โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

ดัชนี แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

136 ความสัมพันธ์: บลิทซ์ครีกบอลข่านบอลเชวิกชาวสลาฟบูคาเรสต์ฟรีดริช เพาลุสพ.ศ. 2485พลพรรคยูโกสลาเวียกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำการบุกครองนอร์ม็องดีการบุกครองโปแลนด์การบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตรการก่อการกำเริบชาติสโลวาเกียการก่อการกำเริบวอร์ซอการรบปะทะการรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซการล้อมเลนินกราดการปฏิวัติโลกการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919การประหารชีวิตอย่างรวบรัดกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอกุสตาฟ ยานีกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์นกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายอักษะมหาสงครามของผู้รักชาติ (คำ)มินสค์มณฑลทหารบกยุทธการที่มอสโกยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่คูสค์ยุโรปกลางยุโรปตะวันออกยุโรปใต้ยุโรปเหนือระบอบนาซีรัฐบอลติกรัฐเอกราชโครเอเชียราชอาณาจักรบัลแกเรียราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)ราชอาณาจักรโรมาเนียลวีฟลัทธิคอมมิวนิสต์วอลโกกราดวัลเทอร์ โมเดิลวาซีลี ชุยคอฟวิลเฮล์ม ลิสท์...วิลเฮล์ม ไคเทิลสกอชท์เอิร์ธสหภาพโซเวียตสหรัฐสหราชอาณาจักรสังคมนิยมประเทศเดียวสันนิบาตชาติสาธารณรัฐสโลวักที่ 1สงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามกลางเมืองสเปนสงครามฤดูหนาวสงครามตัวแทนสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์อภิมหาอำนาจอันชลุสส์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฮอโลคอสต์จักรวรรดิเยอรมันทรานซิลเวเนียทวีปยุโรปทะเลอะซอฟทาลลินน์ทุนนิยมทุ่นระเบิดที-34คริสต์มาสอีฟคลีเมนต์ โวโรชีลอฟคอนสตันติน โรคอสซอฟสกีคอเคซัสคาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮมคีริลล์ เมเรตสคอฟค่ายมรณะตราสารยอมจำนนของเยอรมนีซาเรมาปฏิบัติการบากราติออนปฏิบัติการพายุฤดูหนาวปฏิบัติการยูเรนัสปฏิบัติการซิทาเดลประเทศฟินแลนด์ประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสโลวาเกียประเทศออสเตรียประเทศฮังการีประเทศนอร์เวย์ประเทศโครเอเชียประเทศโปแลนด์ประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเยอรมนีตะวันออกประเทศเอสโตเนียประเทศเดนมาร์กปืนใหญ่ปืนใหญ่อัตตาจรนาซีเยอรมนีนีโคไล วาตูตินแฟรงก์เฟิร์ตแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์แม่น้ำวอลกาแม่น้ำดอนแม่น้ำดานูบแม่น้ำนีเปอร์แม่น้ำโอเดอร์แม่น้ำเอ็ลเบอแอริช ฟอน มันชไตน์แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวซีกฟรีดโบริส ชาปอชนีคอฟโพกรมโจเซฟ สตาลินโดเนตสค์ไมน์คัมพฟ์ไฮนซ์ กูเดเรียนไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ไทเกอร์ 1ไซบีเรียเบอร์ลินเฟดอร์ ฟอน บอคเกออร์กี จูคอฟเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซีเวียนนาเอฟา เบราน์เฮลมุท ไวด์ลิงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ขยายดัชนี (86 มากกว่า) »

บลิทซ์ครีก

วามเสียหายหลังจากบลิทซ์ครีก บลิทซ์ครีก (Blitzkrieg) การโจมตีสายฟ้าแลบ เป็นคำแผลงเป็นอังกฤษ เป็นปฏิบัติการร่วมทางยุทธวิธีของกองทัพนาซีเยอรมันนีในสงครามโลกครั้งที่สอง โดยรวมแสนยานุภาพทั้งทางภาคพื้นดินและในอากาศเข้าด้วยกัน คำว่า บลิทซ์ครีก เป็นอธิบายการโจมตีอย่างรวดเร็ว ประกอบด้วยการทิ้งระเบิดโดยเครื่องบินรบก่อนที่จะใช้ยานเกราะบุกเข้าโจมตีตามอย่างรวดเร็ว และสร้างความประหลาดใจให้กับฝ่ายข้าศึก ทำให้ฝ่ายตั้งรับไม่มีเวลาที่จะเตรียมการป้องกันใด ๆ เลย แนวคิดบลิทซ์ครีกนั้นได้รับการพัฒนาโดยชาติต่าง ๆ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และถูกนำออกมาใช้หลายปีหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยเยอรมนีมากที่สุด เพื่อเป็นการป้องกันการทำศึกยืดเยื้อ บลิทซ์ครีกที่โดดเด่นในประวัติศาสตร์การทหาร คือ ช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง นำโดยพลเอกไฮนซ์ กูเดเรียน บลิทซ์ครีกของฝ่ายเยอรมนีนั้นมีประสิทธิภาพมากในแนวรบด้านตะวันตกและในแนวรบด้านตะวันออกช่วงแรก ๆ ทำให้กองทัพส่วนใหญ่ไม่ทันระวังตัว และขาดการป้องกันซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการรบของฝ่ายเยอรมนี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และบลิทซ์ครีก · ดูเพิ่มเติม »

บอลข่าน

แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม. และมีประชากรรวมกันราว 53 ล้านคน ชื่อนี้มาจากชื่อของเทือกเขาบอลข่านที่พาดผ่านใจกลางประเทศบัลแกเรียไปยังด้านตะวันออกของสาธารณรัฐเซอร์เบี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และบอลข่าน · ดูเพิ่มเติม »

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสลาฟ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และชาวสลาฟ · ดูเพิ่มเติม »

บูคาเรสต์

ูคาเรสต์ (Bucharest; București บูคูเรชติ) เป็นเมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศโรมาเนีย เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของโรมาเนีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศที่ และตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแดมโบวิตา เมืองบูคาเรสต์มีระบุไว้ในเอกสารมาตั้งแต่ปี 1459 จากนั้นก็หายไปอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง จนกลางเป็นเมืองหลวงของโรมาเนียในปี 1862 เป็นเมืองมีจุดแข็งในเรื่องเป็นศูนย์กลางของสื่อมวลชนโรมาเนีย วัฒนธรรมและศิลปะ มีสถาปัตยกรรมหลายรูปแบบ ที่รวม สถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์ (นีโอคลาสสิก), สถาปัตยกรรมหลังสงคราม (เบาเฮาส์และอาร์ตเดโค), ยุคคอมมิวนิสต์และยุคใหม่ ในช่วงระหว่าง 2 สงครามโลก ความงามด้านสถาปัตยกรรมของเมืองทำให้เมืองมีชื่อเล่นว่า "ปารีสน้อยแห่งตะวันออก" (Micul Paris) และถึงแม้อาคารหลายหลังและเขตในศูนย์กลางประวัติศาสตร์จะถูกทำลายในช่วงสงครามหรือแผ่นดินไหว รวมถึงโครงการปรับปรุงโครงสร้างเมืองของนิโคไล เชาเชสกู แต่ก็มีอาคารสวยงามหลงเหลืออยู่ ในปีหลัง ๆ เมืองมีความรุ่งเรืองด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม จากข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และบูคาเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช เพาลุส

ฟรีดริช วิลเฮล์ม แอร์นสท์ เพาลุส (Friedrich Wilhelm Ernst Paulus; 23 กันยายน ค.ศ. 1890 - 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมันตั้งแต..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และฟรีดริช เพาลุส · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พลพรรคยูโกสลาเวีย

ลพรรคยูโกสลาเวีย หรือ กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติยูโกสลาเวีย เป็นขบวนการนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ในการต่อต้านฝ่ายอักษะ (โดยเฉพาะเยอรมนี) ในเขตยึดครองยูโกสลาเวียในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ขบวนการเป็นขบวนการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในยุโรปในการต่อต้านฝ่ายอักษะของขบวนการต่อต้านช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มักจะเปรียบเทียบกับขบวนการต่อต้านโปแลนด์ แม้ว่าภายหลังจะเป็นขบวนการอิสระที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์เป็นส่วนใหญ่ การต่อต้านยูโกสลาเวียภายใต้การนำโดยพรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้บัญชาการคือจอมพลยอซีป บรอซ ตีโต.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และพลพรรคยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ

一 ประเทศแผ่นดินต่ำต่างๆ กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (Low Countries) หมายถึง ภูมิภาคหนึ่งที่อยู่ทางด้านบนของทวีปยุโรป ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของยุโรป สาเหตุที่เรียกว่าประเทศแผ่นดินต่ำนี้ เนื่องจากประเทศเหล่านี้อยู่ในพื่นที่ที่ลาดต่ำมาก คือ ต่ำกว่าน้ำทะเล ทำให้เกิดอุทกภัยได้ง่าย จึงทำให้ประเทศเหล่านี้มีการจัดการกับอุทกภัยที่ดีที่สุด ของโลกก็ว่าได้ พื้นที่ของประเทศที่อยู่ในภูมิภาคประเทศแผ่นดินต่ำ มีดังนี้ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก และ ฝรั่งเศส(ทางตอนเหนือ).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองนอร์ม็องดี

การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการบุกครองนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร

การรุกรานเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร หรือในชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการฮัสกี (Operation Husky) เป็นหนึ่งในปฏิบัติการหลักในสงครามโลกครั้งที่สองของฝ่ายสัมพันธมิตร เพื่อยึดครองเกาะซิซิลีจากฝ่ายอักษะ การรุกครั้งนี้เป็นการปฏิบัติการระดับใหญ่โดยใช้ยานลำเลียงพลสะเทินน้ำสะเทินบกและพลร่มจำนวนมาก และการรบภาคพื้นดินเป็นเวลานานถึง 6 สัปดาห์ การรบครั้งนี้ยังนับได้ว่าเป็นเปิดฉากของการทัพอิตาลีอีกด้วย ปฏิบัติการฮัสกี้เริ่มต้นขึ้นในคืนระหว่างวันที่ 9 และวันที่ 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบชาติสโลวาเกีย

การก่อกบฏชาติสโลวาเกีย (Slovenské národné povstanie, abbreviated SNP) หรือการก่อกำเริบปี 1944 เป็นการเคลื่อนไหวของการก่อกบฏด้วยอาวุธโดยกลุ่มต่อต้านสโลวักในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สโลวาเกีย.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการก่อการกำเริบชาติสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบวอร์ซอ

การก่อการกำเริบวอร์ซอ (powstanie warszawskie) เป็นเหตุการณ์ครั้งสำคัญในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อได้เกิดเหตุการณ์การจลาจลในกรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ปี 1944 ซึ่งประเทศโปแลนด์อยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมนี การก่อจลาจลนั้นมาจากกองกำลังใต้ดินของกองทัพบ้านเกิดของประเทศโปแลนด์ในกรุงวอร์ซอได้ก่อจลาจลเพื่อปลดปล่อยประเทศโปแลนด์ให้เป็นอิสระจากนาซีเยอรมันให้ได้ก่อนสหภาพโซเวียตซึ่งกำลังรุกจากตะวันออก เนื่องจากเป็นวัตถุประสงค์ของสหราชอาณาจักรเพราะได้เล็งเห็นว่าสหภาพโซเวียตได้สนับสนุนคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยโปแลนด์และหมายจะยึดครองโปแลนด์ให้กลายเป็นรัฐบริวารคอมมิวนิสต์ซึ่งได้พยายามขัดขวางไม่ให้ทำสำเร็จจึงได้สนับสนุนขบวนการใต้ดินของโปแลนด์ในการก่อจลาจลโดยได้ให้การสนับสนุนทางอากาศของตน โปลแลนด์ แอฟริกาใต้ และสหรัฐอเมริกา ส่วนสหภาพโซเวียตได้แสดงเจตจำนงทำการสนับสนุนกองทัพบ้านเกิดของโปแลนด์ในการก่อจลาจลจึงได้ให้การสนับสนุนกองทัพอากาศเช่น การต่อสู้ได้ถูกดำเนินเป็นเวลา 2 เดือน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ปี 1944 กองทัพเยอรมันได้ปราบปรามการจลาจลอย่างราบคาบ กองกำลังใต้ดินโปแลนด์ได้ยอมจำนน และกรุงวอร์ซอถูกทำลายเสียหายยับเยินโดยกองทัพเยอรมัน สาเหตุที่การจลาจลล้มเหลวเพราะสหภาพโซเวียตไม่ได้สนับสนุนอย่างจริงจังแต่อย่างใดเลย และยังปฏิเสธไม่ให้กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาลงจอดในลานบินแดนโซเวียตเพื่อสนันสนุนโปแลน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการก่อการกำเริบวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

การรบปะทะ

การรบปะทะ (meeting engagement) เป็นศัพท์ที่ใช้ในการสงคราม หมายถึง การปฏิบัติการรบซึ่งเกิดขึ้นเมื่อกำลังเคลื่อนที่ ซึ่งไม่ได้จัดวางกำลังสำหรับการยุทธ์อย่างสมบูรณ์ ติดพันในการรบกับข้าศึกที่เวลาและสถานที่ซึ่งมิได้คาดคิด การเผชิญหน้าดังกล่าวโดยปกติเกิดโดยบังเอิญในปฏิบัติการหน่วยขนาดเล็ก เมื่อกำลังเคลื่อนที่สองกำลังปะทะกัน การติดพันอาจมีหน่วยขนาดใหญ่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยได้เมื่อปฏิบัติการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจหรือการลาดตระเวนไม่มีประสิทธิภาพ การรบปะทะยังเกิดขึ้นได้เมื่อกองกำลังฝ่ายตรงข้ามรู้ถึงการปรากฏทั่วไป แต่ไม่ทราบที่ตั้งแน่ชัดของอีกฝ่าย และทั้งสองตัดสินใจเข้าตีทันที เมื่อเกิดการปะทะ ผู้บังคับบัญชาจะสั่งการอย่างรวดเร็วเพื่อชิงความได้เปรียบ ความเร็วของการปฏิบัติและการเคลื่อนที่ ประกอบกับทั้งการยิงเล็งตรงและการยิงเล็งจำลอง มีความสำคัญ ในการคงความต่อเนื่อง ส่วนผู้นำจะต้องเลี่ยงผ่านหรือสู้ผ่านการต่อต้านที่เบาบาง อิสระในการดำเนินกลยุทธ์เป็นประโยชน์เสมอ อย่างไรก็ดี ผู้บังคับบัญชาอาจเลือกสถาปนาการตั้งรับเร่งด่วนหากเห็นว่ากำลังข้าศึกมีขนาดใหญ่กว่าหรือภูมิประเทศเอื้อประโยชน์อย่างสำคัญ โดยทั่วไป ฝ่ายที่ได้และรักษาการริเริ่มในการรบปะทะจะเป็นฝ่ายชน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการรบปะทะ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ

การรุกลูวอฟ-ซานโดเมียร์ซ (Львівсько-Сандомирська операція, Львовско-Сандомирская стратегическая наступательная операция) เป็นแผนการหลักของกองทัพแดงเพื่อบีบให้กองทัพเยอรมันถอยออกจาก ยูเครน และโปแลนด์ตะวันออก การรบดำเนินไปในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 1944 กองทัพแดงประสบความสำเร็จภายในหนึ่งเดือนของการโจมตี หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการรุกลวอฟ–ซานโดเมียร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมเลนินกราด

การล้อมเลนินกราด (блокада Ленинграда blokada Leningrada) เป็นการล้อมยืดเยื้อซึ่งกลุ่มกองทัพเหนือของเยอรมันกระทำต่อเลนินกราด ซึ่งก่อนหน้านี้และปัจจุบันคือ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง การล้อมเริ่มต้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน 1941 เมื่อถนนเส้นสุดท้ายสู่นครถูกตัดขาด แม้ฝ่ายโซเวียตสามารถเปิดฉนวนทางบกแคบ ๆ สู่นครได้เมื่อวันที่ 18 มกราคม 1943 กว่าการล้อมจะยุติก็วันที่ 27 มกราคม 1944 กินเวลา 872 วัน เป็นการล้อมที่ยาวนานและทำลายล้างสูงสุดในประวัติศาสตร์ และอาจเป็นการล้อมที่มียอดผู้เสียชีวิตสูงสุดด้ว.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการล้อมเลนินกราด · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติโลก

การปฏิวัติโลก (World revolution) คือแนวคิดตามลัทธิมากซ์ของฝ่ายซ้ายจัดในการล้มล้างระบอบทุนนิยมของทุกประเทศด้วยการปฏิวัติอย่างตระหนักรู้ (conscious) โดยกลุ่มชนชั้นแรงงานจัดตั้ง ซึ่งการปฏิวัติเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นโดยพร้อมเพรียงกัน แต่ให้ก่อการขึ้นเมื่อเวลาและสถานที่ (รัฐหรือดินแดน) ใดก็ตามเข้าเงื่อนไขที่จะทำให้ฝ่ายปฏิวัติ (พรรคปฏิวัติ) สามารถยึดสิทธิ์ถือครองและการปกครองจากชนชั้นกระฎุมพีได้สำเร็จ และสามารถสถาปนารัฐแรงงานซึ่งยึดหลักการที่สังคมร่วมเป็นเจ้าของ (social ownership) ในปัจจัยการผลิต (means of production) ส่วนกรณีของลัทธิทรอตสกี ยังพิจารณาเงื่อนไขที่จำเป็นอื่น ๆ ในระดับสากล เช่น การต่อสู้ระหว่างชนชั้น และการก่อการในระดับโลก ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญและปัจจัยหลักที่อธิบายว่าทำไมแนวทางสังคมนิยมประเทศเดียวถึงประสบความล้มเหลว เป้าหมายสูงสุดของการปฏิวัติสังคมนิยมในระดับสากลคือเพื่อให้เกิด โลกสังคมนิยม หรือ ระบอบสังคมนิยมทั่วโลก (world socialism) และภายหลังพัฒนาไปถึงขั้น คอมมิวนิสต์ไร้พรมแดน (stateless communism; ระบอบคอมมิวนิสต์เดียวที่ปกครองโลก).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการปฏิวัติโลก · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919

การประชุมสันติภาพปารี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 · ดูเพิ่มเติม »

การประหารชีวิตอย่างรวบรัด

วโปแลนด์ที่ถูกประหารชีวิตอย่างรวบรัดโดยทหารเยอรมนี การประหารชีวิตอย่างรวบรัด (Summary execution)คือการประหารชีวิตในพื้นที่หรือสถานการณ์ที่ไม่ได้ตัดสินด้วยกระบวนการยุติธรรมแบบปกติ โดยตำรวจ ทหารหรือกองทัพ ซึ่งสามารถพบได้บ่อยในช่วงสงครามหรือสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และการประหารชีวิตอย่างรวบรัด · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ (Günther von Kluge) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คลูเกอได้ถือคำสั่งแนวรบตะวันตกและแนวรบตะวันออกและได้รับเหรียญอัศวินกางเขนเหล็กใบโอ๊กและดาบ แม้ว่าคลูเกอไม่ได้มีส่วนรู้ร่วมคิดในแผนลับ 20 กรกฎาคม เขาได้ฆ่าตัวตายด้วยการกินยาพิษไซยาไนด์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1944 หลังจากถูกเรียกให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินสำหรับการประชุมกับฮิตเลอร์ในผลพวงการรัฐประหารที่ล้มเหลว จอมพล วัลเทอร์ โมเดิล ได้ทำหน้าที่ต่อจาก.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ ยานี

วิเตซ กุสตาฟ ยานี (Gusztáv Jány) เป็นผู้บัญชาการฮังการีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บังคับบัญชากองทัพฮังการีที่สองในยุทธการที่สตาลินกราดต่อมาเขาถูกตัตสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามและประหารชีวิต.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และกุสตาฟ ยานี · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น

กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น (Anti-Comintern Pact) คือ สนธิสัญญาเกิดจากความร่วมมือระหว่างนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1936 และมีเป้าหมายเพื่อที่จะต่อต้านองค์การคอมมิวนิสต์สากล (Comintern) โดยทั่วไป แต่หมายถึง สหภาพโซเวียต เป็นพิเศษ "เป็นที่รู้กันดีว่าเป้าหมายขององค์การคอมมิวนิสต์สากล หรือที่เป็นที่รู้จักกันในนามโคมินเทิร์น นั้นคือการทำให้รัฐต่างๆ แตกออกจากกันและหลังจากนั้นก็จะใช้กำลังเข้าปราบปรามเพื่อให้รัฐทั้งหลายบนโลกนี้ตกอยู่ใต้อำนาจบังคับของคอมมิวนิสต์ ด้วยความมั่นใจว่าการเข้าแทรกแซงกิจการภายในของรัฐโดยองค์การคอมมิวนิสต์สากลนั้นมิได้เพียงแต่เข้าไปคุกคามต่อสันติภาพภายในประเทศและความสงบสุขของสังคมแล้ว แต่ยังเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงเป็นความปรารถนาที่จะทำให้เกิดความร่วมมือกันป้องกันตัวจากกิจกรรมทั้งหลายของพวกคอมมิวนิสต์".

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และกติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ

นื้อหาของข้อตกลงลับ (เป็นภาษาเยอรมัน) กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ (Molotov–Ribbentrop Pact) เป็นสนธิสัญญาที่ได้ชื่อตามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียต วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของนาซีเยอรมนี โยอาคิม ฟอน ริบเบนทรอพ โดยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนีกับสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (German–Soviet Non-aggression Pact) และได้รับการลงนามในกรุงมอสโก เมื่อช่วงเช้าของวันที่ 24 สิงหาคม 1939 (แต่ในกติกาสัญญาระบุเป็นวันที่ 23 สิงหาคม)Blank Pages by G.C.Malcher ISBN 1-897984-00-6 Page 7 ความตกลงดังล่าวเป็นการประกาศวางตัวเป็นกลางหากภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถูกโจมตีโดยประเทศที่สาม ภาคีผู้ลงนามทั้งสองสัญญาจะไม่เข้าร่วมกลุ่มกับอำนาจอื่นซึ่ง "พุ่งเป้าหมายไปยังคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยตรงหรือโดยอ้อม" กติกาสัญญาดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึง กติกาสัญญานาซี–โซเวียต (Nazi–Soviet Pact), กติกาสัญญาฮิตเลอร์–สตาลิน, กติกาสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างเยอรมนี–โซเวียต หรือบางครั้งก็เรียกว่า พันธมิตรนาซี–โซเวียตBenjamin B. Fischer, "", Studies in Intelligences, Winter 1999–2000, last accessed on 10 December 2005 กติกาสัญญามีผลจนถึงวันที่ 22 มิถุนายน 1941 เมื่อเยอรมนีเริ่มปฏิบัติการบาร์บารอสซา นอกเหนือจากการกำหนดเงื่อนไขในการไม่รุกรานระหว่างกันแล้ว กติกาสัญญาดังกล่าวยังรวมไปถึงข้อตกลงลับ ซึ่งแบ่งยุโรปตะวันออกให้อยู่ภายใต้เขตอิทธิพลของเยอรมนีและโซเวียต เพื่อให้มีการจัดระเบียบทางดินแดนและทางการเมืองในพื้นที่ดังกล่าวใหม่ หลังจากนั้น เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ร่วมกันบุกครองโปแลนด์ ตามด้วยการผนวกเอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนียและดินแดนทางตอนเหนือของโรมาเนียเข้าไปอยู่ในเขตอิทธิพลของสหภาพโซเวียต รวมไปถึงการผนวกดินแดนทางตะวันออกของฟินแลนด์ หลังจากความพยายามรุกรานของสหภาพโซเวียตในสงครามฤดูหนาว ภาคผนวกลับดังกล่าวถูกมองว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ และเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดสงครามแห่งการรุกราน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และฝ่ายมหาอำนาจกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และฝ่ายอักษะ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสงครามของผู้รักชาติ (คำ)

ปรษณียากรที่ระลึกจากยุทธการที่สตาลินกราดของสหภาพโซเวียตในปี 1963 พร้อมข้อความว่า ''Великая Отечественная война 1941-1945гг.'' ไปรษณียากรที่ระลึกจากยุทธการที่คูสค์‎ของสหภาพโซเวียตในปี 1963 พร้อมข้อความว่า ''Великая Отечественная война 1941-1945гг.'' มหาสงครามของผู้รักชาติ (Вели́кая Оте́чественная война́, Velikaya Otechestvennaya voyna) เป็นคำที่ใช้ในรัสเซีย และ กลุ่มประเทศในอดีตสหภาพโซเวียต (รวมถึงรัฐบอลติก, จอร์เจีย, อาเซอร์ไบจัน และ ยูเครน) โดยเรียกถึงความขัดแย้งที่แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน 1941 ถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 1945 ระหว่าง สหภาพโซเวียต กับ นาซีเยอรมนี และ พันธมิตรอักษะ บางครั้งอาจจะรวมถึงวันที่ 11 พฤษภาคม 1945 ซึ่งเป็นการสิ้นสุดการรุกปราก มหาสงครามของผู้รักชาติมีการเฉลิมฉลองทุกวันที่ 9 พฤษภาคม ของทุกปี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และมหาสงครามของผู้รักชาติ (คำ) · ดูเพิ่มเติม »

มินสค์

ริเวณจัตุรัสแห่งชัยชนะในกรุงมินสค์ มินสค์ (Minsk; Мінск; Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสค์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสค์และเขตมินสค์อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2006 กรุงมินสค์มีประชากรประมาณ 1,780,000 คน และมีนายมีคาอิล ปัฟลอฟ (Mikhail Pavlov) เป็นนายกเทศมนตรี หลักฐานยุคแรกเริ่มสุดที่กล่าวถึงมินสค์นั้นย้อนไปถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 (ค.ศ. 1067) ในปี ค.ศ. 1242 มินสค์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของราชรัฐลิทัวเนีย (Grand Duchy of Lithuania) และได้รับอภิสิทธิ์เมืองในปี ค.ศ. 1499 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1569 เมืองนี้ได้เป็นเมืองหลวงของมินสค์วอยวอดชิป (Minsk Voivodship) ในเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ต่อมาถูกผนวกเข้ากับรัสเซียในปี ค.ศ. 1793 ซึ่งเป็นผลจากการแบ่งแยกโปแลนด์ครั้งที่ 2 ระหว่างปี ค.ศ. 1919-1991 มินสค์เคยมีฐานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian SSR) ก่อนสหภาพโซเวียตล่มสล.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และมินสค์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลทหารบก

มณฑลทหารบก เป็นการจัดแบ่งเขตการปกครองทางทหารบก เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติกิจการทางทหาร เช่น การเรียกพล การระดมพล การเกณฑ์ทหาร เป็นต้น แต่เดิมมีการจัดแบ่งเขตการปกครองออกเป็น จังหวัดทหารบก ขึ้นตรงต่อมณฑลทหารบกด้วย แต่ต่อมาในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และมณฑลทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่มอสโก

ทธการมอสโก เป็นชื่อที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงการสู้รบที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่ 600 กิโลเมตรบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุทธการที่มอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คูสค์

ทธการที่คูสค์ (Курская битва, Битва на Курской дуге) เกิดขึ้นเมื่อกำลังเยอรมนีและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บริเวณย่านชานนครคูสค์ (Kursk) ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ 450 กิโลเมตร ในสหภาพโซเวียต ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุทธการที่คูสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปกลาง

รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902 ยุโรปกลาง (Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง” ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม” ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20 “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน” ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปใต้

รปใต้ ยุโรปใต้เป็นภูมิภาคหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งมีดินแดนติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอยู่ในคาบสมุทรใหญ่ 3 คาบสมุทรคือ คาบสมุทรไอบีเรีย คาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรบอลข่าน อยู่ในละติจูดที่ 35 องศาเหนือถึง 47 องศาเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 1,316,290 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเชื้อสายเมดิเตอร์เรเนียน ประกอบไปด้วย 16 ประเทศดังนี้.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุโรปใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปเหนือ

ยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปเหนือ ประกอบไปด้วย ดินแดนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์ อยู่ประมาณละติจูดที่ 55 องศาเหนือ - 71 องศาเหนือ ประกอบไปด้วยประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ซึ่งได้แก่ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไอซ์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์ดิก ในปีพ.ศ. 2541 มีประชากรทั้งหมด 35,086,982 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,502,7863 ตารางกิโลเมตร สำหรับภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาติวโตนิก ได้แก่ภาษาของพวกสแกนดิเนเวีย (ยุโรปเหนืออาจหมายถึงหมู่เกาะอังกฤษ และบางประเทศที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้)เ่รรร หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบนาซี

นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G. 1995.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และระบอบนาซี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบอลติก

รัฐบอลติก (Baltic states) เป็นชื่อรวมเรียกสามประเทศทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลบอลติก คือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย ในระหว่างปี 1918-1920 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศเหล่านี้ได้รับเอกราชปกครองตนเองแบบสาธารณรัฐระหว่าง..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และรัฐบอลติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเอกราชโครเอเชีย

รัฐเอกราชโครเอเชีย (Nezavisna Država Hrvatska, NDH; Unabhängiger Staat Kroatien; Stato Indipendente di Croazia) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี และอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยรัฐนี้ก่อตั้งขึ่นในวันที่ 10 เมษายน 1941 หลังบุกครองยูโกสลาเวียได้สำเร็จโดยรัฐนี้มีดินแดนคือในประเทศโครเอเชีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เซอร์เบีย และ สโลวีเนียในปัจจุบันโดยในยุคนี้ชาวเซิร์บ, ชาวยิว, ชาวโรมา, ประชาชนที่ต่อต้านฟาสซิสต์, ถูกจับเป็นจำนวนมากและส่งเข้าค่ายกักกันยาเชโนวั.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และรัฐเอกราชโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย

ราชอาณาจักรบัลแกเรีย หรืออาณาจักรซาร์บัลแกเรีย อาณาจักรซาร์บัลแกเรียที่ 3 และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 3 (Царство България, Tsarstvo Balgariya).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และราชอาณาจักรบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946)

ราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–ค.ศ. 1946) (ฮังการี: Magyar Királyság) เป็นราชอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และราชอาณาจักรฮังการี (ค.ศ. 1920–1946) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และราชอาณาจักรโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ลวีฟ

ลวีฟ (Львів L’viv; Lwów; Львов, L'vov; Lemberg; Leopolis) เป็นเมืองทางตะวันตกของประเทศยูเครน เป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางวัฒนธรรมที่สำคัญของยูเครนในปัจจุบัน และเป็นเมืองประวัติศาสตร์ เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมโปแลนด์และยิวที่สำคัญ ซึ่งเมืองมีประชากรส่วนใหญ่เป็นโปแลนด์และยิว อพยพมาหลังสงครามโลกครั้งที่สองและการล้างชาติโดยนาซี (1944–1946) เมืองประวัติศาสตร์ของลวีฟได้รับขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจากยูเนสโก เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และลวีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลโกกราด

มืองวอลโกกราด วอลโกกราด (Волгоград; Volgograd) เป็นเมืองอุตสาหกรรมสำคัญและเมืองหลวงของมณฑลวอลโกกราด ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศรัสเซีย ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำวอลกา เป็นเมืองท่าที่สำคัญบนฝั่งแม่น้ำ ผลิตเคมีภัณฑ์ วัสดุก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์อาหาร และเป็นสถานีไฟฟ้าพลังน้ำที่สำคัญ เมืองมีประชากร 1,021,244 คน (ค.ศ. 2010) เดิมเป็นป้อมของชาวรัสเซียที่สร้างขึ้นใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และวอลโกกราด · ดูเพิ่มเติม »

วัลเทอร์ โมเดิล

อ็อทโท โมริทซ์ วัลเทอร์ โมเดิล (Otto Moritz Walter Model; 24 มกราคม 1891 – 21 เมษายน 1945) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงในการรบป้องกันในช่วงครึ่งหลังของสงคราม ส่วนใหญ่ในแนวรบตะวันออกแต่อยู่ในด้านตะตะวันตก เขาได้ถูกเรียกว่า ผู้บัญชาการยุทธวิธีป้องกันที่ดีที่สุดของจักรวรรด์ไรซ์ที่สาม ในช่วงปลายสงคราม โมเดิลได้ล้มเหลวในป้องกันการบุกเข้าสู่เยอรมนีของกองทัพสัมพันธมิตรในด้านตะวันตกและกองทัพของเขาถูกล้อมอย่างสิ้นเชิงในรูร์ เขาจึงตัดสินใจฆ่าตัวตายเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับนำตัวไปพิจารณาคดีในข้อหาอาชญากรสงครามเมื่อ 21 เมษายน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และวัลเทอร์ โมเดิล · ดูเพิ่มเติม »

วาซีลี ชุยคอฟ

มหาสงครามรักชาติ(ก่อนปี 1943) วาซีลี อีวาโนวิช ชุยคอฟ (Васи́лий Ива́нович Чуйко́в, 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1900 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1982) เป็นพลโทในกองทัพแดงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับเหรียญดาวทองของวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตสองครั้ง (ค.ศ. 1944 และ 1945) และหลังสงครามได้รับเลื่อนยศเป็นจอมพล ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ชุยคอฟมีประวัติการรบในโปแลนด์ ฟินแลนด์ และยังเคยเป็นที่ปรึกษาแก่เจียง ไคเช็กของจีน ใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และวาซีลี ชุยคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ลิสท์

วิลเฮล์ม ลิสท์ (Wilhelm List) เป็นจอมพลชาวเยอรมันและอาชญากรสงครามในสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และวิลเฮล์ม ลิสท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ไคเทิล

วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตำแหน่งของเขาเทียบได้กับรัฐมนตรีกลาโหม หลังสิ้นสุดสงคราม เขาถูกนำตัวเข้ารับการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เขาถือเป็นหนึ่งในสามผู้บัญชาการทหารระดับสูงสุดของเยอรมันที่ถูกนำตัวขึ้นพิจารณาคดี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และวิลเฮล์ม ไคเทิล · ดูเพิ่มเติม »

สกอชท์เอิร์ธ

ระหว่างสงครามอ่าวเปอร์เซีย กองเรือบินสหรัฐบินเหนือทุ่งบ่อน้ำมันในคูเวตเพื่อจุดไฟเผาบ่อน้ำมันระหว่างทางที่ทหารอิรักที่ถอยทัพใน ค.ศ. 1991 Scorched earth เป็นนโยบายทางการทหารหรือยุทธวิธีในการสงครามเพื่อทำลายทุกสิ่งที่อาจเป็นประโยชน์แก่ข้าศึกระหว่างที่ข้าศึกกำลังเดินทัพหรือถอยทัพจากบริเวณใดบริเวณหนึ่งโดยเฉพาะ ความหมายแต่เดิมแล้วหมายถึงการเผาพืชพันธุ์ทางการเกษตรเพื่อตัดแหล่งผลิตอาหารซึ่งคล้ายกับวิธี "Chevauchée" ที่ใช้กันในสมัยกลาง แต่ในสมัยปัจจุบันไม่จำกัดแต่เพียงการทำลายแหล่งผลิตอาหารเท่านั้น แต่รวมทั้งการทำลายที่หลบภัย การคมนาคม การสื่อสารและแหล่งอุตสาหกรรมด้วย วิธีนี้อาจจะทำโดยกองทัพที่อยู่ในดินแดนของข้าศึกหรือจากดินแดนของตนเอง Scorched earth มักจะใช้สับสนกับ “ถางแล้วเผา” (slash and burn) ซึ่งไม่ใช่ยุทธวิธีทางการทหารแต่เป็นวิธีทางการเกษตรกรรม เป็นคำที่มีความหมายคาบเกี่ยว แต่ไม่ใช่วิธีเดียวกันกับการทำลายทรัพยากรของข้าศึก ซึ่งเป็นการทำลายอย่างเจาะจงด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์การเมืองที่ไม่ใช่การทำลายด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์และปฏิบัติการทางทหาร.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสกอชท์เอิร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สังคมนิยมประเทศเดียว

ังคมนิยมประเทศเดียว (อังกฤษ: Socialism in One Country) เป็นทฤษฎีหลักในการดำเนินการนโยบายต่าง ๆ ในสมัยการเตรียมรุกแบบสังคมนิยม (New Socialist Offensive) ภายใต้การปกครองของ โจเซฟ สตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต โดยมุ่งเปลี่ยนสหภาพโซเวียตจากการเป็นประเทศเกษตรกรรมมาเป็นประเทศอุตสาหกรรม สตาลินนั้นได้ขึ้นมามีอำนาจต่อจากเลนิน ซึ่งถึงแก่กรรมในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสังคมนิยมประเทศเดียว · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสันนิบาตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวักที่ 1

รณรัฐสโลวักที่ 1 (Slovenská republika) หรือ รัฐสโลวัก (Slovenský štát) เป็นรัฐบริวารของนาซีเยอรมนีในวันที่ 14 มีนาคม 1939 ถึง 4 เมษายน 1945 มีดินแดนคือในประเทศสโลวาเกียในปัจจุบัน สาธารณรัฐมีพรมแดนติดกับ ราชอาณาจักรฮังการี, นาซีเยอรมนี, รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวีย และโปแลนด์ (เขตยึดครอง General Government) เยอรมนีได้ยอมรับสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 นี้เป็นรัฐเอกราชรวมทั้ง Provisional Government of the Republic of China, โครเอเชีย, เอลซัลวาดอร์, เอสโตเนีย, อิตาลี, ฮังการี, ญี่ปุ่น, ลิทัวเนีย, แมนจูกัว, Mengjiang, โรมาเนีย, สหภาพโซเวียต, สเปน, สวิตเซอร์แลนด์ และนครรัฐวาติกัน ส่วนฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกไม่ยอบรับเป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองสเปน

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสงครามกลางเมืองสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฤดูหนาว

ทหารสกีของฟินแลนด์ในสงครามฤดูหนาว ทิศทางการโจมตีของกองทัพแดงและการวางกำลังหลักของสองฝ่าย สงครามฤดูหนาว (อังกฤษ: Winter War, ฟินแลนด์: talvisota, สวีเดน: vinterkriget, รัสเซีย: Советско-финская война, และอาจรู้จักกันในชื่อ สงครามโซเวียต-ฟินแลนด์ หรือ สงครามรัสเซีย-ฟินแลนด์) เป็นสงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับประเทศฟินแลนด์ เกิดในช่วงต้น ๆ ของสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อฟินแลนด์ปฏิเสธไม่ยอมยกดินแดนบางส่วนและไม่ยอมให้โซเวียตสร้างฐานทัพเรือในดินแดนของตน การโจมตีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) เมื่อทหารในกองทัพแดงราวหนึ่งล้านคนบุกเข้าจู่โจมตามแนวรบหลายจุดบริเวณพรมแดนระหว่างสหภาพโซเวียตกับฟินแลนด์ กองทัพฟินแลนด์บัญชาการโดยจอมพลมานเนอร์ไฮม์ สามารถต่อต้านการโจมตีได้อย่างมีประสิทธิภาพแม้ว่าจะมีกำลังพลน้อยกว่าฝ่ายโซเวียตมาก อย่างไรก็ตาม ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ทหารรัสเซียเข้าไปในฟินแลนด์ได้สำเร็จ หลังใช้ปืนใหญ่ระดมโจมตีแนวป้องกันตามคอคอดคาเรเลียซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของฟินแลนด์รวมทั้งการโจมตีทางอากาศตามเมืองสำคัญต่างๆ สงครามสิ้นสุดลงในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) เมื่อมีการลงนามในสัญญาสันติภาพมอสโก โดยฟินแลนด์ยอมยกดินแดนบางส่วนให้โซเวียตและยอมให้โซเวียตก่อสร้างฐานทัพเรือบนคาบสมุทรฮังโก การรุกรานฟินแลนด์ในครั้งนี้ทำให้สหภาพโซเวียตถูกขับออกจากสันนิบาตชาติ เพราะละเมิดสนธิสัญญาที่จะไม่รุกรานฟินแลน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสงครามฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

สงครามตัวแทน

งครามตัวแทน (proxy war) เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐหรือตัวแสดงที่มิใช่รัฐสองฝ่ายซึ่งต่างฝ่ายต่างมิได้ประจัญบานโดยตรงกับอีกฝ่ายหนึ่ง แม้คำนี้ครอบคลุมการเผชิญหน้าด้วยอาวุธต่าง ๆ แต่บทนิยามแกนกลางของ "สงครามตัวแทน" ตั้งอยู่บนอำนาจสองฝ่ายใช้การต่อสู้ภายนอกเพื่อโจมตีผลประโยชน์หรือการถือครองดินแดนของอีกฝ่าย สงครามตัวแทนมักเกี่ยวข้องกับทั้งสองประเทศต่อสู้กับพันธมิตรของคู่แข่ง หรือสนับสนุนพันธมิตรของตนในการต่อสู้กับคู่แข่ง สงครามตัวแทนพบมากเป็นพิเศษช่วงใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองและช่วงสงครามเย็น และเป็นมุมมองนิยามความขัดแย้งทั่วโลกระหว่างครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ส่วนมากได้รับการจูงใจจากความกลัวว่าความขัดแย้งโดยตรงระหว่างสหรัฐและสหภาพโซเวียตจะส่งผลให้เกิดการฆ่าล้างบางนิวเคลียร์ ทำให้สงครามตัวแทนเป็นวิธีแสดงออกซึ่งความเป็นปรปักษ์ที่ปลอดภัยกว่า นอกจากนี้ยังมีเหตุผลประชิดกว่าสำหรับการถือกำเนิดของสงครามตัวแทนในเวทีโลก คือระหว่างช่วงปีหลัง ๆ สหภาพโซเวียตพบว่าการติดอาวุธหรือจัดตั้งภาคีปฏิปักษ์ต่อเนโทแทนการเผชิญหน้าโดยตรงมีราคาถูกกว่าProf CJ.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสงครามตัวแทน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิมหาอำนาจ

แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และอภิมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และอันชลุสส์ · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ทรานซิลเวเนีย

ทรานซิลเวเนียสีเหลืองบนแผนที่ของโรมาเนียกับเขตแดนของประเทศต่างๆ ภูมิภาคประวัติศาสตร์ บานัต, คริซานา และ มารามัวร์ส สีเหลืองเข้ม ทรานซิลเวเนีย (Transylvania, Ardeal หรือ Transilvania; Erdély) เป็นภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของโรมาเนีย โดยมีเขตแดนด้านตะวันออกและทางใต้ติดต่อกับ เทือกเขาคาร์เพเธียน (Carpathian mountains) ทางตะวันตกจรดเทือกเขาอพูเซนิ (Apuseni Mountains) แต่ “ทรานซิลเวเนีย” ที่ใช้กันมักจะรวมบริเวณที่เลยไปจากตัวทรานซิลเวเนียเองและภูมิภาคประวัติศาสตร์ของบริเวณบานัต, คริซานา (Crişana) และ มารามัวร์ส (Maramureş) ทรานซิลเวเนียเดิมเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรดาเซีย (82 ก.ค.ศ. - ค.ศ. 106) ในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และทรานซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลอะซอฟ

ทะเลอะซอฟ ทะเลอะซอฟ (Sea of Azov; Азо́вское мо́ре; Озівськe мо́ре หรือ Азо́вське мо́ре; Azaq deñizi) เป็นทะเลที่ตื้นที่สุดในโลก เชื่อมต่อช่องแคบเคียร์ชสู่ทะเลดำทางตอนใต้ บริเวณทางตอนเหนือติดกับประเทศยูเครน และติดกับประเทศรัสเซียทางตะวันออก และทางตะวันตกติดกับแหลมไครเมีย และแม่น้ำดอนก็ไหลลงทะเลอะซอฟด้ว.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และทะเลอะซอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทาลลินน์

ทาลลินน์ (Tallinn; เยอรมัน; สวีเดน: Reval เรวัล เป็นชื่อประวัติศาสตร์ในภาษาเยอรมัน และ ภาษาสวีเดน) เป็นเมืองหลวงและเมืองท่าหลักของประเทศเอสโตเนีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลบอลติกทางด้านเหนือของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเฮลซิงกิ (เมืองหลวงของประเทศฟินแลนด์) 80 กิโลเมตร.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และทาลลินน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทุนนิยม

"พีระมิดระบบทุนนิยม" ถูกตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และทุนนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ทุ่นระเบิด

right ทุ่นระเบิด (Land mine) มีหลักการทำงาน คือทำอุปกรณ์ตัวหนึ่งเป็นตัวกระตุ้น ให้เกิดการระเบิด ไม่ว่าจะเป็น เสียง แสง อุณหภูมิ แรงสั่นสะเทือน แรงกด ลวดสะดุด ที่นิยมกันมาก คือ เป็นตัวรับแรงกด (Pressure) ซึ่งจะเข้าไปกระทบกับ ตัวจุดระเบิด ทำให้เกิดระเบิดขึ้น ดินระเบิดที่นิยมใช้กันมากคือ TNT (Trinitrotoluene) ใช้ในการโจมตีผู้บุกรุก ส่วนวิธีการระเบิด แล้วแต่วิธีออกแบบ เช่น ระเบิดทันทีที่โดนสัมผัส หรือ เมื่อได้รับแรงกระตุ้นแล้ว จะดีดตัวขึ้นมาเหนือพื้นดิน แล้วจึงร.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และทุ่นระเบิด · ดูเพิ่มเติม »

ที-34

ที-34 (T-34) เป็นรถถังขนาดกลางของโซเวียต ที่ผลิตช่วง..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และที-34 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาสอีฟ

ริสต์มาสอีฟ (Christmas Eve) ตามวัฒนธรรมตะวันตกโดยทั่วไปคือ วันที่ 24 ธันวาคมของทุกปี ตามระบบปฏิทินสมัยใหม่ ความหมายจริงคือ เย็นแรกของวันคริสต์มาส ซึ่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึง การประสูติของพระเยซู เหตุผลที่ คริสต์มาส เริ่มต้นในตอนเย็นของวัน คริสต์มาสอีฟเพราะธรรมเนียมการนับปีของคริสเตียน วันจะเริ่มต้นเมื่อพระอาทิตย์ตกตามเรื่องราวในปฐมกาล เกิดความสว่างกับความมืด คือวันที่ 1.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และคริสต์มาสอีฟ · ดูเพิ่มเติม »

คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ

ลีเมนต์ เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Климе́нт Ефре́мович Вороши́лов​; Kliment Yefremovich Voroshilov) หรือเรียกขานกันในรัสเชียว่าคลิม เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Клим Вороши́лов; Klim Voroshilov) (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2424 – 2 ธันวาคม พ.ศ. 2512) เป็นจอมพลและนักการเมืองในยุคสตาลิน เขาเป็นหนึ่งในห้าจอมพลดั่งเดิมของสหภาพโซเวียต (ทหารยศสูงสุดของสหภาพโซเวียต) พร้อมกับเสนาธิการกองทัพแดงอเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟกับผู้บัญชาการอาวุโสสามคน วาซีลี บลูย์เคียร์ เซมิออน บูดิออนนืยและ มีคาอิล ตูคาเชฟสกี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี

อนสตันติน คอนสตันติโนวิช โรคอสซอฟสกี (Konstanty Ksawerowicz Rokossowski; Константи́н Константи́нович (Ксаве́рьевич) Рокоссо́вский) เป็นผู้บัญชาการโซเวียตและโปแลนด์เป็นผู้ได้รับยศจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตและจอมพลแห่งโปแลนด์และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ เขาเป็นผู้บัญชาการกองทัพแดงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นหนึ่งในผู้วางแผนปฏิบัติการบากราติออนหนึ่งในปฏิบัติการที่ประสบความสำเร็จในแนวรบด้านตะวันออก.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และคอนสตันติน โรคอสซอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

คอเคซัส

คอเคซัส (อังกฤษ:Caucasus) เป็นเทือกเขาสูงขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยมียอดเขาเอลบรูสที่มีความสูง มียอดสูงสุดคือยอดเขาเอลบรุส สูง 9642 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ได้ชื่อว่าเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปสูงกว่ายอดเขามองบลังค์แห่งเทือกเขาแอลป์ในประเทศฝรั่งเศส เทือกเขาคอเคซัสแห่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นปราการธรรมชาติแบ่งพรมแดนระหว่างทวีปยุโรปและทวีปเอเชียให้ปรากฎเด่นชัดในสังคมโลก จนทำให้เกิดปรากฏการณ์กลุ่มประเทศสองทวีปขึ้นมาบนโลกใบนี้ภายใต้ร่มเงาของเทือกเขาคอเคซัส ได้แก่ ประเทศมหาอำนาจอย่างรัสเซีย จอร์เจีย อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน ยอดเขาเอลบรุส หมวดหมู่:ยุโรปตะวันออก หมวดหมู่:ตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และคอเคซัส · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮม

รอน คาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮม (Carl Gustaf Emil Mannerheim) เป็นเจ้าหน้าที่ทหาร และ รัฐบุรุษชาวฟินแลนด์ มันเนอร์เฮมเคยเป็น ผู้บัญชาการกองทัพฝ่ายขาวในช่วง สงครามกลางเมืองฟินแลนด์, ผู้สำเร็จราชการแห่งฟินแลนด์ (1918–1919), ผู้บัญชาการกองทัพฟินแลนด์ ในช่วง สงครามโลกครั้งที่สอง, จอมพลแห่งฟินแลนด์, และ ประธานาธิบดีคนที่ 6 ของฟินแลนด์ (1944–1946).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และคาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮม · ดูเพิ่มเติม »

คีริลล์ เมเรตสคอฟ

ีริลล์ อะฟานาเลวิช เมเรตสคอฟ (Кири́лл Афана́сьевич Мерецко́в) เป็นผู้บัญชาการกองทัพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เมเรตสคอฟเข้าร่วม พรรคคอมมิวนิสต์ ในปี 1917 เข้าเข้าร่วมกองทัพแดง ในปี 1920 ในช่วงสงครามฤดูหนาว เขาได้รับผิดชอบการแทรกซึมแนวมันเนอร์เฮม ในฐานะผู้บัญชาการกองทัพที่ 7 เมเรตสคอฟได้รับเหรียญดาวทองของวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต ในช่วงหลัง ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมเรตสคอฟ กลับไปบัญชาการกองทัพที่ 7 และแนวรบวอลฮอฟ ในช่วง การล้อมเลนินกราด เมเรตสคอฟบัญชาการแนวรบคาเรเลีย ในเดือนกุมภาพันธ์ 1944 เมเรตสคอฟสร้างผลงานอย่างโดดเด่นในช่วงการรุกเพ็ตซาโม–คิร์เคเนส และในเดือน เมษายน 1945 เมเรตสคอฟยังไปประจำการที่ตะวันออกไกล โดยบัญชาการแนวรบในช่วงระหว่างที่ สหภาพโซเวียตบุกครองแมนจูเรีย ระหว่างสงครามเมเรตสคอฟได้รับการเลื่อนยศเป็นจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต; on warheroes.ru.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และคีริลล์ เมเรตสคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายมรณะ

มรณะ (Extermination camp หรือ Death camp) สร้างโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเป็นสถานที่สำหรับสังหารผู้คนเป็นจำนวนล้าน (โดยเฉพาะชาวยิว) อย่างมีระบบ การพันธุฆาตชาวยิวเป็น “วิธีแก้ปัญหาสุดท้ายของปัญหาชาวยิว” (Die Endlösung der Judenfrage) ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความพยายามของนาซีในการกำจัดชาวยิวทั้งหมดมาเรียกรวมกันว่า “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” หรือ “The Holocaust”.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และค่ายมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี

ตราสารยอมจำนนซึ่งลงนามในแรมส์ วันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี เป็นตราสารจัดให้มีการหยุดยิงเป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตราสารดังกล่าวลงนามโดยผู้แทนจากกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ (OKW) และกำลังรบนอกประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และตราสารยอมจำนนของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ซาเรมา

ซาเรมา (Øsel; Ösel; Ösel; Sāmsala; Sarema; Eysýsla) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเอสโตเนีย มีพื้นที่ 2,673 กม² ตั้งอยู่ทางตะวันออกของทะเลบอลติก เกาะมีประชากร 39,231 คน (ค.ศ. 2008) ประชากรเป็นชาวเอสโตเนีย 97% ส่วนกลุ่มคนส่วนน้อยที่ใหญ่ที่สุดคือชาวรัสเซีย มีราว 2%.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และซาเรมา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบากราติออน

ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และปฏิบัติการบากราติออน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการพายุฤดูหนาว

ปฏิบัติการ"พายุฤดูหนาว" (Unternehmen Wintergewitter) เป็นการรุกของกองทัพเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งกองทัพยานเกราะที่ 4 ของเยอรมันได้พยายามในการเปิดวงล้อมของกองทัพแดงแห่งโซเวียตเพื่อช่วยเหลือกองทัพที่ 6 ในเมืองสตาลินกราดที่กำลังถูกล้อมอยู่ในระหว่างยุทธการสตาลินกราด ในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ปี 1942, กองทัพแดงได้ประสบความสำเร็จในแผนปฏิบัติการยูเรนัส (Operation Uranus),ด้วยการล้อมทหารฝ่ายอักษะจำนวนประมาณ 300,000 นายทั้งในและรอบๆตัวเมืองสตาลินกราด,กองกำลังเยอรมันที่อยู่ภายในวงล้อมสตาลินกราดและที่อยู่ภายนอกซึ่งได้รับคำสั่งและจัดระเบียบใหม่ภายใต้ของกองทัพกลุ่มดอน,ภายใต้การบังคับบัญชาของจอมพลเอริช ฟอน มันชไตน์ ในขณะเดียวกัน,ทางฝ่ายกองทัพแดงได้ดำเนินการอย่างต่อเนืองในการจัดสรรทรัพยากรให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อเริ่มต้นในตอนท้ายของแผนการปฏิบัติการเสาร์ (Operation Saturn),ซึ่งวัตถุประสงค์แผนนี้คือเพื่อแยกกองทัพกลุ่มเอออกจากส่วนที่เหลือของกองทัพเยอรมัน เพื่อแก้ไขสถานการณ์,ทางลุฟท์วัฟเฟอได้พยายามจัดส่งทรัพยากรสนับสนุนต่างๆ เช่น เสบียง กระสุน เป็นต้นไปให้แก่กองกำลังเยอรมันที่ติดอยู่ในวงล้อมสตาลินกราดจากทางอากาศ เมื่อลุฟท์วัฟเฟอได้พิสูจน์ถึงด้วยไร้ความสามารถในการปฏิบัติภารกิจของตนและมันได้กลายเป็นที่ประจักษ์ว่าการฝ่าวงล้อมที่ประสบความสำเร็จอาจเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อได้เปิดฉากให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ มันชไตน์จึงตัดสินใจอย่างโล่งใจ ในขั้นแรก มันชไตน์ได้เข้านัดพบกับกองพลยานเกราะพันเซอร์ทั้งสี่ เนื่องจากเยอรมันไม่เต็มใจที่จะลดขนาดกองพลลงโดยการโยกย้ายกองกำลังหน่วยทหารเยอรมัน ภารกิจเพื่อเปิดเส้นทางจากกองทัพเยอรมันที่ 6 ไปยังกองทัพพันเซอร์ที่ 4 กองกำลังเยอรมันได้ตกหลุมพรางเข้าปะทะกับกองทัพโซเวียตหลายครั้งที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการทำลายล้างกองกำลังเยอรมันที่ถูกโอบล้อมและการรุกของพวกเขาอยู่รอบบริเวณแม่น้ำ Chir ตอนล่าง การรุกรานของเยอรมันได้ดักจับกองทัพแดงด้วยความประหลาดใจและได้รับผลประโยชน์มหาศาลในวันแรก กองกำลังหัวหอกได้มีความสุขที่ได้รับการสนับสนุนทางอากาศและสามารถเอาชนะการโจมตีตอบโต้กลับโดยทหารโซเวียตได้ โดยวันที่ 13 ธันวาคม โซเวียตได้ต้านทานการรุกรานของเยอรมันให้ชะลอลงเป็นอย่างมาก แม้ว่ากองกำลังเยอรมันจะเข้าสู่พื้นที่โดยรอบของ Verkhne-Kumskiy กองทัพแดงได้เปิดฉากปฏิบัติการลิตเติลแซเทิร์น เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ปฏิบัติการลิตเติลแซเทิร์นได้ทำการบดขยี้กองทัพที่ 8 ของอิตาลีบนปีกซ้ายของกองทัพกลุ่มดอน ได้คุกคามความอยู่รอดของกองกำลังกลุ่มทั้งหมดของมันชไตน์ ด้วยการต้านทานและความเสียหายที่เพิ่มมากขึ้น มันชไตน์ได้เรียกร้องให้ฮิตเลอร์และผู้บัญชาการแห่งกองทัพที่ 6 นายพล ฟรีดริช เพาลุส เพื่อยินยอมให้กองทัพที่ 6 ทำการทะลวงฝ่าออกจากสตาลินกราด แต่ทั้งสองกลับปฏิเสธ กองทัพพันเซอร์ที่ 4 ยังคงพยายามที่จะเปิดเส้นทางไปยังกองทัพที่ 6 เมื่อวันที่ 18-19 ธันวาคม แต่ไม่สามารถที่จะทำเช่นนั้นได้โดยปราศจากความช่วยเหลือจากกองกำลังภายในวงล้อมสตาลินกราด มันชไตน์ได้ออกคำสั่งยุติการโจมตีเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม และโดยคริสต์มาสอีฟ กองทัพพันเซอร์ที่ 4 ได้เริ่มทำการถอนกำลังไปยังจุดเริ่มต้น เนื่องจากความล้มเหลวของกองทัพที่ 6 ที่จะทะลวงฝ่าออกจากการโอบล้อมของโซเวียต กองทัพแดงสามารถดำเนินการบีบคั้นอย่างต่อเนื่องกับกองกำลังเยอรมันในสตาลินกร.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และปฏิบัติการพายุฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการยูเรนัส

ปฏิบัติการยูเรนัส (romanised: Operatsiya "Uran") เป็นรหัสนามของโซเวียต เมื่อวันที่ 19-23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และปฏิบัติการยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการซิทาเดล

ปฏิบัติการซิทาเดล(Unternehmen Zitadelle)เป็นปฏิบัติการการรุกของเยอรมันที่ต่อกรกับกองทัพโซเวียตในส่วนที่ยืดออกของคูสค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก เป็นการริเริ่มของยุทธการที่คูสค์ ด้วยความตั้งใจของปฏิบัติการการป้องกันที่โซเวียตได้นำไปใช้เพื่อต่อต้านการรุกของเยอรมันที่เรียกว่า ปฏิบัติการป้องกันทางยุทธศาสตร์คูสค์ การรุกของเยอรมันได้ถูกตีโต้กลับด้วยปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsev (Полководец Румянцев) และปฏิบัติการคูตูซอฟ(Кутузов) สำหรับเยอรมัน การรบครั้งนี้เป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ครั้งสุดท้ายที่พวกเขาจะสามารถเปิดฉากบนแนวรบด้านตะวันออก เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรบุกเข้ายึดครองที่เกาะซิซิลีได้เริ่มต้นขึ้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ถูกบังคับให้หันเหการฝึกกองกำลังทหารในฝรั่งเศสเพื่อเผชิญหน้าการคุกคามของฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แทนที่จะใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการสำรองกองกำลังสำหรับแนวรบด้านตะวันออก เยอรมันได้สูญเสียกำลังพลและรถถังอย่างกว้างขวางได้ทำให้เกิดความมั่นใจของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตที่ได้รับชัยชนะนั้นได้มีความสุขกับการริเริ่มทางยุทธศาสตร์สำหรับช่วงที่เหลือของสงคราม เยอรมันได้คาดหวังว่าจะลดศักยภาพของการรุกฝ่ายโซเวียตลงสำหรับช่วงฤดูร้อนในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และปฏิบัติการซิทาเดล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และปืนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่อัตตาจร

ปืนใหญ่อัตตาจร (Self-propelled artillery) เป็นศัพท์ทางการทหาร หมายถึงพาหนะที่สามารถขับเคลื่อนตัวเองได้ และติดตั้งปืนใหญ่ ปืนฮาวอิตเซอร์ หรือเครื่องยิงจรวด สามารถเคลื่อนย้ายไปตามภูมิประเทศทุรกันดาร โดยอาจเป็นพาหนะล้อสายพานหรือล้อยาง ทำการยิงแล้วเคลื่อนย้ายที่ตั้งอย่างรวดเร็ว เพื่อป้องกันการตรวจจับสถานที่ตั้งและถูกโจมตีกลับ ปืนใหญ่อัตตาจรจะประจำการอยู่ในกองพันทหารปืนใหญ่ มีหน้าที่ยิงสนับสนุนทหารราบในแนวหน้าจากระยะไกล ปืนอัตตาจรสมัยใหม่อาจมีลักษณะคล้ายรถถัง และหุ้มเกราะขนาดกลาง บางรุ่นอาจติดตั้งปืนกลเพื่อป้องกันตนเองจากทหารราบของฝ่ายตรงข้าม.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และปืนใหญ่อัตตาจร · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล วาตูติน

นีโคไล เฟโอโดโรวิช วาตูติน (Никола́й Фёдорович Вату́тин) เป็นผู้บัญชาการโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง วาตูตินเป็นผู้บังคับบัญชากองทัพแดง ใน ยูเครน โดยบัญชาการ แนวรบตะวันตกเฉียงใต้, และ Voronezh Front ระหว่าง ยุทธการที่เคิสก์ และ แนวรบยูเครนที่ 1 ในช่วงการปลดปล่อยกรุงเคียฟในปี 1943 ต่อมาวาตูตินถูกลอบโจมตีโดยกองทัพกบฎยูเครน ในเดือน กุมภาพันธ์ 1944.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และนีโคไล วาตูติน · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงก์เฟิร์ต

แฟรงก์เฟิร์ต (Frankfurt) หรือ ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Frankfurt am Main) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐเฮสส์และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไมน์ (Main river) และเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ตและธนาคารกลางยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยในเขตเมืองและปริมณฑลมีประชากรประมาณ 5 ล้านคน ชื่อเมืองแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี นิยมเรียกชื่อเต็มคือ "ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์" หมายถึงเมืองแฟรงก์เฟิร์ตที่อยู่บนแม่น้ำไมน์ เพื่อแยกความแตกต่างจากเมืองฟรังค์ฟวร์ทอันเดอร์โอเดอร์ (Frankfurt an der Oder) ริมฝั่งแม่น้ำโอเดอร์ในรัฐบรันเดนบูร์กทางด้านตะวันออกของประเท.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแฟรงก์เฟิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

ร์ล รูดอล์ฟ แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ (Karl Rudolf Gerd von Rundstedt; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1875 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำวอลกา

แม่น้ำวอลกาในเมืองยาโรสลัฟล์ ยามเช้าในฤดูใบไม้ร่วง แม่น้ำวอลกา (Волга.; Volga) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดของทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 3,690 กิโลเมตร และถือกันโดยทั่วไปว่าเป็นแม่น้ำประจำชาติรัสเซีย ไหลผ่านทางด้านตะวันตกของประเทศ และเป็นแกนหลักของระบบแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดของยุโรป แหล่งเก็บกักน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลกบางแห่ง ก็อยู่ตามแนวลำน้ำสายนี้ หากรวมความยาวของแม่น้ำสายย่อย และคูคลองต่าง ๆ ทั้งหมดที่มีทั้งสิ้น 151,000 สาย แม่น้ำจะยาวถึง 574,000 กิโลเมตร และหากรวมพื้นที่ของลำน้ำทั้งหมด จะเทียบเท่ากับ 1 ใน 3 ของอาณาเขตฝั่งยุโรปของรัสเซีย วอลกาแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือวอลกาตอนบน วอลกาตอนกลาง และวอลกาตอนล่าง.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแม่น้ำวอลกา · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดอน

แผนที่แสดงที่ตั้งของแม่น้ำดอน แม่น้ำดอน (Дон) เป็นแม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งในรัสเซีย มีต้นกำเนิดในเมืองโนโวมอสคอฟสค์ ห่างจากเมืองตูลาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว 60 กิโลเมตร แม่น้ำดอนมีความยาวประมาณ 1,950 กิโลเมตร และไปสิ้นสุดที่ทะเลอะซอฟ ดอน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแม่น้ำดอน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำนีเปอร์

แม่น้ำนีเปอร์ (Dnieper River ออกเสียง /ˈniːpər/) เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของยุโรปที่ยาวเป็นที่สี่ แม่น้ำนีเปอร์มีต้นสายจากธารน้ำแข็งที่เนินวัลไดในรัสเซีย ไหลผ่านประเทศรัสเซีย ประเทศเบลารุส และ ประเทศยูเครนไปยังสามเหลี่ยมปากแม่น้ำนีเปอร์ในทะเลดำ โดยมีความยาวทั้งสิ้น 2,290 กิโลเมตร -- 485 กิโลเมตรในรัสเซีย, 595 กิโลเมตรในเบลารุส และอีก 1,095 กิโลเมตรในยูเครน ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งหมด 504000 ตารางกิโลเมตรที่ 289000 ตารางกิโลเมตรอยู่ในยูเครน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแม่น้ำนีเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโอเดอร์

แม่น้ำโอเดอร์ หรือ แม่น้ำโอดรา (เช็ก/โปแลนด์: Odra) เป็นแม่น้ำในยุโรปตอนกลาง ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาทางตะวันออกของสาธารณรัฐเช็ก ไหลไปทางเหนือผ่านด้านตะวันตกของประเทศโปแลนด์ มีแม่น้ำไนเซอไหลมารวมด้วย ใกล้เมืองฟรังค์ฟูร์ท จากนั้นไหลขึ้นไปทางเหนือเป็นเส้นเขตแดนระหว่างประเทศโปแลนด์และเยอรมนี จนไปลงทะเลบอลติก แม่น้ำมีความยาว 854 กิโลเมตร แควสำคัญทางด้านฝั่งซ้ายของแม่น้ำได้แก่ แม่น้ำนีซา แม่น้ำคาชาวาบูเบอร์ และแม่น้ำไนเซอ และแควด้านฝั่งขวา สายสำคัญ คือ แม่น้ำวาร์ตา หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศเยอรมนี หมวดหมู่:แม่น้ำในประเทศเช็กเกีย.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแม่น้ำโอเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเอ็ลเบอ

แม่น้ำเอ็ลเบอ (Elbe) หรือ แม่น้ำลาแบ (Labe) เป็นหนึ่งในแม่น้ำสายหลักในยุโรปกลาง มีต้นน้ำมาจากทิวเขารีเซนเกเบียร์เกอ ในประเทศเช็กเกีย ไหลไปทางเหนือ ผ่านเข้าไปในประเทศเยอรมนี วกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ลงสู่ทะเลเหนือที่เมืองคุคส์ฮาเฟิน แม่น้ำมีความยาวรวม 1,094 กิโลเมตร (680 ไมล์) แควแม่น้ำที่สำคัญได้แก่ แม่น้ำวัลตาวา แม่น้ำออร์เชในเช็กเกีย แม่น้ำมุลเดอ แม่น้ำซาเลอ แม่น้ำชวาร์ทเซอเอ็ลส์เทอร์ แม่น้ำฮาเฟิล และแม่น้ำเอ็ลเดอในเยอรมนี.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแม่น้ำเอ็ลเบอ · ดูเพิ่มเติม »

แอริช ฟอน มันชไตน์

ฟริทซ์ แอริช เกออร์ก แอดวร์ด ฟอน เลอวินสกี (Fritz Erich Georg Eduard von Lewinski) หรือเป็นที่รู้จักกันคือ แอริช ฟอน มันชไตน์ (Erich von Manstein) เป็นผู้บัญชาการในเวร์มัคท์ กองทัพของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ดำรงตำแหน่งยศจอมพล เขายังมีศักดิ์เป็นหลานอาของจอมพลเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมันคนที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2430 หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2516 หมวดหมู่:จอมพลแห่งไรช์ที่สาม หมวดหมู่:ทหารชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:บุคคลจากเบอร์ลิน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแอริช ฟอน มันชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่พ่ายแพ้การสู้รบในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและในพื้นที่กึ่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จากนั้นสงครามจึงดำเนินเข้าสู่การสู้รบทางอากาศระหว่างเยอรมนีกับสหราชอาณาจักร ซึ่งทวีความรุนแรงมากที่สุดในช่วงยุทธการที่บริเตน ช่องที่สองคือช่วงของการสู้รบภาคพื้นดินขนาดใหญ่ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 จากการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี และดำเนินไปจนกระทั่งสามารถปลดปล่อยกรุงปารีสและฝรั่งเศลให้พ้นจากนาซีเยอรมัน ต่อมาสามารถเอาชนะเยอรมนีได้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 แม้ว่าพลทหารเยอรมันส่วนมากจะเสียชีวิตในแนวรบด้านตะวันออก แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในแนวรบด้านตะวันตกแทบจะไม่สามารถทดแทนกลับคืนมาได้ เนื่องจากทรัพยากรสงครามส่วนมากของเยอรมนีถูกโยกย้ายไปใช้ในแนวรบด้านตะวันตก ซึ่งหมายความได้ว่าในแนวรบด้านตะวันออกมีการเสริมกำลังและทรัพยากรเพื่อยืดระยะเวลาการสู้รบออกไปได้ ในขณะที่แนวรบด้านตะวันตกมีการส่งกำลังเสริมและทรัพยากรทดแทนเพื่อหยุดยั่งการรุกคืบของฝ่ายสัมพันธมิตรได้เพียงน้อยนิด การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีนับได้ว่าส่งสัญญาณเชิงจิตวิทยาในแง่ลบให้แก่กองทัพและผู้นำของนาซีเยอรมนีอย่างมาก เนื่องจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เกรงกลัวสถานการณ์ที่เยอรมนีถูกขนาบด้วยการสู้รบจากแนวรบทั้งสองด้าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวซีกฟรีด

แผนที่แนวซีกฟรีด แนวซีกฟรีด (Siegfriedstellung) เดิมเป็นแนวค่ายทหารถาวรป้องกันและการป้องกันรถถังที่เยอรมนีสร้างขึ้น เป็นส่วนหนึ่งของแนวฮินเดนบูร์ก..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และแนวซีกฟรีด · ดูเพิ่มเติม »

โบริส ชาปอชนีคอฟ

ริส มิคาอิลโลวิช ชาปอชนีคอฟ เป็นผู้บัญชาการทหารโซเวียต, ประธานคณะเสนาธิการทหารกองทัพแดง และ จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต ชาปอชนีคอฟเกิดที่เมือง Zlatoust, ใกล้เมือง Chelyabinsk ใน Urals เขาเป็นชาวคอสแซคสาย Orenburg โดยกำเนิดชาปอชนีคอฟเข้าร่วม กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย ในปี 1901 และสำเร็จการศึกษาที่ โรงเรียนเสนาธิการทหารนีโคลัส ในปี 1910 เขาถูกเลื่อนยศเป็นพันเอกระหว่างประจำการที่ Caucasus Grenadiers division ในเดือนกันยายน 1917 ระหว่าง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งเป็นการเลื่อนยศเป็นเจ้าหน้าที่เป็นกรณีพิเศษ เขาสนับสนุนการปฏิวัติรัสเซีย, และในเดือนพฤษภาคม 1918 ชาปอชนีคอฟเข้าร่วม กองทัพแดง.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และโบริส ชาปอชนีคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

โพกรม

การจลาจลเฮ็พ-เฮ็พ (Hep-Hep riots) ในปี ค.ศ. 1819 ทางด้านซ้ายชาวนาสตรีสองคนโจมตีชายชาวยิวด้วยคราดและไม้กวาด ทางด้านขวาชายใส่แว่นตามีหางใส่เสื้อกั๊กหกกระดุมผู้อาจจะเป็นเภสัชกรหรือครูAmos Elon (2002), ''The Pity of It All: A History of the Jews in Germany, 1743–1933''. Metropolitan Books. ISBN 0-8050-5964-4. p. 103 ถูกบีบคอและกำลังจะถูกตีหัว ภาพพิมพ์กัดกรดโดยโยฮันน์ มิเคิล โวลทซ์ โพกรม หรือ การจลาจลโพกรม (Pogrom) เป็นลักษณะหนึ่งของการก่อความไม่สงบหรือการจลาจลในการต่อต้านกลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่อาจจะมีลักษณะร่วมกันทางชาติพันธุ์, ศาสนา, เชื้อชาติ หรืออื่นๆ ที่อาจจะออกมาในรูปของการเข่นฆ่า หรือการทำลายทรัพย์สินบ้านเรือน, ธุรกิจ หรือศาสนสถานที่อาจจะเกิดขึ้นโดยมีการวางแผนล่วงหน้าหรือไม่มีก็ได้ คำนี้เดิมใช้ในการสร้างความเสียหายและทำร้ายชาวยิว แต่ในภาษาอังกฤษ “โพกรม” ไม่จำกัดเพียงการสร้างความเสียหายและทำร้ายเฉพาะแต่ชาวยิวเท่านั้นแต่ยังรวมถึงกลุ่มอื่นๆ ที่กล่าวข้างต้น ที่มาของคำว่า “โพกรม” ในภาษาอังกฤษ “Pogrom” (погром) มาจากคำกิริยา “громить” ที่แปลว่าทำลาย, ก่อความวุ่นวาย, การทำลายอย่างรุนแรง ยูริ อาฟเนริบรรยาย “โพกรม” ว่าเป็น “การจลาจลโดยประชาชนผู้ถืออาวุธที่มัวเมาไปด้วยความเกลียดชังต่อผู้ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ขณะที่ตำรวจและทหารยืนดูอยู่โดยไม่เข้าเกี่ยวข้อง”.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และโพกรม · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โดเนตสค์

นตสค์ (Donetsk) (ยูเครน: Донецьк, รัสเซีย: Доне́цк) เป็นเมืองในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน มีพื้นที่ 358 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1,100,700 คน.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และโดเนตสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมน์คัมพฟ์

หน้าปกของ ''ไมน์คัมพฟ์'' ไมน์คัมพฟ์ (Mein Kampf) หรือ การต่อสู้ของข้าพเจ้า เป็นหนังสือที่เขียนโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองชาวออสเตรียผู้นิยมลัทธินาซี เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับอุดมการณ์ทางการเมืองของฮิตเลอร์ โดยถูกตีพิมพ์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และไมน์คัมพฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ กูเดเรียน

นซ์ วิลเฮล์ม กูเดเรียน (Heinz Wilhelm Guderian) เป็นพลเอกแห่งกองทัพบกเยอรมันในสมัยนาซีเยอรมนี เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ และมีสมญาว่า ไฮนซ์สายฟ้าแลบ (Schneller Heinz) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (บลิทซครีก) ที่ทำให้สามารถเข้ายึดโปแลนด์ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่แม่น้ำเมิซและเป็นผู้สร้างรถถังที่มีชื่อเสียง เช่น รถถังพันเทอร์, รถถังไทเกอร์ 2 เป็นต้น หน่วยของกูเดเรียนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และไฮนซ์ กูเดเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทเกอร์ 1

ทเกอร์ I เป็นยานเกราะขนาดหนักที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยถูกสร้างในช่วงปลายปี ค.ศ. 1942 เพื่อที่จะใช้ตอบโต้ความแข็งแกร่งยานเกราะที-34 และรถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ ของ สหภาพโซเวียต ในช่วงเริ่มต้นของ ปฏิบัติการบาร์บารอสซา ลักษณะการออกแบบของไทเกอร์ I ทำให้ไทเกอร์ I เป็นยานเกราะของ เวร์มัคท์ คันแรกที่ติดปากกระบอกปืนขนาด 88 มิลลิเมตร โดยปากกระบอกปืนนี้ได้ถูกทดสอบมาก่อนว่ามีประสิทธิภาพสูงในการยิงต่อต้าน รถถัง และ เครื่องบิน ในช่วงระหว่างสงคราม ไทเกอร์ 1 ได้ถูกนำไปใช้ในในการรบแนวหน้าของเยอรมัน โดยปกติแล้วไทเกอร์ I ถูกนำมาแยกเป็นหน่วยยานเกราะอิสระ ซึ่งทำให้หน่วยไทเกอร์ I สามารถปฏิบัติการได้อย่างค่อนข้างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าไทเกอร์ I เป็นที่น่าเกรงขามต่อศัตรูเป็นอย่างมากก็ตาม ทว่า ในขณะเดียวกัน ไทเกอร์ I เป็นยานเกราะที่มีลักษณะซับซ้อนในการสร้าง ต้นทุนสูง และใช้เวลาในการผลิตยาวนานอีกทั้งไทเกอร์ I มักจะประสบปัญหาเครื่องจักรกลล่มบ่อยครั้งจึงทำให้ยานเกราะชนิดนี้ถูกยกเลิกการผลิตไป มีเพียงจำนวน 1347 คันเท่านั้นที่ถูกผลิตขึ้นมา ในช่วงระยะเวลา สิงหาคม ค.ศ. 1942 ถึง สิงหาคม ค.ศ. 1944 และไทเกอร์II ได้ถูกผลิตขึ้นมาแทนที่ ยานเกราะนี้ถูกตั้งชื่อเล่นโดย Ferdinand Porche และตัวเลขโรมันได้ถูกเพิ่มเติมหลังจากที่ยานเกราะไทเกอร์ II ได้ถูกนำมาผลิต โดยแท้จริงแล้ว ยานเกราะชนิดนี้มีชื่ออย่างเป็นทางการ คือ Panzerkampfwagen VI Ausführung H (ยานเกราะ Panzer VI รุ่น H หรือมีชื่อย่อว่า PzKpfw VI Ausf. H) แต่อย่างไรก็ตาม ยานเกราะนี้ได้ถูกนำมาออกแบบใหม่อีกครั้งเป็น PzKpfw VI Ausf.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และไทเกอร์ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ไซบีเรีย

ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เฟดอร์ ฟอน บอค

ฟดอร์ ฟอน บอค (Fedor von Bock) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาบัญชาการกองทัพบกกลุ่มเหนือระหว่างการบุกครองโปแลนด์ในปี 1939 และบัญชาการกองทัพบกกลุ่มบีในยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี 1940 และต่อมาได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มกลางในการโจมตีสหภาพโซเวียตในปี 1941 และได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มใต้ในปี 1942 ซึ่งเป็นตำแหน่งบัญชาการครั้งสุดท้าย บอคเกิดในเมืองคืชตริง (ปัจจุบันอยู่ในโปแลนด์) ในครอบครัวทหารชาวปรัสเซีย บิดาเป็นผู้บัญชาการหน่วยทหารในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ส่วนมารดาเป็นน้องสาวของเอริช ฟอน ฟัลเคินไฮย์ (Erich von Falkenhayn) ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง บอคเข้าศึกษาที่วิทยาลัยการทหารในกรุงเบอร์ลิน และต่อมาได้เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ด้วยความที่เกิดในครอบครัวทหารทำให้เขามีค่านิยมทหารมากกว่าคนอื่น ในสงครามครั้งนั้นเขาได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นทหารที่องอาจถึงขนาดพร้อมตายเพื่อปิตุภูมิจนได้รับสมญาว่า พระเพลิงแห่งคืชตริง และได้รับเหรียญปัวร์เลอแมริทของจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1935 อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แต่งตั้งบอคให้เป็นแม่ทัพใหญ่กองทัพบกกลุ่มที่สาม และเป็นหนึ่งในนายพลที่ไม่ถูกโยกย้ายเมื่อครั้งฮิตเลอร์ปฏิรูปกองทัพครั้งใหญ่เพื่อสั่งสมแสนยานุภาพก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ บอคเป็นพวกนิยมระบอบกษัตริย์และมักจะไปเยี่ยมเยือนวังของอดีตไกเซอร์เสมอ บอคบัญชาการการบุกเวียนนาในปี 1938 และเมื่อเยอรมันผนวกออสเตรียแล้ว บอคก็บัญชาการการรุกรานเชโกสโลวาเกีย ฮิตเลอร์ไม่ค่อยชอบนิสัยการพูดจาตรงไปตรงมาขวานผ่าซากของบอค สิ่งที่ฮิตเลอร์ชอบในตัวบอคอย่างเดียวคือเขาเป็นผู้บัญชาการมือฉกาจที่ประสบความสำเร็จในการรบBattle of Russia, Battlefield: Battles that Won the Second World War—Series 2.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเฟดอร์ ฟอน บอค · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเกออร์กี จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี ถูกจัดตั้งขึ้นโดยนาซีเยอรมนีเพื่อกักขังชาวยิว และบางครั้งอาจรวมชาวยิปซี เข้าไปในพื้นที่แออัดแน่นของนคร รวมแล้ว ตามบันทึกของพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์การล้างชาติโดยนาซีสหรัฐอเมริกา "พวกเยอรมันจัดตั้งเกตโตอย่างน้อย 1,000 แห่งเฉพาะในโปแลนด์และสหภาพโซเวียตส่วนที่เยอรมนียึดครองและผนวกไว้" ดังนั้น ตัวอย่างจึงตั้งใจเพียงเพื่อแสดงให้เห็นขอบเขตและสภาพความเป็นอยู่ของเกตโตทั่วยุโรปตะวันออก แม้คำว่า "เกตโต" จะใช้โดยทั่วไปในงานประพันธ์เกี่ยวกับการล้างชาติโดยนาซี แต่พวกนาซีมักเรียกสถานกักกันเหล่านี้บ่อยครั้งว่า "ย่านชาวยิว" (Jewish Quarter) ไม่นานหลังการรุกรานโปแลนด์ใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเกตโตในทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของนาซี · ดูเพิ่มเติม »

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

เอฟา เบราน์

อฟา อันนา เพาลา ฮิตเลอร์ (Eva Anna Paula Hitler) สกุลเดิม เบราน์ เป็นเพื่อนเก่าแก่ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นภรรยาของเขาในช่วง 40 ชั่วโมงสุดท้ายของชีวิต เบราน์พบฮิตเลอร์ในมิวนิกขณะที่เธอมีอายุได้ 17 ปี ขณะที่ทำงานเป็นผู้ช่วยและนางแบบของช่างถ่ายภาพส่วนตัวของเขาและเริ่มพบฮิตเลอร์บ่อยครั้งขึ้นในอีกราวสองปีถัดมา เธอเคยพยายามฆ่าตัวตายสองครั้งในความสัมพันธ์ระยะแรกระหว่างทั้งสอง ใน..

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเอฟา เบราน์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮลมุท ไวด์ลิง

ลมุท ออทโท ลุดวิจ ไวด์ลิง (Helmuth Otto Ludwig Weidling) เป็นนายพลในกองทัพบกเยอรมันระหว่างก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อมาไวด์ลิงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองทัพในการป้องกันกรุงเบอร์ลินในพื้นที่การต่อสู้ในยุทธการเบอร์ลินในปี 1945 ต่อมาหลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรมในฟือเรอร์บุงเคอร์ ไวด์ลิงตัดสินใจประกาศยอมจำนนต่อกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต ทำให้เป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป หลังสงคราม ไวด์ลิงถูกจับกุมและกลายเป็นนักโทษสงครามของโซเวียต เขาถูกส่งตัวไปยังกรุงมอสโก  ศาลทหารโซเวียตได้ตัดสินให้จำคุก 25 ปีให้ข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามในดินแดนสหภาพโซเวียต ต่อมาเขาได้เสียชีวิตในค่ายกักกันเชลยศึกชาวเยอรมันในเมืองวลาดิเมียร์ภายใต้การควบคุมของหน่วยเคจีบีด้วยสภาวะหัวใจวายล้มเหลว เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 1955.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเฮลมุท ไวด์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2246 โดยตัวเมืองเริ่มสร้างด้วยการถมทรายและหินเป็นจำนวนมากเพราะว่าพื้นที่เดิมของเมืองนั้นเป็นดินเลนของทะเล พระองค์ทรงเลือกที่จะสร้างเมืองที่บริเวณนี้เพราะว่าตัวเมืองมีทางออกทะเลบอลติกและสามารถติดต่อไปทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้ง่าย เพื่อการปฏิรูปรัสเซียให้ทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรปได้โดยง่าย ต่อมาเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์กจึงได้รับสมญานามว่าหน้าต่างแห่งยุโรป และได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิรัสเซียเป็นเวลา 206 ปี (หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปที่มอสโก เมื่อ พ.ศ. 2461) ชื่อเดิมของเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคือ เปโตรกราด (Petrograd, Петрогра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2457-2467) และ เลนินกราด (Leningrad, Ленингра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2467-2534) ปัจจุบันเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมีประชากรมากกว่า 4.7 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัสเซีย และเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก.

ใหม่!!: แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มหาสงครามของผู้รักชาติแนวรบตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่ 2)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »