. 1291 เมื่อเอเคอร์ดินแดนสุดท้ายที่เป็นของอาณาจักรถูกทำลายโดยมามลุค (Mamluk) ในระยะแรกราชอาณาจักรเป็นเพียงกลุ่มเมืองใหญ่และเล็กที่รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ระหว่างสงครามครูเสด ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดอาณาบริเวณที่ปัจจุบันคืออิสราเอล และอาณาดินแดนปาเลสไตน์ (Palestinian territory) ที่ครอบคลุมตั้งแต่บริเวณเลบานอนปัจจุบันไปจนถึงทางเหนือของทะเลทรายไซนายทางด้านไต้ ไปยังจอร์แดน และซีเรียทางด้านตะวันออก ระหว่างนั้นก็มีการพยายามที่จะขยายดินแดนไปยังฟาติมิยะห์ (Fatimid) อียิปต์ นอกจากนั้นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็ยังมีอำนาจบางอย่างเหนืออาณาจักรครูเสดอื่นๆ, ตริโปลี, อันติโอค, และเอเดสสา ประเพณีและระบบต่างที่ใช้ในอาณาจักรนำมาจากยุโรปตะวันตกกับนักการสงครามครูเสด ระบบการปกครองและความเกี่ยวดองกับยุโรปเป็นไปตลอดอายุของอาณาจักร แต่เมื่อเทียบกับอาณาจักรในยุโรปแล้วราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็เป็นเพียงอาณาจักรที่ค่อนข้างเล็กและมักจะขาดการหนุนหลังทางด้านการเงินและทางการทหารจากยุโรป ราชอาณาจักรเยรูซาเลมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราชอาณาจักรข้างเคียงมากกว่าเช่นราชอาณาจักรอาร์มิเนียแห่งซิลิเซีย (Armenian Kingdom of Cilicia) และจักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่ได้รับอิทธิพลตะวันออกมา นอกจากนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลจากระบบมุสลิม แต่ทางด้านสังคมแล้วผู้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรจากยุโรปตะวันตกแทบไม่มีการติดต่อกับมุสลิมหรือชนคริสเตียนท้องถิ่นที่ปกครองเลย ในระยะแรกฝ่ายมุสลิมไม่มีความสนใจกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมเท่าใดนักจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่ออาณาจักรของมุสลิมเริ่มแข็งตัวขึ้นและเริ่มยึดดินแดนที่เสียไปคืนอย่างเป็นจริงเป็นจัง เยรูซาเลมเสียแก่ซาลาดินในปี ค.ศ. 1187 และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ดินแดนของราชอาณาจักรก็เหลือเพียงแถบตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนพร้อมกับเมืองสำคัญๆ สองสามเมือง ในช่วงนี้ราชอาณาจักรที่บางครั้งก็เรียกว่า “ราชอาณาจักรเอเคอร์” ก็ปกครองโดยราชวงศ์ลูซิยัน (Lusignan) ของนักครูเสดจากราชอาณาจักรไซปรัส และมีความสัมพันธ์ดีกับทริโปลี, อันติออคและอาร์มีเนีย และได้รับอิทธิพลจากสาธารณรัฐเวนิส และสาธารณรัฐเจนัว และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ขณะเดียวกันอาณาจักรมุสลิมรอบข้างก็รวมตัวกันภายใต้ราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) และต่อมาราชวงศ์มามลุคของอียิปต์ ราชอาณาจักรเยรูซาเลมจึงกลายเป็นเบี้ยประกันของการสงครามและการเมืองในบริเวณนั้น ที่ตามมาโดยการโจมตีโดย คแวเรซเมียน (Khwarezmians) และจักรวรรดิโมกุลราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในที่สุดก็ถูกมามลุคสุลต่านไบบาร์ส (Baibars) และอัล-อัชราฟ คาลิล (al-Ashraf Khalil) ยึดดินแดนที่เหลืออยู่ทั้งหมดได้ รวมทั้งการทำลายเอเคอร์ในปี ค.ศ. 1291.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลีย

ราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลีย (Kingdom of Westphalia) เป็นราชอาณาจักรที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1807 จนถึง ค.ศ. 1813 ที่ตั้งอยู่ในเยอรมนีปัจจุบัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรอิสระแต่ก็เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ปกครองโดยเฌโรม โบนาปาร์ตพระอนุชาของนโปเลียน ชื่อของอาณาจักรตั้งตามเวสต์ฟาเลียแต่ดินแดนของอาณาจักรไม่มีความเกี่ยวข้องกับเวสต์ฟาเลียเท่าใดนัก ราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลียก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1807 โดยการรวมดินแดนที่ได้มาจากราชอาณาจักรปรัสเซียตามสนธิสัญญาทิลซิท ที่รวมทั้งอาณาจักรดยุคแห่งมักเดบวร์ก, ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์, ราชรัฐโวลเฟ็นบืตเติล และ อาณาจักรเลือกตั้งแห่งเฮสเซน เมืองหลวงของอาณาจักรอยู่ที่คาสเซิล กษัตริย์ตั้งราชสำนักอยู่ที่วิลเฮล์มสเฮอเฮอ ที่เปลี่ยนชื่อมาเป็นนโปเลออนเฮอเฮอ ราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลียเป็นรัฐในกลุ่มสมาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรเวสต์ฟาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค (Königreich Württemberg) เคยเป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 ปัจจุบันอยู่ในเขตของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (Краљевина Србија; Kingdom of Serbia) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1882 ราชรัฐเซอร์เบียปกครองโดยราชวงศ์คาราจอร์เจวิช (Karadjordjevic dynasty) มาตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal, नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเนเปิลส์

ราชอาณาจักรเนเปิลส์ (Kingdom of Naples) เป็นอาณาจักรที่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอิตาลี (Italian peninsula) หรือบางครั้งก็รู้จักกันอย่างสับสนกับ “ราชอาณาจักรซิซิลี” ซึ่งเป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งหลังจากการแยกตัวของซิซิลีจากราชอาณาจักรซิซิลีเดิมที่เป็นผลมาจากกบฏซิซิเลียนเวสเปิร์ส (Sicilian Vespers) ของปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชอาณาจักรเนเปิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume français) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม (Monarchie de Juillet) เป็นการฟิ้นฟูระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของประเทศฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เริ่มต้นด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมปี 1830 และสิ้นสุดลงเมื่อ 1848 ด้วยการปฏิวัติปี 1848 ความเป็นกษัตริย์ของพระองค์ได้ล่มสลาย และถูกล้มล้าง หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและราชาธิปไตยเดือนกรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว

ระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร (เจ้าอุ่นคำ) กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ประทับบนพระราชบัลลังก์ ในพระราชวังหลวงเมืองหลวงพระบาง ลำดับกษัตริย์ลาว อ้างอิงตามพงศาวดารหลวงพระบาง ชินกาลมาลีปกรณ์ และ ตำนานพระแก้วมรกต กรณีศักราชไม่ตรงกัน จะยึดตามตำนานพระแก้วมรกตเป็นหลัก ขุนบรมราชาธิราช (พ.ศ. 1240 - พ.ศ. 1293) ได้ย้ายจากหนองแส (เมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้า) มาอยู่ที่ใหม่เรียกว่า นาน้อยอ้อยหนู (เมืองแถนหรือเมืองกาหลง) ปัจจุบันเรียกว่าเชียงรุ่งเขตสิบสองพันนา พร้อมทั้งขยายอาณาเขตออกไปโดยส่งโอรส 7 องค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและรายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครน่าน

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครน่านหรือรายพระนามกษัตริย์นครน่าน เป็นรายพระนามเจ้าผู้ครองนครน่าน นับตั้งแต่ก่อตั้งเมืองน่าน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครน่าน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล

มเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทรวีรวิกรมศาหเทวะ (ज्ञानेन्द्र वीर बिक्रम शाहदेव; Jñānendra Vīra Vikrama Śāhadeva; ชฺาเนนฺทฺร วีร พิกฺรม ศาหเทว) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีคยาเนนทรพีรพิกรมศาหเทว์ (Gyanendra Bir Bikram Shah Dev) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเนปาลในราชวงศ์ศาห์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีมเหนทระ ประสูติแต่เจ้าหญิงอินทระ มกุฎราชกุมารีแห่งเนปาล.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฆวน การ์โลสที่ 1 (Juan Carlos I; เสด็จพระราชสมภพ 5 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ฟรันซิสโก ฟรังโก ผู้เผด็จการสเปน กำหนดให้สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 เป็นประมุขแห่งรัฐองค์ถัดมาใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ

มเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Βʹ, Konstantínos IIʹ; พระราชสมภพ 2 มิถุนายน 2483) เป็นพระมหากษัตริย์ของกรีซ ตั้งแต่ปี 1964 จนถึงการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี 1973 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระเจ้าพอลที่ 1 แห่งกรีซพระราชบิดาของพระองค์ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งกรีซ ในราชวงศ์กลึคสบวร์ก แม้ว่าพระองค์จะทรงเป็นที่รักของประชาชน แต่ในไม่ช้าประเทศกรีซก็เกิดการขัดแย้งและนำไปสู่การรัฐประหาร เมื่อวันที่ 21 เมษายน 1967 หลังจากการรัฐประหาร พระองค์ทรงถูกเนรเทศโดยกองทัพพร้อมกับพระบรมวงศานุวงศ์ ให้ออกจากประเทศกรีซและมิให้กลับมาอีก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีตูเฮอิเตีย ปากี

สมเด็จพระราชาธิบดีตูเฮอิเตีย ปากี เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวมาวรีองค์ปัจจุบัน พระบรมราชสมภพเมื่อ 21 เมษายน พ.ศ. 2498 เป็นพระราชโอรส ของวาตูโมอานา ปากีกับสมเด็จพระราชินีนาถเต อาตาอิรันกิคาอาฮู เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ21 สิงหาคม พ.ศ. 2549 สมเด็จพระราชาธิบดีตูเฮอิเตีย ปากี ทรงราชาภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชินีเต อาตาวาอิ ต.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระราชาธิบดีตูเฮอิเตีย ปากี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 (Felipe VI; พระนามเดิม เฟลิเป ฆวน ปาโบล อัลฟอนโซ เด โตโดส โลส ซานโตส เด บอร์บอน เด เกรเซีย) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ. 2511 เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทรงดำรงพระยศ "อินฟันเตแห่งสเปน" เมื่อแรกประสูติ และ "เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส" เมื่อพระราชบิดาเสด็จขึ้นครองราชย์ อภิเษกสมรสกับเลตีเซีย ออร์ติซ โรกาโซลาโน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโก

มเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโก (Augustine I of Mexico) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งจักรวรรดิเม็กซิโก สมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อ 27 กันยายน 1783 ที่เมืองวาลาโดลิด เมื่อพระองค์โตขึ้นพระองค์ได้เข้าเป็นสมาชิกกองทัพเม็กซิโก และได้เป็นผู้นำทัพ พระองค์ได้เป็นผู้นำกองทัพเม็กซิโกเข้าร่วมรบใน "สงครามประกาศอิสรภาพเม็กซิโก" เมื่อเม็กซิโกได้เอกราช พระองค์จึงได้ราชาภิเษกตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิ และประกาศสถาปนาจักรวรรดิเม็กซิโก ร่างรัฐธรรมนูญจักรวรรดิใหม่ขึ้น พระองค์ยังได้เป็นผู้ออกแบบธงชาติเม็กซิโกด้วย สมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 ทรงปกครองเม็กซิโก เพียงระยะเวลาสั้นๆ ก็ทรงถูกปฏิวัติ พระองค์จึงต้องสละราชสมบัติ จักรวรรดิเม็กซิโกเปลี่ยนเป็นสหรัฐเม็กซิโก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย

ลี เซลาสซีที่ 1 (ภาษาอังกฤษ:Haile Selassie I) (ภาษาเกเอซ: ኃይለ፡ ሥላሴ แปลว่า "ผู้เป็นพลังแห่งตรีเอกานุภาพ" 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1892 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1975) เฮลี เซลาสซี ที่ 1 (Haile Selassie I) เดิมชื่อตาฟารี มาคอนเนน (Tafari Makonnen) เป็นผู้สำเร็จราชการของเอธิโอเปีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1916 ถึง ค.ศ. 1930 และยังเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเอธิโอเปีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1930 ถึง ค.ศ. 1974 อีกด้วย พระองค์เป็นรัชทายาทสืบเชื้อสายมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นเชื้อสายที่สืบย้อนไปถึงกษัตริย์โซโลมอนและราชินีชีบา พระองค์ยังจัดเป็นบุคคลสำคัญของทั้งประวัติศาสตร์เอธิโอเปียและประวัติศาสตร์แอฟริกาด้วย Murrell, Nathaniel Samuel and Spencer, William David and McFarlane, Adrian Anthony.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา

มเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา มีพระนามเต็มว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชษฐาขัติยวงศา พระมหาศรีสว่างวัฒนา (ພຣະບາດສົມເດັດພຣະເຈົ້າເຊດຖາຂັດຕິຍະວົງສາ ພຣະມະຫາສີສະຫວ່າງວັດທະນາ) หรือ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา (ເຈົ້າມະຫາຊີວິດສີສະຫວ່າງວັດທະນາ)สะกดด้วยอักขรวิธีเก่าว่า ພຣະບາທສົມເດັຈພຣະເຈົ້າເຊສຖາຂັຕິຍວົງສາ ພຣະມຫາສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: พระบาทสมเด็จพระเจ้าเชสถาขัติยวงสา พระมหาสรีสว่างวัทนา และ ເຈົ້າມຫາຊີວິຕສຣີສວ່າງວັທນາ ปริวรรต: เจ้ามหาชีวิตสรีสว่างวัทนา ตามลำดับ (ສົມຈິຕ ພັນລັກ. (2012) ພາສາລາວລ້ານຊ້າງ ກ່ອນປີ ພ.ສ 2478; ຄ.ສ 1935 ສະບັບຄົ້ນຄວ້າ. ສົມມະນາ ການພິມ ສປປ ລາວ.) เป็นพระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรลาว ก่อนที่จะถูกฝ่ายปะเทดลาวยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระเจ้าศรีสว่างวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี

ระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี หรือ พระเจ้าฮัมเบิร์ตที่ 2 แห่งอิตาลี (Umberto II; Umberto II of Italy) (15 กันยายน ค.ศ. 1904 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1983) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีแห่งราชวงศ์ซาวอย ผู้ทรงครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 จนเมื่อสถาบันพระมหากษัตริย์ของอิตาลีถูกยุบเลิกเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1946 พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1904 ที่ราคโคนิจิในคูนิโอในประเทศอิตาลี พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 และ เอเลนาแห่งมอนเตเนโกร และทรงเสกสมรสกับเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม เมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1904 และมีพระราชโอรสธิดาด้วยกันสี่พระองค์ พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1983 ที่เจนีวาในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย (15 ตุลาคม/16 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 4 เมษายน พ.ศ. 2496) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราขอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2473 จนกระทั่ง 6 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย กับพระมเหสี สมเด็จพระราชินีมารีแห่งเอดินบะระ ซึ่งเป็นพระธิดาในเจ้าฟ้าชายอัลเฟรด ดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ผู้ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์ที่สองของ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์โรมาเนียพระองค์แรกที่ทรงทำพิธีแบ็ปติสท์ตามแบบอีสเติร์นออร์ทอด็อกซ์ มกุฎราชกุมารคาโรลทรงประสูติที่ปราสาทเปเรส ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย หรือทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม พระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 คาราจอร์เจวิช (ภาษาเซอร์เบีย, ภาษาโครแอต, ภาษาบอสเนีย, ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย: Petar II Karađorđević อักษรซีริลลิก: Петар II Карађорђевић) (6 กันยายน พ.ศ. 2466 - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ก่อนหน้านี้เรียกว่าราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีนในช่วงก่อน พ.ศ. 2472 พระองค์เป็นพระโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย กับ เจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร กับ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ โบวส์-ลีออนแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ พัธโนทัย

ังข์ พัธโนทัย (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2529) อดีตที่ปรึกษาคนสนิท ของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ผู้บุกเบิกสัมพันธไมตรีไทย-สาธารณรัฐประชาชนจีน ผู้เขียนสามก๊กฉบับพิชัยสงครามอดีตหัวหน้ากองหนังสือพิมพ์กรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) อดีตผู้จัดรายการวิทยุ "นายมั่น นายคง" สมัยยุคสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสังข์ พัธโนทัย · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอาลีแห่งยะโฮร์

ลต่านอาลีแห่งยะโฮร์ (Ali, Sultan of Johore) มีพระนามเต็มว่า อาลี อิสกันดาร์ ชาห์ อิบนิ ฮุสเซน มูอัสซัม ชาห์ (Ali Iskandar Shah ibni Hussein Muazzam Shah) เป็นสุลต่านองค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ปกครองยะโฮร์มาตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสุลต่านอาลีแห่งยะโฮร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามดอกกุหลาบ

ที่ตั้งสำคัญในสงครามดอกกุหลาบ สงครามดอกกุหลาบ (Wars of the Roses) เป็นชุดสงครามราชวงศ์ที่ผู้สนับสนุนราชวงศ์แพลนแทเจเนตสองสายที่เป็นคู่แข่งชิงราชบัลลังก์อังกฤษกัน ได้แก่ ราชวงศ์แลงแคสเตอร์และราชวงศ์ยอร์ก (ซึ่งสัญลักษณ์ตราประจำตระกูล คือ ดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวตามลำดับ) ทั้งสองฝ่ายรบกันเป็นช่วงห่าง ๆ กันระหว่างปี 1455 ถึง 1485 แม้จะมีการสู้รบที่เกี่ยวข้องอีกทั้งก่อนหน้าและหลังช่วงนี้ สงครามดังกล่าวเป็นผลจากปัญหาทางสังคมและการเงินหลังสงครามร้อยปี ชัยชนะบั้นปลายเป็นของผู้เรียกร้องเชื้อสายแลงแคสเตอร์ค่อนข้างห่าง เฮนรี ทิวดอร์ ผู้กำราบพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ยอร์ก และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมสองราชวงศ์ หลังจากนั้น ราชวงศ์ทิวดอร์ปกครองอังกฤษและเวลส์เป็นเวลา 117 ปี เฮนรีแห่งโบลิงโบรกทรงก่อตั้งราชวงศ์แลงแคสเตอร์ขณะทรงราชย์ในปี 1399 เมื่อทรงถอดพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 พระภราดร (ลูกพี่ลูกน้อง) จากราชสมบัติ พระราชโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ยังทรงรักษาการอยู่ในราชสมบัติของตระกูลไว้ได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1422 พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทายาทของพระองค์ เป็นทารก การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชวงศ์แลงแคสเตอร์สืบมาจากจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ พระราชโอรสที่ยังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สามในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 สิทธิในราชบัลลังก์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ถูกริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์คคัดค้าน ผู้สามารถอ้างว่าสืบเชื้อสายจากไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป และเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กพระราชโอรสที่ยังมียังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สองและสี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ริชาร์ดแห่งยอร์ค ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของรัฐหลายตำแหน่ง ทะเลาะกับราชวงศ์แลงแคสเตอร์สำคัญ ๆ ในราชสำนักและกับมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู พระมเหสีในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสียชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยาบาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง เอิร์ลแห่งวอริก บุกครองอังกฤษจากกาเลและสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็นผู้พิทักษ์อังกฤษ (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกในยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2 แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่ยุทธการที่โทว์ทันเมื่อเดือนมีนาคม 1461 หลังการลุกขึ้นต่อต้านของแลงแคสเตอร์ทางเหนือถูกกำราบในปี 1464 และพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทะเลาะกับเอิร์ลแห่งวอริก สมญา "ผู้สร้างกษัตริย์" (Kingmaker) ผู้สนับสนุนและที่ปรึกษาหลักของพระองค์ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์ โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ซึ่งมีอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์ เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟูพระเจ้าเฮนรีที่ 6 กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่บาร์เนต (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และทูกสบรี (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่งเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์ จากนั้น บ้านเมืองค่อนข้างสงบอยู่พักหนึ่ง จนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตกะทันหันในปี 1483 ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระอนุชาที่ยังมีพระชนมชีพของพระองค์ ทีแรกเคลื่อนไหวเพื่อกันมิให้ตระกูลวูดวิลล์ที่ไม่เป็นที่นิยมของพระมเหสีหม้ายของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเข้าร่วมในรัฐบาลระหว่างที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ยังทรงพระเยาว์ จึงยึดราชบัลลังก์เป็นของตน โดยอ้างว่า การสมรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เฮนรี ทิวดอร์ พระญาติห่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์แลงแคสเตอร์ผู้รับสืบทอดการอ้างสิทธิ์มาด้วย ชนะพระเจ้าริชาร์ดที่บอสเวิร์ธฟิลด์ในปี 1485 พระองค์ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมและประสานราชวงศ์ทั้งสอง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสงครามดอกกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)

หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) (Cocos (Keeling) Islands) เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของออสเตรเลีย ประกอบไปด้วยอะทอลล์ 2 อะทอลล์ และ 27 เกาะปะการัง ดินแดนนี้ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย อยู่ระหว่างครึ่งทางจากประเทศออสเตรเลียกับประเทศศรีลังกา ที่ 12°07′S 96°54′E.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง) · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย ฮังการี โครเอเชีย และโบฮีเมีย (Otto von Habsburg; พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ ออทโท โรเบิร์ต มาเรีย แอนตัน คาร์ล แมกซ์ เฮ็นริค ซิกส์ตัส เซเวอร์ เฟลิกซ์ เรเนตัส ลุดวิก แกตัน พิอุส อิกเนเชียส ฟอน ฮับส์บูร์ก-ลอแรน; Franz Joseph Otto Robert Maria Anton Karl Max Heinrich Sixtus Xaver Felix Renatus Ludwig Gaetan Pius Ignatius von Habsburg-Lorraine) (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) ทรงเป็นอดีตประมุขแห่งราชวงศ์ของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือออสเตรีย ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นพระโอรสองค์โตในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี) และ จักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย พระองค์ทรงเป็นอดีตสมาชิกของสภายุโรป สมาคมคริสเตียนแห่งบาวาเรีย และทรงเคยเป็นประธานสหภาพแพนยุโรปนานาชาติ (International Paneuropean Union) อีกด้ว.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อาฟงซู เจ้าชายแห่งไบรา

อาฟงซู เจ้าชายแห่งไบร.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาฟงซู เจ้าชายแห่งไบรา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรีวกีว

อาณาจักรรีวกีว (琉球王国 Ryūkyū Ōkoku; รีวกีว: Ruuchuu-kuku;; ค.ศ. 1429 — 1879) เป็นรัฐเอกราช ครอบครองหมู่เกาะรีวกีว เกือบทั้งหมดตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 - 19 ชื่อของอาณาจักรรีวกีวปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) กษัตริย์ของอาณาจักรรีวกีวได้รวบรวมเกาะโอะกินะวะ ให้เป็นปึกแผ่น และขยายอาณาเขตไปถึงหมู่เกาะอะมะมิ (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดคะโงะชิมะ และหมู่เกาะซะกิชิมะ ใกล้กับเกาะไต้หวัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ แต่ก็มีบทบาทสำคัญทางด้านการค้าทางทะเลในยุคกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาณาจักรรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์

ราชอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ คืออาณาจักรลาวล้านช้างที่ตั้งอยู่ทางต้นใต้ของประเทศลาวในปัจจุบัน ดำรงอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2256 ถึง พ.ศ. 2489 เป็นเวลา 236 ปี อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ตกเป็นประเทศราชของไทยจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อฝรั่งเศสเข้ามาครอบครองบริเวณประเทศลาวทั้งหมด จำปาศักดิ์ถูกยุบรวมเข้ากับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง กลายมาเป็นราชอาณาจักรลาว เมื่อปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง

อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง คือ อาณาจักรที่เคยตั้งอยู่ในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน แต่ไม่ค่อยจะมีข้อมูลในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอาหม

อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาณาจักรอาหม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาณาจักรปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช

อาเล็กซานดาร์ คาราจอร์เจวิช ทรงเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าฟ้าชายอาเล็กซานดาร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย (Александар Карађорђевић, Aleksandar Karađorđević, พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย เมื่อครั้งพระราชสมภพพระราชบิดาของพระองค์คือพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ทรงทำให้พระองค์เป็นมกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวียซึ่งเป็นพระองค์สุดท้าย ด้วยการสร้างรัฐบาลคอมมิวนิสต์และการตามมาซึ่งการล่มสลายแห่งยูโกสลาเวีย ทำให้ปัจจุบันทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย โดยมีพระราชอิสริยยศเป็น เจ้าฟ้าชายอเล็กซานเดอร์ที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งเซอร์เบีย แต่ปัจจุบันเป็นสาธารณรัฐเซอร์เบีย เจ้าชายอเล็กซานเดอร์เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งยูโกสลาเวีย ราชวงศ์คาราจอร์เจวิช กับอเล็กซานดราแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีแห่งยูโกสลาเวีย พระองค์มีพระราชอิสริยยศเป็น "มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์" ซึ่งได้มาตั้งแต่พระราชสมภพและพระราชบิดายังคงเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ ซึ่งเป็นการแตกแยกในเซอร์เบียด้วยผู้คนจำนวนมากที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์อันส่งผลต่อกับความมั่นคงของประเท.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช · ดูเพิ่มเติม »

อี กู

อี กู (29 ธันวาคม พ.ศ. 2474 – 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2548) หรือพระนามในภาษาญี่ปุ่นว่า ริ คีว มีพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า เจ้าชายโฮอึน เป็นพระโอรสในเจ้าชายอึยมิน มกุฎราชกุมารแห่งเกาหลี กับเจ้าหญิงมะซะโกะแห่งนะชิโมะโตะ เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิโคจงและเป็นผู้อ้างสิทธิในราชสันตติวงศ์เกาหลีช่วงปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอี กู · ดูเพิ่มเติม »

อี ว็อน

อี ว็อน หรือ เจ้าชายว็อนแห่งเกาหลี (ประสูติ ค.ศ. 1962 -) ทรงเป็นเชื้อพระวงศ์ผู้สืบทอดราชบัลลังก์จักรพรรดิแห่งเกาหลีอย่างไม่เป็นทางการ โดยพระองค์เป็นพระโอรสองค์แรกในเจ้าชายแกปแห่งเกาหลี ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์ที่ 9 ในเจ้าชายกังซึ่งต่อมาในภายหลังเป็นพระราชโอรสบุญธรรมในเจ้าชายโฮอุนแห่งเกาหลี อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันพระองค์ทรงเป็นผู้จัดการบริษัท ฮุนได โฮมส์ ช็อปปิ้ง จำกั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอี ว็อน · ดูเพิ่มเติม »

อี แฮ-ว็อน

อี แฮ-ว็อน เป็นสตรีผู้สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์โชซ็อนของจักรวรรดิเกาหลี ภายหลังทรงตั้งตนเป็นรัชทายาทที่ได้รับสมมุติของเกาหลีแย้งกับอี ว็อน (이원, 李源) พระภาติยะผู้ได้รับการยอมรับจากสมาคมราชสกุลอีในการเป็นผู้นำราชสกุลและได้รับการแต่งตั้งไปก่อนหน้.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอี แฮ-ว็อน · ดูเพิ่มเติม »

อ้ายซินเจว๋หลัว

อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; พินอิน: àixīn juéluó แมนจู: 18px) เป็นพระราชตระกูลในราชวงศ์ชิงของแมนจู ในภาษาแมนจู "อ้ายซิน" มีความหมายว่า "ทอง" และ "เจว๋หลัว" ว่า นามสกุล สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์แห่งเผ่าหนีเจิน พระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอากูต่าแห่งพระราชตระกูลหวางเอี๋ยน ซึ่งทรงเป็นผู้รวมรวมกำลังพลเพื่อต่อสู้กับจักรวรรดิต้าหมิงที่อ่อนแอมากในขนาดนั้น จนได้รับชัยชนะและทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นองค์ปฐมบรมมหาจักรพรรดิแห่งราชวงศ์จิน สมเด็จพระเจ้าอากูต่า ทรงพระนามว่าสมเด็จพระจักรพรรดิจินไท่จู่และทรงครอบครองแผ่นดินจีนในส่วนอาณาจักรต้าจินเมื่อ..1115 (พ.ศ. 1658)และสิ้นสุดราชวงศ์จินในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและอ้ายซินเจว๋หลัว · ดูเพิ่มเติม »

ฌออากีม มูว์รา

ออากีม-นโปเลียน มูว์รา (Joachim-Napoléon Murat) หรือชื่ออิตาลีคือ โจอักกีโน นาโปเลโอเน มูว์รา (Gioacchino Napoleone Murat) เป็นจอมพลแห่งจักรวรรดิฝรั่งเศส และด้วยความที่เป็นญาติกับนโปเลียนทำให้เขาถูกแต่งตั้งเป็นกษัตริย์แห่งเนเปิลส์ โดยครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและฌออากีม มูว์รา · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา หรือ พระสันตะปาปาซ้อน (antipope) หมายถึง พระคาร์ดินัลที่อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา ประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิกอย่างไม่ถูกต้อง จึงเป็นปรปักษ์ของพระสันตะปาปาพระองค์จริงที่ได้รับเลือกมาอย่างถูกต้องตามกฎหมายศาสนจักร การกล่าวหาบุคคลใดเป็นว่าพระสันตะปาปาซ้อนนั้นค่อนข้างสับสน เนื่องจากนักวิชาการในคริสตจักรโรมันคาทอลิกเองยังมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นพระสันตะปาปาซ้อนในสมัยหนึ่ง จึงอาจได้รับการยอมรับรับว่าเป็นพระสันตะปาปาถูกต้องในสมัยหลังก็ได้ เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3 ช่วงเวลาที่มีพระสันตะปาปาซ้อนเกิดขึ้นต่อเนื่องยาวนานที่สุดคือช่วงที่เกิดศาสนเภทตะวันตกตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา (Jean-Bédel Bokassa) เป็นอดีตจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง (สาธารณรัฐแอฟริกากลางในปัจจุบัน) เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 ที่แอฟริกากลางขณะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส เมื่อโตขึ้นจึงเข้าร่วมกับกองทัพแอฟริกากลางเพื่อต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส ได้เป็นแนวหน้าสู้รบอย่างกล้าหาญ จนได้เหรียญกล้าหาญมาได้ จนในที่สุดแอฟริกากลางก็ได้รับเอกราช แต่บอกาซาก็ฉวยโอกาสตอนที่บ้านเมืองยังอ่อนแอจากการรับเอกราชใหม่ ๆ ก่อรัฐประหารโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางของดาวีด ดักโก ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1966 และบริหารประเทศในฐานะผู้นำประเทศ จนกระทั่งในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1976 บอกาซาได้ปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 แห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง ใช้จ่ายบนสิทธิกษัตริย์อย่างฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่าย มีฉลองพระองค์และฉลองพระบาทประดับมุก สร้างพระราชบัลลังก์ให้ทองคำรูปนกอินทรีขนาดยักษ์ สร้างพระราชวังหินอ่อน ประดับโคมไฟระย้าสุดวิจิตร สูบเงินประเทศชาติจนแทบล่มจม นอกจากนี้ยังมีการลงโทษศัตรูและนักโทษในประเทศอย่างโหดร้าย ตั้งแต่พระราชอาญาที่ไม่ถึงตาย เช่น การตัดใบหู จนถึงพระราชอาญาถึงตาย เช่น การทุบตีจนตายอย่างทรมาน โยนเข้าไปในกรงสิงโต โยนลงบ่อจระเข้ จนถึงการส่งตัวให้แก่ชนเผ่ากินคน แต่วิธีการลงโทษทั้งหมดเป็นความลับซึ่งมีแต่คนในเท่านั้นที่จะรู้ ส่วนความฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่ายไม่ใช่ความลับ เพราะบอกาซาเห็นว่าปกปิดไม่ได้ ประชาชนคนนอกจึงรู้ดี ทำให้ประชาชนเริ่มไม่พอใจ จนกระทั่งในที่สุด ประชาชนที่นำโดยดาวีด ดักโก ผู้ที่บอกาซาเคยโค่นล้มเมื่อสิบกว่าปีก่อน โค่นพระราชอำนาจจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 และยกเลิกจักรวรรดิแอฟริกากลางแล้วรื้อฟื้นสาธารณรัฐแอฟริกาในวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1979 ส่วนบอกาซาหลบหนีอออกนอกประเทศไปได้ และความลับเรื่องวิธีการที่เขาลงโทษฝ่ายตรงข้ามก็ถูกเปิดเผย ดังนั้น ในเวลาต่อมา ศาลของสาธารณรัฐแอฟริกากลางจึงตัดสินโทษบอกาซาให้สำเร็จโทษ แต่ตอนนั้นบอกาซายังไม่กลับเข้าประเทศ ทางด้านบอกาซาแม้จะรู้ว่าหากกลับประเทศแล้วจะเจอโทษอะไร แต่ยังกลับสาธารณรัฐแอฟริกากลางในปี ค.ศ. 1987 เพราะคิดว่าตนเองเป็นวีรบุรุษของชาติ เขาจึงถูกจับขึ้นศาล แต่ศาลของรัฐบาลใหม่ได้แสดงความเมตตาโดยการลดโทษเหลือจำคุกตลอดชีวิต ก่อนที่ปีต่อมาจะถูกลดโทษให้เหลือจำคุก 20 ปี ในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1993 บอกาซาได้รับการนิรโทษกรรมจากปัญหาด้านสุขภาพจากประธานาธิบดีอองเดร โคลิงบา ซึ่งเป็นประธาธิบดีคนเดียวกับที่ตัดสินโทษแก่บอกาซา โดยเมื่อถูกปล่อยตัว เขาได้อ้างว่าเป็นอัครทูตองค์ที่สิบสาม พร้อมกับอ้างว่าเคยพบกับสมเด็จพระสันตะปาปาอย่างลับๆ บอกาซาเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลวที่บ้านของตนเองเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 รวมอายุ 75 ปี โดยได้รับการรายงานว่าเขามีภรรยา 17 คน และบุตรกับสตรีรวมกัน 50 คน หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:บุคคลที่เคยนับถือศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:บุคคลที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและฌ็อง-เบแดล บอกาซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

ักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (Wilhelm II หรือ Friedrich Wilhelm Albert Viktor von Preußen 27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) หรือ พระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระราชโอรสใน พระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 กับพระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิเยอรมัน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งปรัสเซีย ทรงดำรงวาระตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ถึง 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ทรงเป็นผู้ที่มีความชื่นชมในศักยภาพทางทหารของจักรวรรดิ ทรงเห็นว่ากองทัพเป็นผู้รวมชาติเยอรมันและสร้างความยิ่งใหญ่ให้กับจักรวรรดิ หาใช่สมาชิกรัฐสภาไม่ พระองค์จึงทรงมุ่งมั่นที่จะใช้กำลังทหารเพื่อขยายอิทธิพลของจักรวรรดิเยอรมันไปทั่วโลก ซึ่งมีผลต่อสถานการณีการเมืองในยุโรปอย่างมาก ก่อให้เกิดการช่วงชิงผลประโยชน์และอำนาจซึ่งกันและกัน ตลอดจนเกิดการแบ่งแยกมหาอำนาจยุโรปเป็น 2 ค่าย จนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในที่สุด หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลงใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2411 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซีย, แกรนด์ดยุคฟินแลนด์และกษัตริย์แห่งโปแลนด์โดยสิทธิ์พระองค์สุดท้าย เช่นเดียวกับจักรพรรดิรัสเซียองค์อื่นๆ พระองค์เป็นที่รู้จักด้วยพระอิสริยยศ ซาร์ บรรดาศักดิ์โดยย่ออย่างเป็นทางการของพระองค์ คือ นิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย ศาสนจักรออโธด็อกซ์รัสเซียออกพระนามพระองค์ว่า นักบุญนิโคลัสผู้แบกมหาทรมาน (Passion-Bearer) และถูกเรียกว่า นักบุญนิโคลัสมรณสักขี จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ทรงปกครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคจง

ักรพรรดิโคจง (เกาหลี:광무제, 光武帝) หรือ สมเด็จพระเจ้าโกจง (고종 광무제, ฮันจา:高宗光武帝, Gojong of Korea) (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2395–21 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโชซอน ลำดับที่ 26 และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเกาหลีพระองค์แรก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิโคจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเต้ากวัง

ักรพรรดิเต้ากวัง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าเตากวาง เป็นองค์ชายรองในจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง เดิมมีพระนามว่า เหมียนหนิง (綿寧) (แปลว่า อาทิตย์อัสดง) แต่ได้เปลี่ยนพระนามใหม่ภายหลังขึ้นครองราชย์ว่า หมิ่นหนิง (旻宁) (แปลว่า ท้องฟ้า หรือ จักรวาล) จักรพรรดิเต้ากวัง ประสูติจากมเหสีที่มีชื่อว่า จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย(孝淑皇后) แต่พระมารดาได้สิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่พระองค์ยังเยาว์วัย จักรพรรดิเจี่ยชิงพระราชบิดาจึงได้สถาปนาพระมเหสีองค์ใหม่ขึ้นเป็นจักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย (孝和皇后) ซึ่งเป็นบุตรสาวของอูนาลา ขุนนางพวกเดียวกับเหอเซิน ที่ทรงไม่ไว้วางพระทัย แต่ทรงทำไปด้วยด้วยเหตุผลทางการเมือง นั่นทำให้จักรพรรดิเต้ากวังเมื่อยังทรงพระเยาว์ก็ไม่โปรดในตัวพระนางด้วยเช่นกัน แม้จะมีศักดิ์เป็นพระมารดาเลี้ยงก็ตาม แต่ได้ทรงเปลี่ยนทัศนะที่มีต่อพระนางใหม่ เมื่อครั้งหนึ่งที่ได้เสด็จไปไหว้บรรพกษัตริย์ที่สุสานราชวงศ์ชิงด้วยกัน และได้มีโจรกบฏกลุ่มหนึ่งมาจับตัวพระองค์และพระนางไปพร้อมกับสามัญชนกลุ่มหนึ่ง พวกกบฏบังคับให้พระองค์และพระนางบอกว่าใครเป็นใคร หากเงียบ ก็จะให้จ้วงแทงพระนางด้วยมีด พระนางก็ปิดปากเงียบไม่ยอมบอก นั่นจึงทำให้พระองค์ซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระนางเสี้ยวเหอมากและยอมรับพระนางในที่สุด จักรพรรดิเต้ากวัง ขึ้นครองราชย์ภายหลังการสวรรคตอย่างกะทันหันของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) ระหว่างเสด็จแปรพระราชฐานหลบร้อนไปยังเมืองเฉิงเต๋อ ซึ่งได้มีพระราชโองการแต่งตั้งไว้ในพินัยกรรม แต่เนื่องจากการที่สวรรคตในที่ห่างไกลเมืองหลวง จึงทำให้ องค์ชายสี่ เหมี่ยนซิน พระโอรสองค์เล็กพระนางเสี้ยวเหอของคัดค้านว่า เป็นพินัยกรรมปลอม และเตรียมการจะก่อกบฏ พระองค์จึงทรงวางแผนโยนไปให้พระนางเสี้ยวเหอตัดสินและได้ขอกำลังทหารส่วนหนึ่งมาคุ้มกัน ซึ่งพระนางเสี้ยวเหอได้ยอมรับว่า พินัยกรรมนั้นเป็นของจริง และได้พระราชทานอภัยโทษประหารองค์ชายเหมี่ยนซินไว้ ในรัชสมัยจักรพรรดิเต้ากวัง ได้ทรงหาทางกำจัดขุนนางกังฉินและบรรดาขุนนางที่ไม่เอาการเอางาน จึงทำให้เหล่าขุนนางลับหลังจะนินทาพระองค์อยู่เสมอ ๆ และทำให้ขุนนางแบ่งแยกกันเป็นฝักเป็นฝ่ายต่างก็สนับสนุนพระโอรสอันเกิดจากพระมารดาที่เป็นชนเผ่าเดียวกับตน แต่พระองค์ก็ได้หาทางบริหารประเทศอย่างเต็มที่ ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศเป็นปึกแผ่น ดูเหมือนเข้มแข็ง แต่ภายในอ่อนแออันเกิดจากการฉ้อราฎร์บังหลวงที่เป็นระบบกันมานานแต่สมัยจักรพรรดิเฉียนหลง ในรัชสมัยนี้พระองค์ได้ออกนโยบายให้ทุกคนในวังประหยัด โดยมีพระองค์เป็นแบบอย่าง และเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดคือ สงครามฝิ่นกับอังกฤษในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) และ พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และนำมาสู่การสูญเสียเกาะฮ่องกงและการล่มสลายของราชวงศ์ชิงในภายหลัง จักรพรรดิเต้ากวังมีอุปนิสัยส่วนพระองค์คือ โปรดปรานปืนเป็นพิเศษ ได้สวรรคตในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) และผู้ครองราชย์สืบไปคือ องค์ชายอี้จู่ภายหลังขึ้นครองราชย์ใช้พระนามว่า จักรพรรดิเสียนเฟิง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิเต้ากวัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล

ักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล (ภาษาโปรตุเกส: Dom Pedro II, ภาษาอังกฤษ: Peter II; 2 ธันวาคม ค.ศ. 1825 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1891) มีพระสมัญญานามว่า "ผู้มีจิตใจสูงส่ง" (the Magnanimous) ทรงเป็นพระประมุขพระองค์ที่สองและพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิบราซิล ทรงครองราชบัลลังก์มานานกว่า 58 ปี พระองค์ประสูติที่รีโอเดจาเนโร เป็นพระบุตรพระองค์ที่เจ็ดในจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิลกับอาร์คดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดิน่าแห่งออสเตรีย และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ราชวงศ์บราแกนซาสายบราซิล พระราชบิดาของพระองค์สละราชบัลลังก์อย่างทันทีทันใดและเสด็จไปยังยุโรปในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบราซิล

ักรวรรดิบราซิล (Empire of Brazil) เป็นจักรวรรดิที่เป็นประเทศบราซิลปัจจุบัน จักรวรรดิบราซิลที่ปกครองโดยจักรพรรดิเปดรูที่ 1 และพระราชโอรสจักรพรรดิเปดรูที่ 2 เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1822 และต่อมาแทนที่ด้วยสาธารณรัฐในปี ค.ศ. 1889 หลังจากการยึดครองโปรตุเกสโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ราชวงศ์บราแกนซาก็ย้ายราชสำนักลี้ภัยไปตั้งอยู่ที่บราซิลซึ่งเป็นอาณานิคมที่สำคัญที่สุดของโปรตุเกส หลังจากนั้นบราซิลก็กลายเป็นเมืองหลวงของสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ซึ่งเป็นฐานะใหม่และเป็นการมีรัฐบาลที่ปกครองตนเองโดยไม่ต้องคำนึงถึงอำนาจจากลิสบอน ความคิดที่ว่ารัฐบาลจะกลับไปตั้งอยู่ในโปรตุเกสเมื่อนโปเลียนถูกโค่นจึงเป็นความคิดที่ไม่เป็นที่ต้องใจเท่าใดนัก ฉะนั้นแม้ว่าจะได้รับการปกครองจากสมาชิกของราชวงศ์โปรตุเกสแต่บราซิลก็มีความรู้สึกว่าเป็นอิสระจากโปรตุเกส หลังจากที่ได้รับอิสรภาพจากโปรตุเกสเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1822 แล้วบราซิลก็ปกครองโดยระบอบราชาธิปไตย จักรวรรดิบราซิลรุ่งเรืองมาจนถึงการก่อตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง

ักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง (Premier Empire) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า (L'Empire des Français; ล็องปีร์เดส์ฟร็องแซส์ แปลว่า จักรวรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส) ยังรู้จักกันในนาม มหาจักรวรรดิฝรั่งเศส และ จักรวรรดินโปเลียน โดยเป็นจักรวรรดิที่สถาปนาขึ้นโดย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ภายหลังจากที่พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส โดยเป็นจักรวรรดิที่มีส่วนสำคัญและมีอำนาจอย่างมากในทวีปยุโรปในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเปลี่ยนผ่านมาจากคณะกงสุลฝรั่งเศส จักรวรรดิยังเป็นผู้ริเริ่มการทำสงครามมากมายในยุโรปจากนโยบายการต่างประเทศของจักรพรรดินโปเลียน ที่มุ่งเน้นจะยึดครองทวีปยุโรปไว้กับฝรั่งเศสแต่เพียงผู้เดียว.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)

ักรวรรดิจีน (Empire of China) เป็นการปกครองซึ่งดำรงอยู่ในช่วงสั้น ๆ ในประเทศจีนตั้งแต่ปล..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916) · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแอฟริกากลาง

ักรวรรดิแอฟริกากลาง (ฝรั่งเศส: Empire centrafricain) เป็นจักรวรรดิที่ได้รับการสถาปนาเป็นช่วงสั้น ๆ โดยการประกาศระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เผด็จการ และสถาบันพระมหากษัตริย์ จักรวรรดิได้การการสถาปนานาขึ้นมาแทนที่สาธารณรัฐแอฟริกากลาง แต่ในที่สุดก็ล่มสลายและมีการฟื้นฟูธารณรัฐแอฟริกากลางขึ้นมาอีกครั้ง จักรวรรดิได้รับการก่อตั้งโดยฌ็อง-เบแดล บอกาซา ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ได้ประกาศสถาปนาตนเป็น "สมเด็จพระจักรพรรดิโบคัสซาที่ 1 แห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง" เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 1976 โบคัสซาใช้เงินประมาณ 20 ล้านดอลลาสหรัฐ หรือหนึ่งในสี่ของรายได้ของประเทศในช่วงรัฐบาลของเขา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกล้มล้างและแทนที่ด้วย "สาธารณรัฐแอฟริกากลาง" เมื่อวันที่ 21 กันยายน 1979 หลังจากที่โบคัสซาไม่ได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสอีกต่อไป.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเกาหลี

ักรวรรดิโชซ็อน (The Greater Korean Empire หรือ ประเทศโชซ็อน คือราชอาณาจักรโชซ็อนที่ประกาศยกสถานะของรัฐจากราชอาณาจักรเป็นจักรวรรดิ ตามพระบรมราชโองการของพระเจ้าโกจง พร้อมกับการเปลี่ยนพระอิสริยยศจาก กษัตริย์ เป็น จักรพรรดิ โดยพระองค์มีพระนามว่า จักรพรรดิควางมูแห่งเกาหลี เพื่อให้ประเทศเอกราชจากจักรวรรดิชิง และยกสถานะของประเทศมีความเท่าเทียมกับจักรวรรดิชิง และ จักรวรรดิญี่ปุ่น แม้ว่าโดยพฤติการณ์แล้วสถานะของเกาหลีไม่ได้เข้าข่ายการเป็นจักรวรรดิเลยก็ตาม จนกระทั่งถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครองในปี ค.ศ. 1910.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเม็กซิโก

ักรวรรดิเม็กซิโกอาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเวียดนาม

ักรวรรดิเวียดนาม (Đế quốc Việt Nam; ฮ้านตึ: 越南帝国; ベトナム帝国) เป็นรัฐหุ่นเชิดอายุสั้นของจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยมีอำนาจบริหารดินแดนเวียดนามทั้งหมดระหว่าง 11 มีนาคม - 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเอธิโอเปีย

ักรวรรดิเอธิโอเปีย หรือที่รู้จักกันในประวัติศาสตร์ในชื่อ อะบิสซิเนีย เป็นจักรวรรดิที่ตั้งอยู่ในเขตประเทศเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ในช่วงที่รุ่งเรืองสูงสุดนั้นอาณาเขตของจักรวรรดิได้แผ่ขยายไปถึงอียิปต์ตอนใต้ ซูดานภาคตะวันออก เยเมน และซาอุดิอาระเบียภาคตะวันตก และดำรงอยู่ในหลายหลายลักษณะนับตั้งแต่การสถาปนาเมื่อราว 980 ปี ก่อน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจักรวรรดิเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

จิน โหย่วจือ

น โหย่วจือ (17 สิงหาคม พ.ศ. 2461 — 10 เมษายน พ.ศ. 2558) หรือ ผู่เริ่น เป็นบุตรคนที่ 4 ของไจ้เฟิง และเป็นน้องชายต่างมารดาของจักรพรรดิผู่อี๋ซึ่งเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของจีนและแมนจูกัว จิน โหย่วจือ เกิดที่ พระราชวังของเจ้าชายชุนที่ 2 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจิน โหย่วจือ · ดูเพิ่มเติม »

จู หรงจี้

ู หรงจี้ เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2471 เป็นนายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐประชาชนจีน คนที่ 9 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2546 จูหรงจีเคยเป็นนายกเทศมนตรีนครเซี่ยงไฮ้ระหว่าง พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534 และได้รับการสนับสนุนจากเจียง เจ๋อหมินกับหลี่ เผิง ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลานั้น จู หรงจี้มีเชื้อสายจากราชวงค์หมิง แต่ทว่าเองไม่เคยประกาศอ้างสิทธิในราชสมบัติ ซึ่งสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิหงหวู่ (จูหยวนจาง).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและจู หรงจี้ · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะ

ทะไลลามะ (ทิเบต: ཏཱ་ལའི་བླ་མ་, taa la’i bla ma, จีนตัวเต็ม: 達賴喇嘛; จีนตัวย่อ: 达赖喇嘛; พินอิน: Dálài Lǎmā) เป็นตำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ในพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของชาวทิเบต ทะไลลามะ มาจากภาษามองโกเลีย dalai แปลว่า มหาสมุทร และภาษาทิเบต བླ་མ ་bla-ma แปลว่า พระชั้นสูง (ทะไลลามะ บางครั้งหรือนิยมออกเสียว่า ดาไลลามะ) ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็นอวตารในร่างมนุษย์ของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และเมื่อองค์ทะไลลามะองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะองค์ต่อไป โดยเรทิงรินโปเช ซึ่งเป็นพระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับชาติมาเกิด ปัจจุบัน ดาไลลามะ เป็นองค์ที่ 14 ชื่อ เทนซิน เกียตโซ(Tenzin Gyatso)..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและทะไลลามะ · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะที่ 14

ทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะที่ 14 (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama, 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและทะไลลามะที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทโดยสันนิษฐาน

้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทโดยสันนิษฐาน (Heir presumptive) คือทายาทผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลแต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์ (Order of succession) ที่กำหนดไว้.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและทายาทโดยสันนิษฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ทิเบต

ทิเบต (ภาษาทิเบต: བོད་ เป้อ, ภาษาจีน: 西藏 xīzàng ซีจ้าง) เป็นเขตที่ราบสูงในทวีปเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่อยู่ของชาวทิเบต และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และปัจจุบันมีชาวฮั่นและหุยมาอยู่อาศัยด้วยเป็นจำนวนมาก ทิเบตเป็นบริเวณที่สูงที่สุดในโลก มีระดับความสูงเฉลี่ย 4,900 เมตร หมวดหมู่:เอเชียกลาง หมวดหมู่:เอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก

ร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก หรือที่ในประเทศออสเตรียเรียกว่า คาร์ล ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน (คาร์ล โธมัส โรเบิร์ต มาเรีย ฟรานซิสกัส จอร์ช แบนัม ฟอน ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน; Karl Thomas Robert Maria Franziskus Georg Bahnam von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2504 ณ เมืองสแตนเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เป็นประมุขแห่งราชวงศ์ของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี หรือออสเตรีย ฮังการี สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย สโลวีเนีย สโลวาเกีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสองค์แรกในออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กและเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน พระองค์ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Order of the Golden Fleece ของประเทศออสเตรีย การสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดาในต้นเดือนกรกฎาคมคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

คำตี่

ำตี่ ขำติ หรือ ชาวไทคำตี่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มหนึ่งในอัสสัม และทางภาคเหนือของประเทศพม่า ในรัฐกะฉิ่น เมืองปูตาโอ แบ่งได้ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไทคำตี่หลวง (ในประเทศพม่า) และ กลุ่มสิงคะลิงคำตี่ (ในประเทศอินเดีย).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและคำตี่ · ดูเพิ่มเติม »

ต่อพะยา

้าต่อพะยา (ประสูติ 22 มีนาคม 1924) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของเจ้าหญิงมยะพะยา ซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าธีบอพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งประเทศพม่า ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของพม่า พระเชษฐาของพระองค์ซึ่งก็คือพระราชโอรสองค์ที่หนึ่งเจ้าหญิงมยะ พะยา ถูกลอบปลงพระชนม์โดยพวกคอมมิวนิสต์ก่อการร้ายในปี 1948 กับการสิ้นพระชนม์ของพระมาตุจฉาในปี 1956 พระองค์จึงทรงเป็นประมุขในราชวงศ์คองบอง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและต่อพะยา · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (Симеон Борисов Сакскобургготски, ซีโมน บอรีซอฟ ซักสโกบูร์กกอตสกี; Simeon von Sachsen-Coburg und Gotha or Simeon von Wettin) หรือ พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2480) ทรงเป็นบุคคลสำคัญในสังคมการเมืองและราชวงศ์บัลแกเรีย พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. ประวัติศาสตร์จีนมีทั้งช่วงที่เป็นปึกแผ่นและแตกเป็นหลายอาณาจักรสลับกันไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น เช่น มองโกล แมนจู ญี่ปุ่น วัฒนธรรมของจีนมีอิทธิพลอย่างสูงต่อชาติอื่นๆ ในทวีปเอเชีย และในสังคมโลก ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นไม่มีหลักฐานแน่ชัดนักว่าเริ่มต้นเมื่อไร แต่จากการขุดพบวัตถุโบราณตามลุ่มแม่น้ำฉางเจียงและหวางเหอ แบ่งช่วงเวลานี้ออกได้เป็นสังคมสองแบบ แบบแรกเป็นช่วงที่ผู้หญิงเป็นใหญ่เรียกว่าช่วงวัฒนธรรมหยางเซา และช่วงที่ผู้ชายเป็นใหญ่เรียกว่าวัฒนธรรมหลงซาน ตำนานเล่ากันว่าบรรพบุรุษจีนมีชื่อเรียกว่า หวางตี้ และ เหยียนตี้.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประวัติศาสตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมัลดีฟส์

มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแมนจู

ประเทศแมนจู หรือเรียกอย่างทับศัพท์ว่า หมั่นโจวกั๋ว ("ประเทศแมนจู") มีชื่อทางการว่าจักรวรรดิแมนจู เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ตั้งอยู่ในดินแดนแมนจูเรียและมองโกลเลียในด้านทิศตะวันออกปัจจุบัน ดินแดนแห่งนี้นับเป็นรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ของชนชาติแมนจูผู้สถาปนาราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีนในอดีต กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนดังกล่าวจากสาธารณรัฐจีนในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและประเทศแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ปุรันทาร สิงห์

นแดนของอาณาจักรอาหมในช่วงสุดท้ายก่อนการล่มสลาย ปุรันทาร สิงห์ (Purandar Singha) เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรอาหม ครองราชย์ครั้งแรก พ.ศ. 2361 - 2362 ครองราชย์ครั้งที่สองภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2377 - 2382 ภายหลังพระองค์ได้ถูกถอดออกจากตำแหน่งโดยมีผู้แทนจากเจ้าอาณานิคมขึ้นมาปกครองแทน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและปุรันทาร สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุล

ื่อสกุล หรือ นามสกุล คือ ชื่อบอกตระกูล (หรือสกุล) เพื่อแสดงที่มาของบุคคลนั้น ว่ามาจากครอบครัวไหน ตระกูลใด ธรรมเนียมการใช้นามสกุลปรากฏอยู่ทั่วไปในหลาย ๆ ประเทศและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละที่ก็อาจจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป ในหลาย ๆ วัฒนธรรม (เช่น ทางตะวันตก ตะวันออกกลาง และในทวีปแอฟริกา) นามสกุลจะอยู่ในลำดับหลังสุดของชื่อบุคคล แต่ในบางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม) นามสกุลจะอยู่ในลำดับแรก ส่วนนามสกุลของไทยจะอยู่เป็นลำดับสุดท้ายเหมือนทางตะวันตก ในบางวัฒนธรรม จะใช้นามสกุลในการเรียกขานในโอกาสที่เป็นทางการ เช่น บารัก โอบามา (Barack Obama) จะถูกเรียกว่า คุณโอบามา (Mr. Obama) ไม่ใช่ คุณบารัก เป็นต้น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและนามสกุล · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันด์ ซโวนีมีร์ ฟอน ฮับส์บูร์ก

แฟร์ดีนันด์ ซโวนีมีร์ ฟอน ฮับส์บูร์ก (Ferdinand Zvonimir von Habsburg) หรือนามตามพระยศคือ อาร์ชดยุกแฟร์ดีนันด์ ซโวนีมีร์ แห่งออสเตรีย ปัจจุบันเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งราชบัลลังก์ออสเตรีย, ฮังการี, โครเอเชีย และ โบฮีเมีย (ปัจจุบันคือประเทศเช็กเกีย) อาร์ชดยุกแฟร์ดีนันด์ ประสูติเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและแฟร์ดีนันด์ ซโวนีมีร์ ฟอน ฮับส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกจอร์จ มิไคโลวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดยุกจอร์จ มิไคโลวิชแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและแกรนด์ดยุกจอร์จ มิไคโลวิชแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

โชติ แพร่พันธุ์

ติ แพร่พันธุ์ หรือเจ้าของนามปากกา “ยาขอบ” ที่มีผลงานเด่นคือ ผู้ชนะสิบทิศ และอีกหลากหลายเรื่องไม่ว่าจะเป็นผลงานเรื่องสั้นชื่อ “เพื่อนแพง” วรรณกรรมเรื่องยาวอย่าง สามก๊ก (ฉบับวณิพก) ความเรียงปกิณกะเรื่องสินในหมึก เป็นต้น.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและโชติ แพร่พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรซ เปาลา อีรีบากิซา

้าหญิงโรส เปาลา อิริบากิซาแห่งบุรุนดี (Rose Paula Iribagiza) เป็นเจ้าหญิงแห่งบุรุนดี ประสูติเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1934 พระองค์เป็นพระราชธิดา ในพระเจ้ามวัมบุตซาที่ 4 แห่งบุรุนดีและสมเด็จพระราชินีเทเรซา คานยงกา และเป็นพระขนิษฐา ในพระเจ้านทาเรที่ 5 แห่งบุรุนดีพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของบุรุนดี พระองค์ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์บุรุนดีหลังจากที่ พระเจ้านทาเรที่ 5 เสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและโรซ เปาลา อีรีบากิซา · ดูเพิ่มเติม »

โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (Fürstentum Hohenzollern-Sigmaringen, Hohenzollern-Sigmaringen) ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินเป็นสาขาอาวุโสของสาขาชวาเบินของราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ที่ไม่เป็นที่รู้จักกันมากเท่ากับสาขาฟรังโคเนียที่กลายมาเป็นเบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์กและต่อมาปกครองบรันเดนบูร์ก-ปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินปกครอง" รัฐเคานต์แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน" (Grafschaft Hohenzollern-Sigmaringen) ที่ต่อมาได้รับเลื่อนฐานะขึ้นเป็น "ราชรัฐ" (Fürstentum Hohenzollern-Sigmaringen).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ไอล์ออฟแมน

อล์ออฟแมน (Isle of Man,; Ellan Vannin) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเขตทะเลไอริช (Irish Sea) ในบริเวณศูนย์กลางของหมู่เกาะบริเตน (British Isles) ประมุขแห่งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าครองนครแห่งแมนน์ (ลอร์ดออฟแมนน์ - Lord of Mann) โดยมีข้าหลวงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไอล์ออฟแมนนี้ไม่ได้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แต่กิจการด้านการต่างประเทศ การป้องกันดินแดน และการบริหารระบบธรรมาภิบาลระดับสูงสุด (ultimate good-governance) ของไอล์ออฟแมนอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและไอล์ออฟแมน · ดูเพิ่มเติม »

เหิง เจิ้น

องค์ชายเหิง เจิ้น ในพิธีเคารพบรรพบุรุษ เหิง เจิ้น เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อปี ค.ศ. 1944 เป็นพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากยวี่เหยียน โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และเป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ปัจจุบันนี้ถึงแม้เขาจะไม่ค่อยออกสื่อมากนัก เพราะมีกฏเหล็กข้อห้ามให้อดีตพระราชวงศ์ทุกคนห้ามแสดงปฏิกิริยาออกหน้าออกตาหรือออกสื่อ เพราะจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาล แต่ถึงแม้อย่างไรก็ตามพระองค์และราชวงศ์ก็ได้รับความนิยมต่อประชาชนไม่น้อย ปัจจุบันนี้มีมูลนิธิในพระอุปถัมภ์ของราชวงศ์ชิงอยู่มากมายที่ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนและยังได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐบาลจีนด้วย ทั้งนี้ทั้งนั้นราชวงศ์ชิงยังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีการตั้งองค์กรขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือสมาชิกราชวงศ์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามถึงแม้เขาและญาติจะไม่มีอำนาจเหมือนดังแต่ก่อน แต่ก็ยังได้รับพระเกียรติและความเคารพจากรัฐบาลให้พระองค์และพระญาติอาศัยในพระราชวังกู้กงได้ในพื้นที่ที่รัฐบาลจัดให้เท่านั้น และทุก ๆ วันชาติจีนรัฐบาลและประชาชนองค์กรต่าง ๆ จะมีการจัดพิธีเคารพบรรพบุรุษที่เสียสละเพื่อชาติบ้านเมือง เขาและญาติก็จะเสด็จมาร่วมในการนี้ด้วยทุกๆปี ปัจจุบันหากเขาและญาติจะออกงานต่าง ๆ ที่ได้ทรงรับเชิญนั้น จะต้องได้รับการอนุญาตจากรัฐบาลจีนเท่านั้นถึงจะไปได้ ยกเว้นในศาสนพิธีตามโบราณราชประเพณีเท่านั้นซึ่งจะมีการจัดขึ้นทุก ๆ ปี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเหิง เจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตบูคารา

อมิเรตบูคารา (Emirate of Bukhara; شاهنشاهی بخارا; Buxoro amirligi) เป็นรัฐที่อยู่ในเอเชียกลาง บริเวณทรานส์ออกเซียนา (พื้นที่ระหว่างแม่น้ำอามูดาร์ยาและแม่น้ำซีร์ดาร์ยา) สถาปนาโดยชาห์ มูราด ในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเอมิเรตบูคารา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายบ๋าว ทั้ง

้าชายบ๋าว ทั้ง แห่งเวียดนาม (Bảo Thắng; จื๋อโนม: 保陞) ประสูติเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1943 ที่เมืองด่าหลัต จังหวัดเลิมด่ง ประเทศเวียดนาม พระโอรสองค์สุดท้ายในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และสมเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนามแห่งราชวงศ์เหงียน ซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งเวียดนามด้วย โดยหลังจากที่มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง แห่งเวียดนาม ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์ ได้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยอ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์เวียดนามต่อจากพระเชษฐา พระองค์สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายบ๋าว ทั้ง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกียอร์ก ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย

้าชายกียอร์ก ฟริดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายกียอร์ก ฟรีดริช เจ้าชายแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส

้าชายอ็องรีแห่งออร์เลอ็อง เคานต์แห่งปารีส ดยุกแห่งฝรั่งเศส เป็นประมุขของราชวงศ์ออร์เลอ็องในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฌ็อง-เบแดล บอกาซา มกุฎราชกุมารแห่งแอฟริกากลาง

้าชายฌ็อง-เบแดล บอกาซา มกุฎราชกุมารแห่งแอฟริกากลาง (Jean-Bédel Bokassa, Crown Prince of the Central African Empire) หรือ ฌ็อง-เบแดล บอกาซา จูเนียร์ (Jean-Bédel Bokassa, Jr) หรือ ฌ็อง-เบแดล บอกาซาที่ 2 (Jean-Bédel Bokassa II) (ประสูติ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1973) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิโบคัสซาที่ 1 แห่งแอฟริกากลางกับสมเด็จพระจักรพรรดินีแคทเธอรีนแห่งแอฟริกากลาง พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารเมื่อพระบิดาของพระองค์ครองราชย์ ต่อมาพระบิดาของพระองค์ถูกปฏิวัติ และต้องกลายเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ เมื่อพระบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์จึงเป็นประมุขราชวงศ์โบคัสซาและเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์จักรวรรดิแอฟริกากลางพระองค์ต่อม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายฌ็อง-เบแดล บอกาซา มกุฎราชกุมารแห่งแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายดูอาร์ท ปิโอ ดยุกแห่งบรากันซา

้าชายดูอาร์ท ปิโอ ดยุคแห่งบรากันซา เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ใน เจ้าชายดูอาร์เต นูโน ดยุคแห่งบรากันซา กับ เจ้าหญิงมาเรีย ฟรานซิสกา ดัชเชสแห่งบรากันซา ทรงเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้ามิเกลแห่งโปรตุเกส พระองค์เสกสมรสกับ เจ้าหญิงอิซาเบล ดัชเชสแห่งบรากันซา มีพระโอรส 3 พระองค์ พระองค์ทรงสืบพระอิสริยยศเป็น ดยุกแห่งบรากันซา ภายหลังพระบิดาสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายดูอาร์ท ปิโอ ดยุกแห่งบรากันซา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ดัม เจ้าชายแห่งทาร์โน

้าชายคาร์ดัม เจ้าชายแห่งทาร์โน ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ ใน พระเจ้าซีโมนแห่งบัลแกเรีย กับ สมเด็จพระราชินีมาร์การิตาแห่งบัลแกเรีย ทรงมีพระอนุชาและพระเชษฐา 4 พระองค์ ทรงเสกสมรสกับ มาเรียม เดอ อัลเจีย ยี โลเปซ มีพระราชโอรส 2 พระอง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายคาร์ดัม เจ้าชายแห่งทาร์โน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายปีเตอร์ รัชทายาทแห่งเซอร์เบีย

้าชายปีเตอร์ เจ้าชายรัชทายาทแห่งเซอร์เบียหรือเจ้าชายปีเตอร์ เจ้าชายรัชทายาทแห่งยูโกสลาเวีย(ปีเตอร์ คาราดอร์เดวิค)(ภาษาเซอร์เบีย:Petar Karađorđević,อักษรซีริลลิก:Петар Карађорђевић;5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523) พระราชสมภพที่เมืองชิคาโก,รัฐอิลลินอยส์,ประเทศสหรัฐอเมริกา พระองค์เป็นพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าฟ้าชายอเล็กซานเดอร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวียกับเจ้าหญิงมาเรีย เดอ กลอเรีย ดัสเชสแห่งซาโกรบ อดีตพระวรชายา เจ้าชายปีเตอร์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระบิดาอุปถัมถ์พระองค์คือ เจ้าชายอเล็กซานเดอร์แห่งยูโกสลาเวีย(ประสูติ พ.ศ. 2456)พระโอรสในเจ้าชายพอลแห่งยูโกสลาเวียผู้สำเร็จราชการ เจ้าชายปีเตอร์ทรงพำนักในชิคาโก จนกระทั่งจบปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายปีเตอร์ รัชทายาทแห่งเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลีย

้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลีย ทรงเป็นพระโอรสพระองค์เดียวใน เจ้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งโอสตา และ เจ้าหญิงโคลด์ ดัชเชสแห่งออสตา พระองค์สมรสกับ เจ้าหญิงโอลกา ดัชเชสแห่งอาพูเลีย (เดิม เจ้าหญิงโอลกาแห่งกรีซ) มีพระบุตร 3 พระอง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน

้าชายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน (رضا پهلوی, ปัจจุบันคือ นายไซรัส เรซา ปาห์ลาวี, พระราชสมภพ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1960) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของอิหร่านราชวงศ์ปาห์ลาวี พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี พระองค์ได้เสด็จลี้ภัยมายังสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1979 หลังการเกิดปฏิวัติอิสลาม และประทับอยู่ที่นั่นตลอดม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย

้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายเลกาที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ

้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ (Παύλος ντε Γκρέτσια; ประสูติ 20 พฤษภาคม 1967) เป็นมกุฎราชกุมารแห่งกรีซ ตั้งแต่ปี 1964 จนถึงการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี 1973 พระองค์เป็นพระโอรสองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซและสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ พระองค์เสกสมรสกับเจ้าหญิงมารี แชนทัล มีพระโอรสธิดาด้วยกัน 5 พระองค์ได้แก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพรหมาภิพงษธาดา

้าพรหมาภิพงษธาดา (250px) เจ้านครลำปางองค์ที่ 10 ในราชวงศ์ทิพย์จักร ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2416 ถึงปี พ.ศ. 2435 (แต่ในบางตำราว่าถึงปี พ.ศ. 2429).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าพรหมาภิพงษธาดา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)

้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) หรือ เสด็จเจ้าย่ำขะหม่อมยุติธรรมธร ดำรงพระยศเดิมเป็นที่ เจ้าราชดนัยแห่งนครจำปาศักดิ์ (พ.ศ. 2440 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2489) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 12 และผู้ว่าราชการเมืองจำปาศักดิ์ในสมัยที่ลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรั่ง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน)

รองอำมาตย์ตรี เจ้าราชบุตร (น้อยหมอกฟ้า ณ น่าน) เป็นราชโอรสองค์ที่ 8 ในเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่าน กับแม่เจ้าศรีโสภา ณ น่าน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน (พ.ศ. 2483 -) เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน เป็นบุตรคนโตในเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน กับท่านหญิงจิตรจง ณ ลำพูน มีศักดิ์เป็นพระนัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย นอกจากหน้าที่ในการสืบราชสกุลแล้ว เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน ยังเป็นผู้ดูแลคุ้มหลวงของเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวาสนา ภู่วุฒิกุล

้าวาสนา ภู่วุฒิกุล (สกุลเดิม: ณ น่าน) เป็นธิดาในเจ้าโคมทอง ณ น่าน และเป็นผู้ครอบครองคุ้มเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) ร่วมกับเจ้าสมปรารถนา ณ น่าน พี่สาว และสถาพร สุริยา พี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าวาสนา ภู่วุฒิกุล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่

้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง

้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือ สายสกุล ณ ลำปาง เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีบทบาทในสังคม เป็นผู้นำของกลุ่มเจ้านายสายสกุล ณ ลำปาง และเป็นประธานกรรมการมูลนิธิเจ้าพระญาสุลวะลือไชยสงคราม (พ่อเจ้าทิพย์ช้าง).

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าศรีรัตน์ ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสมปรารถนา ณ น่าน

้าสมปรารถนา ณ น่าน เป็นธิดาในเจ้าโคมทอง ณ น่าน โดยเธอเป็นผู้สืบสกุลเจ้าผู้ครองนครน่านสืบต่อมารดา และเป็นผู้ครอบครองคุ้มเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) ร่วมกับเจ้าวาสนา ภู่วุฒิกุล น้องสาว และสถาพร สุริยา สามี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าสมปรารถนา ณ น่าน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุริวงศ์ สว่าง

้าสุลิวงศ์ สว่าง (ເຈົ້າສຸລິວົງ ສະຫວ່າງ) (ประสูติ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) เป็นพระราชนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา เจ้ามหาชีวิตองค์สุดท้ายแห่งพระราชอาณาจักรลาว ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์ลาว ปัจจุบันประทับในฐานะผู้ลี้ภัย ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่ง.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าสุริวงศ์ สว่าง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย

้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย หรือในทางนิตินัย เจ้าหญิงมาร์กาเรตา ผู้พิทักษ์พระราชบัลลังก์แห่งโรมาเนีย (Margareta, Principesă a României, Margareta a României, Custodele Coroanei române, fostă Principesă de Hohenzollern) อดีตเจ้าหญิงแห่งโฮเฮนโซลเลิร์น (26 มีนาคม พ.ศ. 2492) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียกับสมเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนีย พระอัครมเหสี พระองค์ทรงอยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ พระราชบิดาของพระองค์ทรงแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระรัชทายาทอย่างเป็นทางการในปี..

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าหญิงมาร์กาเรตาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน

้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน (พระนามเต็ม: เจ้าหญิงเรกีนา เฮเลเนอ เอลีซาเบท มาร์กาเรเทอแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน; Regina Helene Elizabeth Margarete of Habsburg-Lorraine; 6 มกราคม พ.ศ. 2468 — 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) ทรงเป็นสมาชิกราชวงศ์เวททิน และเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งออสเตรีย ฮังการี และโบฮีเมียแต่เพียงในนาม พระองค์เป็นพระธิดาพระองค์เล็กสุดในเจ้าชายเกออร์ก เจ้าชายแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน และเคาน์เตส คลารา มาเรียแห่งคอร์ฟ ชมิสซิง-เคอร์เซมบรอค พระองค์เป็นพระองค์เดียวที่มีบุตร เจ้าชายอันโทน อูริชพระเชษฐาของพระองค์ถูกปลงพระชนม์เมื่อพระชนมายุ 20 พรรษาคราวสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่วนเจ้าชายฟรีดริช อัลเฟรดทรงบวชเป็นนักพรตคณะคาร์ทูเซียน ส่วนเจ้าหญิงมารี เอลิซาเบธ พระขนิษฐาพระองค์เดียวของพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุเพียง 3 พรรษา เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก ซึ่งเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา ณ โบสถ์กอร์เดลีแยร์ ประเทศฝรั่งเศส และได้รับประทานพระพรจากสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 หลังจากการอภิเษกสมรส พระองค์ทรงรับพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารีแห่งออสเตรีย นับตั้งแต่วันอภิเษกสมรส ทั้งสองพระองค์ทรงประทับอยู่ที่วิลล่าออสเตรีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ไกเซอร์วิลล่า (Kaiservilla) ซึ่งคำว่า Kaiser ในภาษาเยอรมัน แปลว่า จักรพรรดิ ณ ทะเลสาบสตานเบิร์ก บาวาเรีย ประเทศเยอรมนี เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พระองค์ทรงเข้ารับการรักษาพระอาการสมองที่โรงพยาบาลเมื่องแนนซี ประเทศฝรั่งเศส ทำให้หลายคนสงสัยว่าพระองค์อาจความจำเสื่อม อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 พระองค์ก็ยังจำทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นพระราชมารดา พระเชษฐา หรือแม้แต่พระบิดา เป็นต้น ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ สิริพระชนมายุ 85 พรรษ.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าหญิงเรกีนาแห่งซัคเซิน-ไมนิงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนีย

้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนีย (ภาษาโรมาเนีย: Principesa Elena a României fostă Principesă de Hohenzollern-Sigmaringen) (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493) เป็นพระราชธิดาองค์ที่สองใน สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย อดีตพระมหากษัตริย์แห่งโรมาเนีย พระองค์ประสูติที่เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และในวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 พระองค์อภิเษกสมรสกับ โรบิน เม็ดฟอร์ธ-มิลส์ พิธีได้จัดขึ้นที่เมือง เดอแรม ทั้งคู่มีบุตร 2 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าหญิงเอเลนาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าธัญวงศ์ สว่าง

้าธัญวงศ์ สว่าง (ເຈົ້າທັນວົງ ສະຫວ່າງ) (ประสูติ 17 เมษายน พ.ศ. 2507) เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ลาวที่ยังมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน หลักจากการล้มล้างราชอาณาจักรลาว พระองค์ประสูติที่ พระราชวังหลวงพระบาง ราชอาณาจักรลาว เป็นพระราชโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้าชายวงศ์สว่าง องค์มกุฎราชกุมารกับสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงมณีไลย องค์มกุฎราชกุมารี.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าธัญวงศ์ สว่าง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าโคมทอง ณ น่าน

้าโคมทอง ณ น่าน (ไม่มีข้อมูล — พ.ศ. 2542) เป็นธิดาในเจ้าราชบุตร (หมอกฟ้า ณ น่าน) ผู้สืบสกุลเจ้าผู้ครองนครน่าน และเป็นภรรยาของเจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเจ้าโคมทอง ณ น่าน · ดูเพิ่มเติม »

เด่น โต๊ะมีนา

น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.

ใหม่!!: รัชทายาทที่ได้รับสมมุติและเด่น โต๊ะมีนา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Pretenderผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »