สารบัญ
25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2537มรดกโลกวัดกิงกะกุวัดคิงกะกุวัดคิโยะมิซุวัดนิชิฮงงันวัดนินนะวัดโทวัดไดโงะวัดไซโฮวัดเบียวโดวัดเรียวอังวัดเอ็นเรียะกุวัดเท็นรีวศาลเจ้าคะมิงะโมะสำนักรินไซอุจิจังหวัดชิงะจังหวัดภูเก็ตจังหวัดเกียวโตประเทศไทยปราสาทนิโจโอตสึเกียวโต (นคร)เทียนไถ
- สิ่งก่อสร้างในจังหวัดเกียวโต
- เกียวโต
- แหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและพ.ศ. 2537
มรดกโลก
ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและมรดกโลก
วัดกิงกะกุ
วัดกิงกะกุ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ วัดจิโช เป็นวัดในเขตซะเกียว นครเคียวโตะ สร้างขึ้นโดยโชกุนอะชิกะงะ โยะชิมะซะ ในสมัยยุคมุโระมะชิเมื่อ..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดกิงกะกุ
วัดคิงกะกุ
วัดคิงกะกุ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดโระกุอง ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ จังหวัดเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น มีศาลาทองเป็นจุดเด่นของวัด แรกเริ่มศาลาทองสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดคิงกะกุ
วัดคิโยะมิซุ
วัดคิโยะมิซุ ตั้งอยู่บนเขาโอะโตะวะ ทางตะวันออกของนครเคียวโตะ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองเคียวโตะ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เคียวโตะโบราณ (Historic Monuments of Ancient Kyoto) ซึ่งเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก อาคารหลักของวัดคิโยะมิซุได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสมบัติประจำชาติญี่ปุ่น ชื่อของวัดซึ่งมีความหมายว่าน้ำบริสุทธิ์ มีที่มาจากน้ำตกที่ไหลผ่านเนินเขาลงมาบริเวณวัด ตำนานการสร้างวัดคิโยะมิซุกล่าวว่า ในค.ศ.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดคิโยะมิซุ
วัดนิชิฮงงัน
วัดนิชิฮงงัน หรือ วัดฮงงันตะวันตก เป็นหนึ่งในสองวัดพุทธของสำนักโจโดชินชูในนครเคียวโตะ อีกวัดหนึ่งคือ วัดฮิงะชิฮงงัน (วัดฮงงันตะวันออก) วัดแห่งนี้ถูกจัดตั้งขึ้นใน..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดนิชิฮงงัน
วัดนินนะ
วัดนินนะ วัดในพระพุทธศาสนานิกายชิงงงที่ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดนินนะ
วัดโท
ีย์ห้าชั้นแห่งวัดโท วัดโท เป็นวัดพุทธในสายชินงอน ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ ชื่อของวัดมีความหมายว่า วัดตะวันออก ในอดีตเคยมีวัดไซจิ หรือวัดตะวันตก อยู่เป็นคู่กัน ทั้งสองวัดนี้ตั้งอยู่ข้างประตูราโช ซึ่งเป็นประตูเมืองของเมืองหลวงเฮย์อัน มีชื่อที่เป็นที่รู้จักอย่างเป็นทางการว่า Kyō-ō-gokoku-ji ชื่อนี้บ่งชี้ว่าในอดีตเป็นวัดที่สร้างขึ้นเพื่อให้คอยปกป้องคุ้มครองประเทศชาติ วัดโทนี้ตั้งอยู่ในเขตมินามิ ใกล้กับทางแยกที่ถนนโอมิยะตัดกับถนนคุโจ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสถานีรถไฟเกียวโต วัดโทสร้างขึ้นเมื่อปี 796 สองปีหลังจากที่ย้ายเมืองหลังมายังเฮย์อัน หรือเกียวโตในปัจจุบัน ในปี 823 พระโคโบะ ไดชิ หรือคุไค ได้เข้ามาดำเนินการต่อเติมและพัฒนาวัดตามพระบัญชาของจักรพรรดิซางะ พระประธานของวัดคือ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภา (Yakushi Nyorai) หรือพระพุทธเจ้าหมอ อาคารโบราณในวัดโท พระไภษัชยคุรุ พระไวโรจนพุทธะ พระอมิตาภพุทธะ ไตรโลกยวิชยะ 150px ยมานตกะ ท้าวเวสวัณ พระโพธิสัตว์ เจดีย์ของวัดโทมีความสูง 57 เมตร จัดว่าเป็นอาคารไม้ที่สูงที่สุดในญี่ปุ่น ประวัติความเป็นมาย้อนหลังไปได้ตั้งแต่สมัยเอโดะ เมื่อครั้งที่เจดีย์ถูกสร้างขึ้นใหม่ตามคำสั่งของอิเอมิตสึ โชกุนรุ่นที่ 3 แห่งตระกูลโทคุงาวะ ปัจจุบันเจดีย์นี้เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของเมืองเกียวโต ทางเข้าสู่ภายในเจดีย์จะเปิดให้เข้าชมเพียงไม่กี่วันในแต่ละปี อาคารต่างๆของวัดโทเป็นสถานที่เก็บรักษาพระพุทธรูปโบราณจำนวนมาก ในลานวัดมีสวนหย่อมและสระน้ำที่เลี้ยงเต่าและปลาคาร์ปไว้ และยังมีโรงเรียนราคุนัน ซึ่งดำเนินการโดยทางวัดเอง นักเรียนจากที่นี่สามารถเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยชั้นนำเป็นจำนวนมาก จากความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเป็นศูนย์กลางแห่งจิตวิญญาณ องค์การยูเนสโกจึงขึ้นทะเบียนวัดโทให้เป็นมรดกโลก พร้อมกับสถานที่อื่นๆในเมืองเกียวโต ในวันที่ 21 ของทุกเดือน ในลานวัดจะมีการจัดเป็นตลาดนัด มีชื่อเรียกกันว่า โคโบะซัน (Kobo-san) เพื่อระลึกถึงพระโคโบะ ไดชิ ซึ่งมรณภาพในวันที่ 21 มีนาคม ตลาดนัดนี้จำหน่ายสินค้าจำพวกของเก่า ผลงานศิลปะ เสื้อผ้า เครื่องปั้นดินเผา อาหาร และของใช้มือสองต่างๆ ตลาดนัดครั้งที่ใหญ่ที่สุดจะจัดขึ้นในวันที่ 21 ธันวาคม ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของปี ในลานวัดโทจะมีจัดตลาดขายของเก่าที่มีขนาดเล็กกว่าโคโบะซัน โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของแต่ละเดือน.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดโท
วัดไดโงะ
วัดไดโงะ เป็นวัดพุทธชิงงง ในเขตฟุชิมิ ของนครเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชาแก่ พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคต พระพุทธเจ้าของนิกายมหายาน พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ วัดไดโงะสร้างในตอนต้นของยุคเฮอัง ในปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดไดโงะ
วัดไซโฮ
วัดไซโฮ เป็นวัดนิกายเซนของสำนักรินไซ ตั้งอยู่ในเขตนิชิเกียว นครเคียวโตะ วัดแห่งนี้มีสวนมอสที่มีชื่อเสียง ทำให้มีฉายาว่า วัดมอส (苔寺 โคะเกะ เดะระ) วัดแห่งนี้สร้างขึ้นในยุคนะระเพื่อเป็นพุทธบูชาต่อพระอมิตาภพุทธะ วัดไซโฮถูกเพลิงไหม้วอดในสงครามโอนินระหว่างปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดไซโฮ
วัดเบียวโด
ลาหงส์ วัดเบียวโด วัดเบียวโด ตั้งอยู่ในเมืองอุจิ จังหวัดเคียวโตะ สร้างขึ้นเมื่อปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดเบียวโด
วัดเรียวอัง
วัดเรียวอัง เป็นวัดของพุทธศาสนานิกายเซน สำนักรินไซ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของนครเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ภายในวัดยังมีลานสวนหินที่มีชื่อเสียงอย่างมากที่เรียกว่า คะเซะ-ซันซุย ซึ่งเป็นการจัดสวนแบบหนึ่งของเซ็น ทั้งนี้ ตัววัดและสวน ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นส่วนหนึ่งของอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ ที่มีสถานะเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโก ที่ดินของวัดนี้ เดิมทีเป็นที่ดินของตระกูลฟุจิวะระ ในพุทธศตวรรษที่ 16 โดยวิหารหลังแรก (ปัจจุบันไม่มีอยู่) และบ่อน้ำขนาดใหญ่ถูกสร้างโดยฟุจิวะระ ซะเนะโยะชิ มหาเสนาบดีฝ่ายขวา ต่อม..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดเรียวอัง
วัดเอ็นเรียะกุ
วัดเอ็นเรียะกุ เป็นวัดพุทธนิกายเท็นได ตั้งอยู่บนเขาเฮเอในเมืองโอสึ ไม่ไกลจากนครเกียวโต ก่อตั้งในต้นยุคเฮอังโดยภิกษุไซโช ซึ่งนำศาสนาพุทธมหายานนิกายเทียนไถจากจีนมาเผยแพร่ในญี่ปุ่นโดยได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิคัมมุ และกลายเป็นวัดต้นสังกัดของวัดนิกายเท็นไดในญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในวัดสำคัญที่สุดทางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ยุคมุโระมะชิถือเป็นยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของนิกายเท็นได โดยวัดเอ็นเรียะกุมีวัดสาขาอยู่มากกว่า 3,000 แห่งทั่วญี่ปุ่นและมีกองทัพภิกษุ (僧兵 โซเฮ) ที่ทรงอิทธิพลเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุผลที่ทำให้ ขุนพล โอะดะ โนะบุนะงะ ผู้ต้องการพิชิตศัตรูและผนวกญี่ปุ่นให้เป็นปึกแผ่น ได้โจมตีและทำลายวัดเอ็นเรียะกุอย่างสิ้นซากและสังหารภิกษุจำนวนมากในปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดเอ็นเรียะกุ
วัดเท็นรีว
วัดเท็นรีว หรือ วัดมังกรสวรรค์ เป็นวัดเอกของนิกายเซน สำนักรินไซ สาขาเท็นรีว ตั้งอยู่ในเขตอุเกียว ในนครเคียวโตะ วัดนี้ถูกสร้างขึ้นโดยอะชิกะงะ ทะกะอุจิ ปฐมโชกุนแห่งอะชิกะงะ เริ่มก่อสร้างในปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและวัดเท็นรีว
ศาลเจ้าคะมิงะโมะ
ลเจ้าคะมิงะโมะ ศาลเจ้าคะมิงะโมะ หรือชื่อทางการคือ ศาลเจ้าคะโมะวะเกะอิกะซุชิ เป็นศาลเจ้าชินโตที่สำคัญ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำคะโมะทางตอนเหนือของเมืองเคียวโตะ สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและศาลเจ้าคะมิงะโมะ
สำนักรินไซ
ำนักรินไซ เป็นหนึ่งในสามสำนักของศาสนาพุทธนิกายเซน ของญี่ปุ่น (อีกสองสำนักคือ สำนักโซโต และ สำนักโอบะกุ).
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและสำนักรินไซ
อุจิ
อุจิ เป็นเมืองในจังหวัดเคียวโตะ ในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางใต้ของนครเคียวโตะ เมืองอุจิถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและอุจิ
จังหวัดชิงะ
ังหวัดชิงะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บริเวณภาคคันไซ มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโอสึ มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 4,017.36 ตารางกิโลเมตร.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและจังหวัดชิงะ
จังหวัดภูเก็ต
ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและจังหวัดภูเก็ต
จังหวัดเกียวโต
ังหวัดเกียวโต เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บนเกาะฮนชู มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือเมืองเกียวโต มีความสำคัญเคยเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น มีโบราณวัตถุมากมาย มีชื่อในการทำผ้าไหมและแพร.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและจังหวัดเกียวโต
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและประเทศไทย
ปราสาทนิโจ
กำแพงชั้นในและคูน้ำในปราสาทนิโจ ประตูทางเข้าหลักสู่พระราชวังนิโนะมะรุ ลวดลายแกะสลักที่ประตูทางเข้าพระราชวังนิโนะมะรุ พระราชวังฮนมะรุ สระน้ำในอุทยานนิโนะมะรุ ปราสาทนิโจ เป็นปราสาทสถาปัตยกรรมญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเมืองเคียวโตะ ประเทศญี่ปุ่น ประกอบไปด้วยป้อมปราการที่เรียงตัวเป็นวงแหวนสองชั้น พระราชวังนิโนะมะรุ ซากพระราชวังฮนมะรุ และอาคารอื่นกับสวนอุทยานอีกหลายแห่ง อาณาบริเวณของปราสาทมีพื้นที่ทั้งหมด 275,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่ที่อาคารสร้างทับอยู่ 8,000 ตารางเมตร.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและปราสาทนิโจ
โอตสึ
อตสึ เป็นเมืองหลักของจังหวัดชิงะ ประเทศญี่ปุ่น ในปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและโอตสึ
เกียวโต (นคร)
แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและเกียวโต (นคร)
เทียนไถ
นิกายสัทธรรมปุณฑริกสูตร หรือ นิกายเทียนไถ (天台宗 Tiāntái) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาพุทธในประเทศจีน ก่อตั้งโดยฉีอี้ นับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นคัมภีร์หลัก.
ดู อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณและเทียนไถ
ดูเพิ่มเติม
สิ่งก่อสร้างในจังหวัดเกียวโต
- อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ
เกียวโต
- อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ
- เกียวโต
แหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น
- ปราสาทชูริ
- ปราสาทนิโจ
- ปราสาทฮิเมจิ
- พุทธสถานในพื้นที่โฮรีวจิ
- ภูเขาฟูจิ
- รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น
- ศาลเจ้าคาโมะ
- ศาลเจ้านิกโกโทโช
- ศาลเจ้าและวัดแห่งนิกโก
- อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ
- อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะ
- แหล่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมจิของญี่ปุ่นฯ
- แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เคียวโตะโบราณอนุสรณ์ประวัติศาสตร์เคียวโตะโบราณอนุสาวรีย์ทางประวัติศาสตร์แห่งเมืองเกียวโตะโบราณสถานแห่งเคียวโตะโบราณ