เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

ดัชนี หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานวิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ "โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอบศตวรรษ" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี..

สารบัญ

  1. 101 ความสัมพันธ์: 'รงค์ วงษ์สวรรค์ชิต บุรทัตบุญส่ง เลขะกุลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระราชพิธีสิบสองเดือนพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พล นิกร กิมหงวนกรุณา กุศลาสัยกฤษณา อโศกสินกวีนิพนธ์กัณหา เคียงศิริกามนิตกุหลาบ สายประดิษฐ์ภาษาไทยมัทนะพาธามาลัย ชูพินิจมนัส จรรยงค์ร. จันทพิมพะละครแห่งชีวิตลูกอีสาน (นวนิยาย)วิทยากร เชียงกูลศักดิชัย บำรุงพงศ์ศิลป์ พีระศรีส. ธรรมยศสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสามัคคีเภทคำฉันท์สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสุชีพ ปุญญานุภาพสุภา ศิริมานนท์สุภา สิริสิงหสุลักษณ์ ศิวรักษ์สุวรรณี สุคนธาสุวัฒน์ วรดิลกสี่แผ่นดินสด กูรมะโรหิตหญิงคนชั่วหม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช... ขยายดัชนี (51 มากกว่า) »

'รงค์ วงษ์สวรรค์

'รงค์ วงษ์สวรรค์ เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและ'รงค์ วงษ์สวรรค์

ชิต บุรทัต

นายชิต บุรทัต (6 กันยายน พ.ศ. 2435 - 27 เมษายน 2485) บุตรนายชู นางปริก เดิมนามสกุล "ชวางกูร" เป็นผู้มีความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ร้อยกรอง โดยเฉพาะฉันท์ เป็นกวีที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 6 สมรสกับนางจั่น แต่ไม่มีบุตรธิดา SKRT.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและชิต บุรทัต

บุญส่ง เลขะกุล

น.พ.บุญส่ง เลขะกุล บนปกนิตยสารเอเชียวีก นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล (15 ธันวาคม พ.ศ. 2450 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หมอบุญส่ง เป็นแพทย์ ช่างภาพ จิตรกร นักเขียน และอาจารย์ มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นผู้บุกเบิกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้และสัตว์ป่าของประเทศไท.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและบุญส่ง เลขะกุล

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)

มหาอำมาตย์เอก พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เป็นบุตรพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) มารดาชื่อ ศิลา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)

พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

พระราชพิธีสิบสองเดือน

ระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เพื่อพิมพ์แจกสมาชิกหนังสือวชิรญาณ ของหอพระสมุดวชิรญาณ เมื่อ พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระราชพิธีสิบสองเดือน

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

พล นิกร กิมหงวน

ล นิกร กิมหงวน สามเกลอเปลี่ยนทางมาที่นี่ ความหมายอื่นดูที่ สามเกลอ (แก้ความกำกวม) พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ เป็นหัสนิยาย ประพันธ์โดย ป.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและพล นิกร กิมหงวน

กรุณา กุศลาสัย

กรุณา กุศลาสัย (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2463 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2552) เป็นนักเขียนบทความและสารคดี เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต และวัฒนธรรมอินเดีย ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลศรีบูรพา ประจำปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและกรุณา กุศลาสัย

กฤษณา อโศกสิน

กฤษณา อโศกสิน เป็นนามปากกาที่แพร่หลายที่สุดของ สุกัญญา ชลศึกษ์ นักประพันธ์สตรีผู้เรืองนาม และมากประสบการณ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและกฤษณา อโศกสิน

กวีนิพนธ์

กวีนิพนธ์ (Poetry, Poem, Poesy) คือรูปแบบทางศิลปะที่มนุษย์ใช้ภาษา เพื่อคุณประโยชน์ด้านสุนทรียะ ซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมาย นับเป็นส่วนหนึ่งของวรรณกรรม โดยเป็นคำประพันธ์ที่กวีแต่ง เป็นงานเขียนที่มีวรรณศิลป์ เร้าให้สะเทือนอารมณ์ได้ คำที่มีความหมายทำนองเดียวกันได้แก่ ร้อยกรอง ซึ่งหมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกับ กวีนิพนธ์ และร้อยกรอง ได้แก่ บทกวี บทประพันธ์ คำประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานท์ กานท์ รวมทั้งคำว่า ฉันท์ กาพย์ และกลอน ซึ่งในปัจจุบันหมายถึงคำประพันธ์ที่มีรูปแบบต่างกัน ก็เคยใช้ในความหมายเดียวกันกับ กวีนิพนธ์ และ ร้อยกรอง มาในยุคสมัยหนึ่ง ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่า บทกวี ส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าว เรียกว่า กวี หรือ นักกวี บทกวี คือ ภาษาของอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คือเครื่องมือที่จะนำสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นข่าวสารออกมาแสดงให้ประจักษ์ ตระหนัก ตระหนก สะทก สะท้อน กวีอาจไม่มีหน้าที่สรุปหรือฟันธงความจริง แต่กวีอาจหมุนแปรคำและความให้เห็นความจริงใหม่ ๆ ของชีวิตหลายด้าน ทั้งเรื่องที่บางทีคนทั่วไปคิดไม่ถึง และแม้แต่ตัวกวีเองก็เพิ่งจะคิดถึง.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและกวีนิพนธ์

กัณหา เคียงศิริ

กัณหา เคียงศิริ (26 กุมภาพันธ์ 2454 - 23 มิถุนายน 2542) นักเขียนหญิงที่มีชื่อเสียงของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปีพ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและกัณหา เคียงศิริ

กามนิต

กามนิต (Der Pilger Kamanita) เป็นวรรณกรรมประเภทนวนิยายอิงพระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงมาก ประพันธ์ในปี ค.ศ. 1906 โดยคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป นักประพันธ์ชาวเดนมาร์ก ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและกามนิต

กุหลาบ สายประดิษฐ์

กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและกุหลาบ สายประดิษฐ์

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและภาษาไทย

มัทนะพาธา

มัทนะพาธา เป็นบทละครพูดคำฉันท์ 5 องก์ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นทั้งหมดด้วยพระองค์เองโดยไม่ได้อิงเนื้อหามาจากที่อื่น ทรงพระราชนิพนธ์ทั้งเริ่มและจบลงในปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและมัทนะพาธา

มาลัย ชูพินิจ

มาลัย ชูพินิจ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่บ้านริมแม่น้ำปิง ตำบลคลองสวนหมาก (ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนครชุม) อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรของ นายสอน และนางระเบียบชูพินิจ บิดาและมารดาประกอบอาชีพทางด้านการค้าไม้สักและไม้กระยาเลย เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทย นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ครูมาลัย ใช้นามปากกา "แม่อนงค์" "น้อย อินทนนท์" "นายฉันทนา" เป็นต้น ในวัยเด็ก มาลัย ชูพินิจ เข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่จังหวัดกำแพงเพชร จนจบชั้นประโยคประถมศึกษา เมื่ออายุประมาณ 10 ปี จึงเข้าไปศึกษาต่อในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับสูงจนจบประโยคมัธยมศึกษา (ม.8) เมื่อ ปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและมาลัย ชูพินิจ

มนัส จรรยงค์

มนัส จรรยงค์ (10 มิถุนายน พ.ศ. 2450 ที่จังหวัดเพชรบุรี — 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508) เป็นนักเขียนชาวไทย ได้รับการยกย่องว่าเป็น "ราชาเรื่องสั้นของเมืองไทย " มนัส จรรยงค์ เกิดที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรคนโตในจำนวน 10 คนของนายผ่องและนางเยื้อน จรรยงค์ เมื่อจบชั้นมัธยม 2 บิดามารดาได้ส่งไปเรียนหนังสือที่กรุงเทพ ที่โรงเรียนสุขุมาลัย วัดพิชัยญาติ โดยพักอาศัยอยู่ที่บ้านเจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) แล้วไปเป็นนักเรียนประจำที่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยาจนจบชั้นมัธยม 6 และออกจากโรงเรียนเมื่อขึ้นชั้นมัธยม 7 เพราะผลการเรียนตกต่ำ ออกไปเผชิญชีวิตภายนอกเป็นนักแสดงกายกรรม แอบโดยสารใต้ท้องรถไฟเพื่อไปเป็นกรรมกรเหมืองแร่ที่ภาคใต้ และถูกนายตรวจจับได้ จึงต้องเดินเท้ากลับ เมื่อ..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและมนัส จรรยงค์

ร. จันทพิมพะ

ร.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและร. จันทพิมพะ

ละครแห่งชีวิต

ละครแห่งชีวิต เป็นนวนิยายที่แต่งโดย หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2472 นับเป็นนวนิยายเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งของไทย เป็นหนึ่งในนวนิยายยุคแรกที่แต่งโดยนักประพันธ์ไทย มีเนื้อหาในทำนองเป็นเรื่องของคนไทยผู้หนึ่ง ซึ่งมีโชคหมุนเวียนเปลี่ยนกลับอย่างประหลาดและพิสดาร จะพาท่านไปเที่ยวในที่ต่างๆ ทั่วโลก สมาคมกับคนทุกชนชั้น ทุกภาษา ความโศก ความรัก ความหวานหอมและความขมขื่นแห่งชีวิตของตัวสำคัญในเรื่อง จะทำให้รู้สึกว่า ละครแห่งชีวิต เป็นเรื่องที่สนุก ดี และกินใจ ภาพปกหนังสือ ละครแห่งชีวิต ของ ม.จ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและละครแห่งชีวิต

ลูกอีสาน (นวนิยาย)

ลูกอีสาน เป็นหนังสือนวนิยายของคำพูน บุญทวี ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียนประจำปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและลูกอีสาน (นวนิยาย)

วิทยากร เชียงกูล

วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและวิทยากร เชียงกูล

ศักดิชัย บำรุงพงศ์

ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและศักดิชัย บำรุงพงศ์

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและศิลป์ พีระศรี

ส. ธรรมยศ

. ธรรมยศ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) ครู นักเขียน นักปรัชญาและนักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ นามจริง แสน ธรรมยศ เกิดที่ตำบลปงพระเนตช้าง ลำปาง ในตระกูล ณ ลำปาง มีพี่สาวชื่อจันทร์สม เริ่มต้นการศึกษาที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เมืองลำปาง ต่อมาย้ายมาอยู่ที่เทพศิรินทร์ และสอบชิงทุนไปเรียนปรัชญาที่ประเทศเวียดนาม แต่ถูกปฏิเสธเพราะมีการกำหนดตัวผู้สอบได้แล้ว พระสารสานส์พลขันธ์ และอาจารย์ฝรั่งคนหนึ่งสละเงินส่วนตัวส่งไปเรียนหนึ่งปี จากนั้นต้องใช้เงินส่วนตัวและญาติ ๆ ช่วยอุดหนุนกันไป เนื่องจากเป็นคนเก่งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จึงเป็นล่ามตั้งแต่อายุ 14 ปี ไปเมืองญวนก็ไปสอนภาษาอังกฤษให้นักเรียนที่นั่นด้วย เมื่อเรียนจบทำงานเป็นบรรณาธิการผู้ช่วยหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส La Lute (การต่อสู้) นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ ประชาธิปไตย จากประเทศไทย กลับมาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและส. ธรรมยศ

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายมั่ง พระโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดานิ่มซึ่งเป็นธิดาของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ประสูติเมื่อวันเสาร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 7 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สามัคคีเภทคำฉันท์

มัคคีเภทคำฉันท์ เป็นนิยายคำฉันท์ขนาดสั้นไม่กี่สิบหน้ากระดาษเท่านั้น แต่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความงดงามทางวรรณศิลป์ ทั้งยังได้รับการคัดเลือกเป็นหนังสือประกอบการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทยด้วย หนังสือ สามัคคีเภทคำฉันท์ (ฉบับกระทรวงศึกษาธิการจัดพิมพ์ เขียนเว้นวรรค เป็น "สามัคคีเภท คำฉันท์") นี้ นายชิต บุรทัต ได้แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสามัคคีเภทคำฉันท์

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

สุชีพ ปุญญานุภาพ

ีพ ปุญญานุภาพ (13 เมษายน พ.ศ. 2460 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) เป็นนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับทั้งจากพุทธศาสนิกชนและคณะสงฆ์ไทยอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่สมบูรณ์ด้วยวิชาความรู้ทางพระพุทธศาสนาอย่างเยี่ยมยอด หาใครเทียมได้ยาก ในเวลาเดียวกัน ก็มีความประพฤติที่ดีงาม สุภาพอ่อนโยน ระหว่างที่ท่านเคยบวชเป็นพระอยู่ในชื่อว่า สุชีโว ภิกขุ ท่านมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เพราะประการแรก ท่านเชี่ยวชาญพระพุทธศาสนาเป็นเลิศ ประการที่สอง ท่านรอบรู้วิชาการสมัยใหม่อย่างเยี่ยม ประการที่สาม ท่านเป็นพระภิกษุไทยรูปแรกที่บรรยายธรรมเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างชาวพุทธในต่างประเทศกับประเทศไทย แม้ว่าท่านจะมีภาระงานมากมาย แต่ท่านก็เป็นนักเขียน ที่ผลิตงานเขียน ทั้งในรูปหนังสือและตำราเผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนา รวมทั้งนวนิยายอิงธรรมะเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น ยังเป็นผู้บุกเบิกทำพจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนาอีกด้วย อาจารย์สุชีพได้ถึงแก่กรรมลง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสุชีพ ปุญญานุภาพ

สุภา ศิริมานนท์

ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสุภา ศิริมานนท์

สุภา สิริสิงห

ริสิงห (13 สิงหาคม พ.ศ. 2488 -) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "โบตั๋น" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสุภา สิริสิงห

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสุลักษณ์ ศิวรักษ์

สุวรรณี สุคนธา

วรรณี สุคนธา เป็นนามปากกาของ สุวรรณี สุคนธ์เที่ยง (1 มีนาคม พ.ศ. 2475 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) นักเขียนชาวไทย สุวรรณีเป็นบุตรของนายย้อยและนางแตงอ่อน มีพี่ชายหนึ่งคน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนผดุงนารี-กวีพิทยา ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก แล้วมาต่อที่วิทยาลัยเพาะช่างสองปี และคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสำเร็จการศึกษาและได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงจิตรกรรม เมื่อ พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสุวรรณี สุคนธา

สุวัฒน์ วรดิลก

วัฒน์ วรดิลก (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 - 15 เมษายน พ.ศ. 2550) (นามสกุลเดิม “พรหมบุตร”) บุตรของ ขุนวรกิจอักษร กับ นางจำรัส (ชีวกานนท์) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ และได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ใช้นามปากกาหลายชื่อ ที่รู้จักกันดีคือ "รพีพร" มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ ทวีป วรดิลก ซึ่งเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงเช่นกัน.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสุวัฒน์ วรดิลก

สี่แผ่นดิน

ี่แผ่นดิน เป็นวรรณกรรมของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 นับเป็นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของไทย โดยเขียนเป็นตอน ๆ ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ รายวันระหว่างปี 2494-2495 ติดต่อกันเป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มขึ้นครั้งแรกในปี 2496 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 เรื่องลักษณะของตัวละครว่า "แม่พลอยเป็นคนที่ไม่มีสิทธิของผู้หญิงเลย ไม่เคยเรียก ไม่เคยร้อง แล้วแม่พลอยนี่เป็นคนที่เชยที่สุด คุณจะว่านางเอกก็นางเอก แต่เป็นคนเชยที่สุด แม่พลอยถ้าแกอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แกก็ลูกเสือชาวบ้าน แกจะไปรำละครบ้าๆ บอๆ ถึงขนาดนั้น" และ "แม่พลอยเป็นคนเชยมากนะครับ เป็นคนอยู่ในกรอบ ใจดี ถูกจับคลุมถุงชนแต่งงานก็หลงรักคุณเปรมได้ ตามคติโบราณนั้นไม่เป็นไรหรอก แต่งไปก่อนแล้วรักกันเองทีหลัง แม่พลอยเป็นอย่างนั้นทุกอย่าง ที่นี้คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้น ยังไม่ได้ไปถึงไหนเลย คนอ่านส่วนมากก็เป็นระดับแม่พลอย (หัวเราะ) โง่ฉิบหายเล..จะบอกให้..สี่แผ่นดินถึงได้ดัง (หัวเราะ)".

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสี่แผ่นดิน

สด กูรมะโรหิต

กูรมะโรหิต (27 เมษายน พ.ศ. 2451 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) เป็นนักเขียนนวนิยายไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเขียนหลากหลาย ทั้งสารคดี เรื่องสั้น นวนิยาย นวนิยายแปล บทละครเวที และบทภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังเป็นเกษตรกร ที่พยายามนำแนวคิดเกี่ยวกับกิจการสหกรณ์ไว้เป็นจำนวนมาก สด กูรมะโรหิต เกิดที่ตำบลท่าเรือจ้าง จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของอำมาตย์โท พระจรูญภารการ (เติม กูรมะโรหิต) กับนางเหนย กูรมะโรหิต (2417-2512:95 ปี) มีน้องสาวคือ คุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ (2454- 2557 อายุ 103 ปี) บิดาเป็นข้าราชการมหาดไทย ตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมือง ยกกระบัตรมณฑล ปลัดมณฑล และผู้ว่าราชการจังหวัด ในวัยเด็กต้องย้ายตามบิดาไปตามจังหวัดต่างๆ และเข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ตั้งแต่ชั้นประถม 1 ถึงมัธยม 8 เป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ โชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) และหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ โดยมีผลการเรียนดีเด่น เข้าสอบชิงทุนเล่าเรียนหลวงสองครั้งในปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและสด กูรมะโรหิต

หญิงคนชั่ว

หญิงคนชั่ว เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหญิงคนชั่ว

หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์

ร้อยตำรวจเอก รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ (22 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นโอรสใน หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์และหม่อมอ่อน) กับ หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปสร รพีพัฒน์ (กิติยากร)(พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ หรือ ร้อยตำรวจเอก รองศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขากฎหมายจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และปริญญาโทและปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยา จากมหาวิทยาลัยคอร์เนล เคยเป็นอาจารย์สอนหนังสือที่คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเวลา 7 ปี เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการสร้างสรรค์และพัฒนาชุมชน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานมูลนิธิชุมชนไท หม่อมราชวงศ์อคิน ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปี 2535 และได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารจัดการสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 มีผลงานได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ผลงานวิชาการดีเด่น "TTF Award" ประจำปี 2551 จากมูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศไทย ด้วยหนังสือชื่อ "วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ" หม่อมราชวงศ์อคิน มีบุตรสองคน คือ หม่อมหลวงหญิงกฤติกา รพีพัฒน์ และหม่อมหลวงหญิงณพอร รพีพัฒน์ สมรสสองครั้งกับจันทรา ปิตะชาติ และ บังเอิญ เกิดอารี.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมราชวงศ์อคิน รพีพัฒน์

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน

หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน (21 เมษายน พ.ศ. 2451 — 11 เมษายน พ.ศ. 2491) นักเขียนชาวไทย อดีตนายเรืออากาศที่ต้องโทษในคดีกบฏบวร..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน

หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา

หม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม เจ้าศรี ณ น่าน, 19 มีนาคม พ.ศ. 2431 — 25 กันยายน พ.ศ. 2521) พระธิดาในพระเจ้าสุริยะพงศ์ผริตเดช เจ้าประเทศราชผู้ครองนครน่าน กับหม่อมศรีคำ (ชาวเวียงจันทน์) เป็นหม่อมเอกในหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร ทั้งสองท่านได้ออกหนังสือ “กสิกร” มีนักวิชาการ /ผู้รู้ เสนอบทความต่างๆ เกี่ยวกับการเกษตรมากมาย ยังมีคอลัมน์เกี่ยวกับการทำอาหาร และการถนอมอาหาร โดยหม่อม เจ้าศรีพรหมา เช่น การคั้นน้ำผลไม้ การหมักดอง การทำแฮม และเบคอน เป็นต้น.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยา

หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ

ตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เดิมชื่อ หม่อมหลวงบุญเหลือ กุญชร เป็นนักเขียน และนักวิชาการภาษาไทย เป็นธิดาลำดับที่ 32 ของเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกัน.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์

หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์

อง ม.จ.อากาศดำเกิงรพีพัฒน์ บนปกหนังสือ ละครแห่งชีวิต หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (12 พฤศจิกายน 2447 — 18 พฤษภาคม 2475) หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกา วรเศวต เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ กับหม่อมอ่อน ทรงได้รับการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และศึกษาต่อชั้นมัธยม 4 ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ แต่สอบตกชั้นมัธยม 7 จึงออกจากโรงเรียน เดินทางไปศึกษาต่อวิชากฎหมายที่สำนักมิดเดิ้ลเทมเปิ้ล กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ แต่โดยที่ไม่โปรดในเรื่องกฎหมาย จึงทรงคลุกคลีอยู่กับหมู่นักหนังสือพิมพ์อังกฤษ จนล้มเหลวในเรื่องการศึกษา แต่โชคดีที่ได้รับพระราชทานทุนจากรัชกาลที่ 7 ให้ไปศึกษาวิชาการต่างประเทศ ที่เมืองจอร์จทาวน์ สหรัฐอเมริกา แต่ประชวรหนักทำให้ต้องเดินทางกลับประเทศไทย ม..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

อบ ไชยวสุ

อบ ไชยวสุ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540) ครูสอนภาษาไทย นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนเรื่องสั้นแนวชวนหัว เจ้าของนามปากกา ฮิวเมอริสต์ และ L.ก..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและอบ ไชยวสุ

อัศนี พลจันทร

อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและอัศนี พลจันทร

อังคาร กัลยาณพงศ์

อังคาร กัลยาณพงศ์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 — 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นทั้งกวีและจิตรกร เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ศึกษาระดับประถมที่ โรงเรียนวัดจันทาราม ต่อมาก็เรียนที่วัดใหญ่จนจบประถมสี่ แล้วย้ายไปเรียนที่โรงเรียนมัธยมประจำจังหวัด คือ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช ศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่าง และที่คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อังคารเป็นผู้ได้รับการยอมรับในฐานะเป็นจิตรกรและกวี เป็นกวีที่มีความโดดเด่น ทั้งในด้านความคิดและรูปแบบ อีกทั้งยังเป็นกวีที่มีความคิดเป็นอิสระ ไม่ถูกร้อยรัดด้วยรูปแบบที่ตายตัว จึงนับเป็นกวีผู้บุกเบิกกวีนิพนธ์ยุคใหม่ ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้กล่าวถึงผลงานกวีนิพนธ์ของอังคาร กัลยาณพงศ์ ว่ามีความโดดเด่นเป็นอย่างมาก.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและอังคาร กัลยาณพงศ์

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและอาจินต์ ปัญจพรรค์

อิศรา อมันตกุล

อิศรา อมันตกุล นายอิศรา อมันตกุล (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2512) (ชื่อเดิม อิบรอฮีม อะมัน) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ คนสำคัญของประเทศไทย และ นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและอิศรา อมันตกุล

ผู้ชนะสิบทิศ

หน้าปกนวนิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ ฉบับตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2496 ผู้ชนะสิบทิศ เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ งานประพันธ์ชิ้นเอกของ ยาขอบ กล่าวถึงเรื่องราวของนักรบผู้หนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็น "ผู้ชนะสิบทิศ" นั่นคือ พระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุงหงสาวดี นวนิยายได้รับความนิยมมากและดัดแปลงเป็นละครเวที ละครโทรทัศน์ และ ภาพยนตร์ หลายครั้ง ตลอดจน ละครวิทยุ รวมถึงมีการประพันธ์เพลง ผู้ชนะสิบทิศ ซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายด้ว.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและผู้ชนะสิบทิศ

ผู้ดับดวงอาทิตย์

ปกหนังสือเก่า ผู้ดับดวงอาทิตย์ เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ โดย จันตรี ศิริบุญรอด จัดพิมพ์ครั้งแรกโดย บริษัท สำนักพิมพ์ดวงกมล จำกัด เมื่อเดือน กุมภาพันพ์ 2521 โดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี เป็นบรรณาธิการ เป็นเล่มที่ 1 ในชุดนิยายวิทยาศาสตร์ ราคา 15 บาท และ ปรีชา อมาตยกุล อดีตบรรณาธิการนิตยสาร "วิทยาศาสตร์ - มหัศจรรย์" สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไท.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและผู้ดับดวงอาทิตย์

จันตรี ศิริบุญรอด

ันตรี ศิริบุญรอด จันตรี ศิริบุญรอด (31 มีนาคม พ.ศ. 2460 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักเขียนที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งนิยายวิทยาศาสตร์ไท.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและจันตรี ศิริบุญรอด

จิตร ภูมิศักดิ์

ตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 — 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ และนักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์และนักปฏิวัติทางความคิดและวิชาการคนสำคัญของประเทศไทย จิตรเป็นนักวิชาการคนแรกๆ ที่กล้าถกเถียงและคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลและลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด, จากโซ่ตรวนถึงความตายวาระสุดท้ายแห่งชีวิตจิตร ภูมิศักดิ์ จิตรเสียชีวิตในปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและจิตร ภูมิศักดิ์

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและธานินทร์ กรัยวิเชียร

ทวีป วรดิลก

ทวีป วรดิลก (25 สิงหาคม พ.ศ. 2471 - 8 เมษายน พ.ศ. 2548) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและทวีป วรดิลก

ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและดิเรก ชัยนาม

ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ

วามเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ เป็นงานชิ้นสุดท้ายของ จิตร ภูมิศักดิ์ งานค้นคว้านี้สันนิษฐานที่มาของคำต่างๆ โดยชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของลักษณะเชื้อชาติ ลักษณะทางสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในแถบสุวรรณภูมิ ที่ปรากฏขึ้นในรูปภาษา ถือเป็นงานทางนิรุกติศาสตร์และภาษาศาสตร์สังคมที่มีความโดดเด่นอย่างมาก งานค้นคว้าที่ยังเขียนไม่เสร็จนี้ จิตรใช้เวลาเขียนอยู่ประมาณ 7 ปี ในขณะที่ถูกจองจำอยู่ในคุกลาดยาว ช่วง พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ

คำพูน บุญทวี

ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและคำพูน บุญทวี

คำสิงห์ ศรีนอก

ำสิงห์ ศรีนอก (25 ธันวาคม 2473 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ในปีพ.ศ. 2535 มีนามปากกาว่า ลาว คำหอม เกิดที่บ้านหนองบัวสะอาด ตำบลหนองบัวสะอาด อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ในครอบครัวชาวนา ต่อมาสำเร็จการศึกษาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับรางวัลนักเขียนเรื่องสั้นดีเด่น วาระครอบ 100 ปี เรื่องสั้นไท.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและคำสิงห์ ศรีนอก

ป. อินทรปาลิต

ป.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและป. อินทรปาลิต

ปฏิจจสมุปบาท

ปฏิจจสมุปบาท (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) (Paticcasamuppāda; Pratītyasamutpāda) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและปฏิจจสมุปบาท

ประยูร จรรยาวงษ์

ประยูร จรรยาวงษ์ "ราชาการ์ตูนไทย" ภาพลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประยูร จรรยาวงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและประยูร จรรยาวงษ์

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา (สกุลเดิม กรองทอง; 6 กันยายน พ.ศ. 2462 — 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) มีนามปากกาว่า อุชเชนี และ นิด นรารักษ์ เป็นนักเขียนและนักแปลชาวไท.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและปรีดี พนมยงค์

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและป๋วย อึ๊งภากรณ์

นิราศหนองคาย

นิราศหนองคาย เป็นวรรณกรรมประเภทนิราศ หลวงพัฒนพงศ์ภักดี (ทิม สุขยางค์) แต่งในคราวติดตามเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ไปปราบฮ่อที่หลวงพระบาง ประเทศราชไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ขณะนั้นหลวงพัฒนพงศ์ภักดีอายุสิบแปดปี เนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์และสงคราม บรรยายลักษณะกระบวนทัพและการทหารในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น หนองคาย หมวดหมู่:หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและนิราศหนองคาย

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล (वेतालपञ्चविंशति เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล 25 เรื่อง) เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่าง ๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม 25 เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและนิทานเวตาล

นิคม รายยวา

นิคม รายยวา เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2487 ที่ตำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนเชลียง และระดับปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เริ่มต้นการทำงานกับ บริษัทธุรกิจเดี่ยวกับน้ำมันปิโตรเลียมในกรุงเทพฯ ระยะหนึ่ง แล้วเปลี่ยนไปทำงานอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทางภาคใต้ ระยะหลังสนใจเกษตรแบบคนต่างเมือง ลงมือทำสวนโกโก้ โดยเซาะป่าเป็นร่อง ใช้แนวไม้เป็นร่มไพร โกโก้เสียหายหมดทั้ง 50,000 ต้น ปัจจุบันหันมาเรียนรู้จากเกษตรกรในท้องถิ่นดั้งเดิม เพื่อทำสวนยางพารา คุณ นิคม รายยวา เริ่มเขียนเรื่องสั้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและนิคม รายยวา

แย้ม ประพัฒน์ทอง

นาวาอากาศเอก (พิเศษ) แย้ม ประพัฒน์ทอง นักเขียน และนักวรรณคดี ผู้ประพันธ์ มหาบัณฑิตแห่งมิถิลานคร (หนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน) เคยดำรงตำแหน่งอนุศาสนาจารย์กองทัพอากาศ และได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย หมวดหมู่:ทหารอากาศชาวไทย หมวดหมู่:อนุศาสนาจารย์ หมวดหมู่:ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและแย้ม ประพัฒน์ทอง

แสงอรุณ รัตกสิกร

รองศาสตราจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร (19 มกราคม พ.ศ. 2465 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2522) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แสงอรุณ เป็นชาวตำบลดงพระราม อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นบุตรของ.อ.พระยาวิเศษสิงหหนาท (สาหร่าย รัตกสิกร) และคุณหญิงระเบียบ สกุลเดิม คงพันธุ์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนประจำจังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นย้ายมาศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ต่อมาเข้าศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับทุน ก..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและแสงอรุณ รัตกสิกร

โชติ แพร่พันธุ์

ติ แพร่พันธุ์ หรือเจ้าของนามปากกา “ยาขอบ” ที่มีผลงานเด่นคือ ผู้ชนะสิบทิศ และอีกหลากหลายเรื่องไม่ว่าจะเป็นผลงานเรื่องสั้นชื่อ “เพื่อนแพง” วรรณกรรมเรื่องยาวอย่าง สามก๊ก (ฉบับวณิพก) ความเรียงปกิณกะเรื่องสินในหมึก เป็นต้น.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและโชติ แพร่พันธุ์

โรแบร์ แลงกาต์

รแบร์ แลงกาต์ (Robert Lingat รอแบร์ แล็งกา) หรือ ร. แลงกาต์ (เกิด:พ.ศ. 2435; ตาย: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นศาสตราจารย์ทางนิติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการกฎหมายไทยในอดีตอย่างยิ่ง โรแบร์ แลงการ์ต ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและโรแบร์ แลงกาต์

โฉมหน้าศักดินาไทย

ฉมหน้าศักดินาไทย เป็นผลงานโดย จิตร ภูมิศักดิ์ มีเนื้อหากล่าวถึงการขูดรีดของชนชั้นศักดินาเป็นหลัก ตลอดจนการดำรงอยู่ของพระมหากษัตริย์ไทยที่สร้างปัญหาให้แก่รัฐและสังคม ซึ่งทำให้หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ต้องเขียนหนังสือ "ฝรั่งศักดินา" โต้.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและโฉมหน้าศักดินาไทย

ไม้ เมืองเดิม

ก้าน พึ่งบุญ ณ อยุธยา (16 มิถุนายน พ.ศ. 2448 – 4 มีนาคม พ.ศ. 2485) นามปากกา ไม้ เมืองเดิม หรือ กฤษณะ พึ่งบุญ เป็นนักเขียนชาวไทย มีผลงานที่มีชื่อเสียงได้แก่ แผลเก่า, บางระจัน, แสนแสบ, ขุนศึก.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและไม้ เมืองเดิม

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน

ลงเถื่อนแห่งสถาบัน หรือที่นิยมเรียกว่า ฉันจึงมาหาความหมาย เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา "หัวก้าวหน้า" ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเพลงเถื่อนแห่งสถาบัน

เพียงความเคลื่อนไหว

ียงความเคลื่อนไหวเป็นกวีนิพนธ์ของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ตีพิมพ์ในนิตยสารต่าง ๆ ในช่วงปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเพียงความเคลื่อนไหว

เวทางคศาสตร์

วทางคศาสตร์ หรือเวทางค์ คือ คัมภีร์ชุดหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ ว่าด้วยวิชาประกอบการศึกษาพระเวท มีหกคัมภีร์ คือ 1.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเวทางคศาสตร์

เสภาศรีธนญไชยเชียงเมี่ยง

รีธนญไชยเชียงเมี่ยง หรือ เสภาเรื่องศรีทะนนไชยเซียงเหมี้ยง คือนิทานพื้นบ้านที่แพร่หลายในภาคเหนือ และภาคอีสาน ค้นพบพิมพ์เมื่อ..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเสภาศรีธนญไชยเชียงเมี่ยง

เจตนา นาควัชระ

ตราจารย์เกียรติคุณ เจตนา นาควัชระ (เกิดวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 —) เป็นอดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ และอดีตรองอธิการบดี แห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเจตนา นาควัชระ

เจ้าชีวิต

้าชีวิต เป็นพระนิพนธ์ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ เดิมทีเขียนขึ้นครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษที่ใช้ชื่อว่า Lords of Life พิมพ์ครั้งแรกในประเทศอังกฤษเมื่อปี ค.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเจ้าชีวิต

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)

้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2356 - 12 มิถุนายน พ.ศ. 2413) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่สมัยรัตนโกสินทร์ ผู้ช่วยปลัดกรมท่า ปลัดกรมพระตำรวจ ผู้สำเร็จราชการในกิจการต่างประเทศ นักเขียนพระราชพงศาวดาร ผู้แต่งและผู้ตีพิมพ์หนังสือรวมทั้งหนังสือแสดงกิจจานุกิจ หนังสือไทยเล่มแรกที่อธิบายความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์และศาสนาที่ทันสมัยที่สุดในขณะนั้น.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)

เทียนวรรณ

ทียนวรรณ หรือ ต.ว..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเทียนวรรณ

เขาชื่อกานต์

ื่อกานต์ เป็นภาพยนตร์ไทย ที่สร้างจากนวนิยายที่มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งของสุวรรณี สุคนธา เรื่อง เขาชื่อกานต์ ซึ่งนวนิยายเรื่องนี้ได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเขาชื่อกานต์

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเดือน บุนนาค

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

นาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปีพุทธศักราช 2536 กวีรางวัลซีไรต์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

รงการ 100 เล่มหนังสือดีวิทยาศาสตร์ (พ.ศ. 2537-2548) เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้ประกาศยกย่อง หนังสือวิทยาศาสตร์ไทย 88 เล่ม ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและ100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ เป็นผลการวิจัยของคณะวิจัย โครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และกรมวิชาการ โดยคณะวิจัยของโครงการได้ทำการคัดเลือกหนังสือซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่ตีพิมพ์เป็นเล่ม เนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาษาไทย เขียนโดยชาวไทย ตั้งแต่ ยุคสุโขทัย ถึง พ.ศ.

ดู หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านและ88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านรายชื่อหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ตามลำดับอักษร

หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตนหม่อมศรีพรหมา กฤดากร ณ อยุธยาหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)อบ ไชยวสุอัศนี พลจันทรอังคาร กัลยาณพงศ์อาจินต์ ปัญจพรรค์อิศรา อมันตกุลผู้ชนะสิบทิศผู้ดับดวงอาทิตย์จันตรี ศิริบุญรอดจิตร ภูมิศักดิ์ธานินทร์ กรัยวิเชียรทวีป วรดิลกขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ดิเรก ชัยนามความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติคำพูน บุญทวีคำสิงห์ ศรีนอกป. อินทรปาลิตปฏิจจสมุปบาทประยูร จรรยาวงษ์ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยาปรีดี พนมยงค์ป๋วย อึ๊งภากรณ์นิราศหนองคายนิทานเวตาลนิคม รายยวาแย้ม ประพัฒน์ทองแสงอรุณ รัตกสิกรโชติ แพร่พันธุ์โรแบร์ แลงกาต์โฉมหน้าศักดินาไทยไม้ เมืองเดิมเพลงเถื่อนแห่งสถาบันเพียงความเคลื่อนไหวเวทางคศาสตร์เสภาศรีธนญไชยเชียงเมี่ยงเจตนา นาควัชระเจ้าชีวิตเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)เทียนวรรณเขาชื่อกานต์เดือน บุนนาคเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย