สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2552กัวลาลัมเปอร์สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดินสนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิลอาเซียนพาราเกมส์อาเซียนพาราเกมส์ 2008อาเซียนพาราเกมส์ 2011จังหวัดนครราชสีมาจาการ์ตาซีเกมส์ 2009ประเทศมาเลเซียประเทศอินโดนีเซียประเทศไทยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้15 สิงหาคม19 สิงหาคม
- การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติที่ประเทศมาเลเซียเป็นเจ้าภาพ
- กีฬาในกัวลาลัมเปอร์
- มหกรรมกีฬาในประเทศมาเลเซีย
- อาเซียนพาราเกมส์
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และพ.ศ. 2552
กัวลาลัมเปอร์
กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และกัวลาลัมเปอร์
สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน
มเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน มีซาน ไซนัล อาบิดีน (พระนามเต็ม: อัล-วาตีกู บิลละฮ์ ตวนกู มีซัน ไซนัล อาบีดิน อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน มะฮ์มุด อัล-มุกตาฟี บิลละฮ์ ชะฮ์) ทรงเป็นเป็นพระมหากษัตริย์มหารายาแห่งรัฐตรังกานู และเป็นพระราชโอรสในสุลต่าน มะห์หมุด อัลมักตาฟี บิลลาห์ ชาห์ พระมหากษัตริย์แห่งตรังกานูองค์ก่อน และพระองค์ทรงเป็นยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 13 ทรงเป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย ตั้งแต่วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล
นามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล (Stadium Nasional Bukit Jalil) ตั้งอยู่ที่บูกิตจาลิล, เมืองกัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศมาเลเซียมีความจุทั้งหมด 100,000 ที่นั่ง ก่อสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และสนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล
อาเซียนพาราเกมส์
อาเซียนพาราเกมส์ (ASEAN Para Games) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับนักกีฬาคนพิการ ที่จัดขึ้นในทุกสองปีต่อเนื่องจากกีฬาซีเกมส์ (SEA Games) โดยมีประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 11 ประเทศ การแข่งขันกีฬาอาเซียนพาราเกมส์ (ASEAN Para Games) ดำเนินงานอยู่ภายใต้สมาพันธ์กีฬาคนพิการแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN Para Sports Federation: APSF) โดยมีนโยบายให้ประเทศที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ (SEA Games) เป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาอาเซียนพาราเกมส์ด้วยในคราวเดียวกัน.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และอาเซียนพาราเกมส์
อาเซียนพาราเกมส์ 2008
อาเซียนพาราเกมส์ 2008 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 4 โดยเจ้าภาพคือจังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ในระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึง 26 มกราคม พ.ศ.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และอาเซียนพาราเกมส์ 2008
อาเซียนพาราเกมส์ 2011
อาเซียนพาราเกมส์ 2011 (2011 ASEAN Para Games) เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 15-20 ธันวาคม พ.ศ.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และอาเซียนพาราเกมส์ 2011
จังหวัดนครราชสีมา
นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และจังหวัดนครราชสีมา
จาการ์ตา
การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และจาการ์ตา
ซีเกมส์ 2009
กีฬาซีเกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันซีเกมส์ ครั้งที่ 25 หรือ เวียงจันทน์เกมส์ จัดขึ้นที่เวียงจันทน์ ประเทศลาว ระหว่างวันที่ 9-18 ธันวาคม พ.ศ.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และซีเกมส์ 2009
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และประเทศมาเลเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และประเทศไทย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
15 สิงหาคม
วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และ15 สิงหาคม
19 สิงหาคม
วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.
ดู อาเซียนพาราเกมส์ 2009และ19 สิงหาคม
ดูเพิ่มเติม
การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติที่ประเทศมาเลเซียเป็นเจ้าภาพ
- กีฬาเฟสปิก 2006
- กีฬาแหลมทอง 1965
- กีฬาโปโลน้ำในซีเกมส์ 2017
- กีฬาโปโลน้ำในซีเกมส์ 2017 – ทีมชาย
- ซีเกมส์ 1977
- ซีเกมส์ 1989
- ซีเกมส์ 2001
- ซีเกมส์ 2017
- อาเซียนพาราเกมส์ 2001
- อาเซียนพาราเกมส์ 2009
- อาเซียนพาราเกมส์ 2017
กีฬาในกัวลาลัมเปอร์
- กีฬาเฟสปิก 2006
- กีฬาแหลมทอง 1965
- ซีเกมส์ 1977
- ซีเกมส์ 1989
- ซีเกมส์ 2001
- ซีเกมส์ 2017
- อาเซียนพาราเกมส์ 2001
- อาเซียนพาราเกมส์ 2009
- อาเซียนพาราเกมส์ 2017
มหกรรมกีฬาในประเทศมาเลเซีย
- กีฬาเฟสปิก 2006
- กีฬาแหลมทอง 1965
- ซีเกมส์ 1977
- ซีเกมส์ 1989
- ซีเกมส์ 2001
- ซีเกมส์ 2017
- อาเซียนพาราเกมส์ 2001
- อาเซียนพาราเกมส์ 2009
- อาเซียนพาราเกมส์ 2017
อาเซียนพาราเกมส์
- อาเซียนพาราเกมส์
- อาเซียนพาราเกมส์ 2001
- อาเซียนพาราเกมส์ 2003
- อาเซียนพาราเกมส์ 2005
- อาเซียนพาราเกมส์ 2008
- อาเซียนพาราเกมส์ 2009
- อาเซียนพาราเกมส์ 2011
- อาเซียนพาราเกมส์ 2014
- อาเซียนพาราเกมส์ 2015
- อาเซียนพาราเกมส์ 2017
หรือที่รู้จักกันในชื่อ อาเซี่ยนพาราเกมส์ 2009