สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: ภาษามาลายาลัมภาษาทมิฬอักษรพราหมีอักษรกวิอักษรมอญอักษรมาลายาลัมอักษรสระประกอบอักษรทมิฬอักษรขอมอักษรครันถะคริสต์ศตวรรษที่ 14คริสต์ศตวรรษที่ 6ประเทศอินเดียเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- อักษรโบราณ
- อักษรในตระกูลอักษรพราหมี
ภาษามาลายาลัม
ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..
ดู อักษรปัลลวะและภาษามาลายาลัม
ภาษาทมิฬ
ษาทมิฬ (தமிழ்) เป็นหนึ่งใน ตระกูลภาษาดราวิเดียน เป็นหนึ่งในภาษาคลาสสิกของโลก วรรณกรรมภาษาทมิฬได้มีมาเป็นเวลา 2,500 ปีแล้ว และเป็นภาษาคลาสสิกภาษาแรกที่มีพัฒนาการเขียนแบบเฉพาะสำหรับบทกวี เสียง "l" ในคำว่า "Tamil" ออกเสียง "คล้าย" กับ "ร" กล่าวคือ ออกเสียงโดยให้ปลายลิ้นส่วนล่างติดกับเพดานปาก และมักจะเขียนเป็น "zh" ในอักษรโรมัน (ตรงกับเสียง j ในภาษาฝรั่งเศส ส่วนภาษาไทยไม่มีเสียงที่เทียบได้ตรง) เชื่อว่าอักษร 'ழ' ซึ่งพบใน 'தமிழ்' (ทมิฬ) มีการออกเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่พบในภาษาอื่น ๆ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อักษรทมิฬ.
อักษรพราหมี
อักษรพราหมี อักษรพราหมี (อ่านว่า พราม-มี) เป็นต้นกำเนิดของอักษรในอินเดียมากมาย รวมทั้งอักษรเขมรและอักษรทิเบตด้วย พบในอินเดียเมื่อราว..
อักษรกวิ
ตราประทับ "บูตวน คำว่าบูตวนเขียนด้วยอักษรกวิ (ด้านซ้ายเป็นตรา; ด้านขวาเป็นรอยประทับ) อักษรกวิ (กะ-วิ) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรในอินเดียใต้ ใช้ในบริเวณหมู่เกาะ เช่น ชวา สุมาตรา ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ.
อักษรมอญ
อักษรมอญ เป็นตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ และอักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในอักษรธรรมล้านนาและอักษรธรรมลาว อักษรมอญ เป็นอักษรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรพม่ามาก และสามารถนำไปใช้แทนอักษรพม่าได้ทุกตัว แต่อักษรพม่าไม่สามารถใช้แทนอักษรมอญได้ทุกตัว เพราะอักษรมอญมีตัวอักษรที่เพิ่มขึ้นมาจากอักษรพม่าปกต.
อักษรมาลายาลัม
อักษรมาลายาลัม หรือ อักษรมาลายะลัม ใช้เขียนภาษามาลายาลัม ปรากฏครั้งแรกในจารึก อายุราว พ.ศ. 1373 พัฒนามาจากอักษรวัตเตศุถุ ซึ่งมาจากอักษรพราหมีอีกต่อหนึ่ง เนื่องจากรูปแบบของอักษรมาลายาลัมไม่เหมาะกับการพิมพ์ จึงมีการปรับรูปแบบให้ง่ายเข้าในช่วง..
ดู อักษรปัลลวะและอักษรมาลายาลัม
อักษรสระประกอบ
อักษรเทวนาครีเป็นอักษรสระประกอบชนิดหนึ่ง อักษรสระประกอบ เป็นรูปแบบของระบบการเขียนรูปแบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยพยัญชนะและสระ แต่พยัญชนะจะมีความสำคัญมากกว่าสระ ซึ่งแตกต่างจากอักษรสระ-พยัญชนะ (alphabet) ที่เป็นระบบการเขียนทั้งสระและพยัญชนะจะมีความสำคัญเท่าเทียมกัน และแตกต่างจากอักษรไร้สระ (abjad) ซึ่งมักจะไม่มีรูปสระปรากฏอยู่เลย ในบรรดาระบบการเขียนทั้งหมดในโลกนี้ มีอยู่ประมาณครึ่งหนึ่งของระบบการเขียนทั้งหมดที่เป็นอักษรสระประกอบ ซึ่งอักษรไทยก็เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน คำว่า "อักษรสระประกอบ" เป็นคำแปลจากคำว่า abugida ซึ่งเป็นคำที่ Peter T.
ดู อักษรปัลลวะและอักษรสระประกอบ
อักษรทมิฬ
'''ตัวอย่างของตลกาปปิยัมเขียนด้วยอักษรทมิฬ''' อักษรทมิฬ พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณ จารึกอักษรทมิฬเก่าสุดมีอายุราว พ.ศ.
อักษรขอม
ลาจารึกอักษรขอมโบราณ ที่เสาในปราสาทโลเลย ลัญจกรพระบรมราชโองการสำหรับพิมพ์หัวกระดาษประกาศกฎหมายต่างๆ แบบที่ใช้ในช่วงก่อน พ.ศ.
อักษรครันถะ
อักษรครันถะ (เทวนาครี ग्रन्थ หมายถึง "หนังสือ" หรือ "จารึก") หรือ อักษรคฤนถ์ หรือ อักษรคฤณถ์ พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มปรากฏเมื่อราว..
คริสต์ศตวรรษที่ 14
ริสต์ศตวรรษที่ 14 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1301 ถึง ค.ศ. 1400.
ดู อักษรปัลลวะและคริสต์ศตวรรษที่ 14
คริสต์ศตวรรษที่ 6
ริสต์ศตวรรษที่ 6 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 501 ถึง ค.ศ. 600.
ดู อักษรปัลลวะและคริสต์ศตวรรษที่ 6
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ดู อักษรปัลลวะและประเทศอินเดีย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู อักษรปัลลวะและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ดูเพิ่มเติม
อักษรโบราณ
- ภาษาอาระเบียเหนือโบราณ
- อักษรกลาโกลิติก
- อักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์
- อักษรกวิ
- อักษรขโรษฐี
- อักษรจูร์เชน
- อักษรซัลเตอร์
- อักษรดิเวส อกุรุ
- อักษรปัลลวะ
- อักษรพราหมี
- อักษรพาร์เทียน
- อักษรรูน
- อักษรรูนส์ ฮังการี
- อักษรรูปลิ่ม
- อักษรลิเดีย
- อักษรสินธุ
- อักษรอริยกะ
- อักษรอีลาไมต์
- อักษรเซลติเบเรียน
- อักษรเบยทากุกจู
- อักษรเปอร์มิกโบราณ
- อักษรเปอร์เซียกลาง
- อักษรเมรอยติก
- อักษรเอลบ์ซาน
- อักษรโอคัม
- อักษรไกถี
- อักษรไซปรัส
- อักษรไทยฝักขาม
- อักษรไทอาหม
อักษรในตระกูลอักษรพราหมี
- ตระกูลอักษรพราหมี
- ภาษากุรุข
- ภาษาสุนุวาร์
- ภาษาไทใต้คง
- อักษรกทัมพะ
- อักษรกลิงคะ
- อักษรกวิ
- อักษรกันนาดา
- อักษรขอมไทย
- อักษรครันถะ
- อักษรคุชราต
- อักษรคุปตะ
- อักษรจาม
- อักษรชวา
- อักษรตักบันวา
- อักษรทมิฬ
- อักษรทิเบต
- อักษรธรรมล้านนา
- อักษรบาตัก
- อักษรบาหลี
- อักษรบูฮิด
- อักษรปัลลวะ
- อักษรพราหมี
- อักษรมณีปุระ
- อักษรรัญชนา
- อักษรลนตารา
- อักษรลัณฑา
- อักษรลาว
- อักษรลิมบู
- อักษรศารทา
- อักษรสิงหล
- อักษรสิทธัม
- อักษรสิเลฏินาครี
- อักษรฮานูโนโอ
- อักษรเตลูกู
- อักษรเทวนาครี
- อักษรเลปชา
- อักษรเสาราษฏร์
- อักษรโมฑี
- อักษรโอริยา
- อักษรไกถี
- อักษรไทน้อย
- อักษรไทย
- อักษรไทยฝักขาม
- อักษรไทลื้อ
- อักษรไทอาหม
- อักษรไทเวียด
- อักษรไทใต้คง
- อักษรไบบายิน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Grantha script