โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

ดัชนี 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

รงการ 100 เล่มหนังสือดีวิทยาศาสตร์ (พ.ศ. 2537-2548) เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้ประกาศยกย่อง หนังสือวิทยาศาสตร์ไทย 88 เล่ม ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 16 เดือน มี ร..

49 ความสัมพันธ์: ชัยวัฒน์ คุประตกุลบันเทิงคดีพ.ศ. 2537พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธีพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พรทิพย์ โรจนสุนันท์พิชัย วาศนาส่งพงศกรภาษาไทยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ยอดหทัย เทพธรานนท์ยงยุทธ ยุทธวงศ์ระวี ภาวิไลรายชื่อบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ไทยวราวุธ สุธีธรวิมล ไทรนิ่มนวลวิจารณ์ พานิชวิธิต อุตสาหจิตวิทยากร เชียงกูลวิทยาศาสตร์วินทร์ เลียววาริณศรีศักร วัลลิโภดมศักดิชัย บำรุงพงศ์ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติสารคดีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสุทัศน์ ยกส้านหนังสือหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่านอมตะ (วิมล ไทรนิ่มนวล)ธีรยุทธ บุญมีตัวกู-ของกูประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ประเวศ วะสีประเทศไทยปราบดา หยุ่นนำชัย ชีววิวรรธน์ไรน่าน อรุณรังษีเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์เวลา1 กรกฎาคม1 มกราคม31 ธันวาคม31 ตุลาคม88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

ชัยวัฒน์ คุประตกุล

รองศาสตราจารย์ ชัยวัฒน์ คุประตกุล เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา นักเขียน นักแปล คอลัมนิสต์ นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและชัยวัฒน์ คุประตกุล · ดูเพิ่มเติม »

บันเทิงคดี

บันเทิงคดี เป็นงานรูปแบบหนึ่งที่ว่าด้วยสารสนเทศหรือเหตุการณ์ซึ่งมิใช่ข้อเท็จจริง แต่เป็นจินตนาการหรือทฤษฎีบางส่วนหรือทั้งหมด กล่าวคือ เป็นงานที่ผู้ประพันธ์แต่งขึ้น แม้บันเทิงคดีจะใช้หมายถึงสาขาหลักของงานวรรณกรรมอย่างหนึ่ง แต่ยังอาจหมายถึง งานละคร ภาพยนตร์หรือดนตรีด้วย บันเทิงคดีตรงข้ามกับสารคดี ซึ่งว่าด้วยเหตุการณ์ คำอธิบาย การสังเกตที่เป็นจริง (หรืออย่างน้อย ที่สันนิษฐานว่าเป็นจริง) เช่น ชีวประวัติ ประวัติศาสตร์ เป็นต้น ผลงานที่จัดเป็นบันเทิงคดี เช่น นิทาน เรื่องสั้น ภาพยนตร์บางประเภท เรื่องปรัมปรา การ์ตูน หรืออาจเป็นแอนิเมชัน และวิดีโอเกมบางประเภท เป็นต้น หมวดหมู่:ประเภทวรรณกรรม.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและบันเทิงคดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

ระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือชื่อเมื่อแรกเกิดว่า วุฒิชัย บุญถึง หรือรู้จักกันดีในนามปากกา ว.วชิรเมธี (29 มกราคม พ.ศ. 2516 —) เป็นภิกษุชาวไทย มีชื่อเสียงว่าเป็นพระนักวิชาการ นักคิด นักเขียน และนักบรรยายธรรม.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พรทิพย์ โรจนสุนันท์

แพทย์หญิงคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ หรือชื่อเดิมว่า พรทิพย์ ศรศรีวิชัย (เกิด 21 ธันวาคม พ.ศ. 2497) เป็น กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม คณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่าย (คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ) ในส่วนของสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศที่ประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศมอบหมายตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 45/2559 สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ โฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปแห่งชาติ นิติแพทย์ชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม ระหว่างช่วง 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพรทิพย์ โรจนสุนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย วาศนาส่ง

ัย วาศนาส่ง (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 — 8 เมษายน พ.ศ. 2555) เป็นอดีตสถาปนิก นักเขียน นักวิเคราะห์สถานการณ์ข่าวต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีคลาสสิก รวมถึงเป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพิชัย วาศนาส่ง · ดูเพิ่มเติม »

พงศกร

งศกร เป็นทั้งชื่อจริงและนามปากกาของ นายแพทย์พงศกร จินดาวัฒนะ หนุ่มราศีสิงห์ ที่เกิดและเติบโตที่จังหวัดราชบุรี พงศกร จบการศึกษาจาก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และอบรมเป็นผู้เชี่ยวชาญสาขา เวชศาสตร์ครอบครัวจาก Pennsylvanin State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันทำงานในตำแหน่ง Senior Director of Communication ประจำอยู่ที่ศูนย์การแพทย์ โรงพยาบาลกรุงเทพ และในอดีตเคยรับราชการเป็นแพทย์ ประจำอยู่ที่กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลราชบุรี พงศกร ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมจากบิดามารดา จึงรักการอ่าน และชอบขีดเขียนมาตั้งแต่เรียนชั้นประถม ผลงานเรื่องสั้นเรื่องแรกชื่อ ปุกปุย ได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารสวิตา เมื่อตอนอายุ 11 ปี จากวันนั้นถึงวันนี้ ก็วนเวียนเขียนหนังสือมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้น เรื่องยาว สารคดี รวมทั้งบทความทางการแพทย์ และคอลัมน์ตอบปัญหาสุขภาพในนิตยสาร นอกจากนั้นยังเป็นนักเขียนในโครงการ For My Heroes ร่วมกับ กิ่งฉัตร และ ปิยะพร ศักดิ์เกษม ที่ช่วยกันหารายได้ช่วยเหลือทหารในสามจังหวัดภาคใต้ที่ได้รับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหน้าที่ ปัจจุบันยังคงมีผลงานตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารต่างๆ อาทิ สกุลไทย ขวัญเรือน และพลอยแกมเพชร โดยมีสำนักพิมพ์เป็นของตนเองร่วมกับน้องสาว คุณสุลวัณ จันทรวรินทร์ และน้องชาย คุณอรรถรัตน์ จันทรวรินทร์ ในนาม groove publishing โดยตีพิมพ์ผลงานของตนเอง รวมทั้งผลงานของ จินตวีร์ วิวัธน์ และของนักเขียนท่านอื่นๆ ที่มีผลงานในแนวลึกลับ สยองขวัญ ผี และเหนือธรรมชาต.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและพงศกร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยไทยสุริยะ และวิทยาลัยพัฒนา ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดหทัย เทพธรานนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ ยอดหทัย เทพธรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2486 ที่กรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการบริหารบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (บวท.) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและยอดหทัย เทพธรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ยุทธวงศ์

ตราจารย์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดลพบุรี) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นสาขาเคมี อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทในการศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและประธานกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและยงยุทธ ยุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระวี ภาวิไล

ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและระวี ภาวิไล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ไทย

นี่คือ รายชื่อนิยายวิทยาศาสตร์ไท.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและรายชื่อบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

วราวุธ สุธีธร

ฟอสซิลภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน่ วราวุธ สุธีธร (10 ตุลาคม พ.ศ. 2491 ที่จังหวัดนครปฐม—) เป็นนักธรณีวิทยา, นักบรรพชีวินวิทยาที่มีชื่อเสียงชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลัง ผู้อำนวยการสำนักวิจัยซากดึกดำบรรพ์และพิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวราวุธ สุธีธร · ดูเพิ่มเติม »

วิมล ไทรนิ่มนวล

วิมล ไทรนิ่มนวล (เกิด พ.ศ. 2498) เป็นชาวอำเภอบางเลน.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวิมล ไทรนิ่มนวล · ดูเพิ่มเติม »

วิจารณ์ พานิช

ตราจารย์ นายแพทย์ วิจารณ์ พานิช (27 พฤศจิกายน 2485 -) ผู้ก่อตั้งและอดีตประธานสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และก่อตั้งสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม ปัจจุบันทำหน้าที่รักษาการนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป์ วิจารณ์ พานิช เป็นผู้มีบทบาทสำคัญของประเทศในการสร้างและพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย และการจัดการความรู้.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวิจารณ์ พานิช · ดูเพิ่มเติม »

วิธิต อุตสาหจิต

วิธิต อุตสาหจิต (Vithit Utsahajit) บรรณาธิการหนังสือการ์ตูนในเครือบรรลือสาส์น ผู้ก่อตั้งนิตยสารขายหัวเราะและมหาสนุก และผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง ผีหัวขาด เขายังเป็นผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชั่นสามมิติเป็นผู้แรกในประเทศไทย มีผู้ให้สมญานามแก่เขาว่า “ราชาแห่งการ์ตูนไทย” ในยุคปัจจุบัน แฟนการ์ตูนบรรลือสาส์นรู้จักกันดีในนาม “.ก.วิติ๊ด”.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวิธิต อุตสาหจิต · ดูเพิ่มเติม »

วิทยากร เชียงกูล

วิทยากร เชียงกูล รองศาสตราจารย์ วิทยากร เชียงกูล เกิดเมื่อ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี คณบดีกิตติคุณและอดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต เรียนจบชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2512 และปริญญาโท จากสถาบันศึกษาสังคม เมืองเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นผู้เขียนบทกลอน "เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน" เมื่อ พ.ศ. 2511 ซึ่งมีท่อนติดปากว่า "ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง ฉันจึง มาหา ความหมาย ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว" บทกลอนนี้ได้กลายเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษาในช่วงนั้น ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้องประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 และ เหตุการณ์ 6 ตุลา พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวิทยากร เชียงกูล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วินทร์ เลียววาริณ

วินทร์ เลียววาริณ (ชื่อเกิด สมชัย เลี้ยววาริณ) เกิดปี พ.ศ. 2499 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและวินทร์ เลียววาริณ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีศักร วัลลิโภดม

.พิเศษศรีศักร วัลลิโภดมในการบรรยายที่แพร่งภูธร เมื่อ 31 กค.2553 ศาสตราจารย์พิเศษ ศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยาชาวไทย เจ้าของรางวัลวัฒนธรรมเอเชียฟูกูโอกะ ประจำปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและศรีศักร วัลลิโภดม · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิชัย บำรุงพงศ์

ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและศักดิชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (National Center for Genetic Engineering and Biotechnology) หรือ ไบโอเทค เป็นศูนย์วิจัยด้านพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพในสังกัดสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีพันธกิจหลักในการสนับสนุนและส่งเสริมการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม, การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีชีวภาพ, การถ่ายทอดเทคโนโลยี, และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีชีวภาพ ไบโอเทคจัดตั้งครั้งแรกตามมติคณะรัฐมนตรี ภายใต้ระบบราชการในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน เมื่อวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สารคดี

ำหรับนิตยสาร ดู สารคดี (นิตยสาร) สารคดี เป็นงานเขียนหรือวรรณกรรมร้อยแก้วในลักษณะตรงข้ามกับกับบันเทิงคดี (Fiction) ที่มุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นเบื้องต้น มีความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ที่มุ่งแสดงความรู้ ความคิด ความจริง ความกระจ่างแจ้ง และเหตุผลเป็นสำคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบาย เชิงวิจารณ์เชิงแนะนำสั่งสอน เป็นต้น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและสารคดี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2499 มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวิจัย และมีบทบาทเป็นหน่วยงานกลางในการทำหน้าที่เสนอแนะนโยบายและแผนการวิจัยทั้งด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ ยกส้าน

ตราจารย์ สุทัศน์ ยกส้าน (เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) นักวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ชาวไทย มีผลงานด้านฟิสิกส์ทฤษฎีอธิบายสมบัติพื้นฐานบางประการของสภาพนำยิ่งยวด ท่านได้รับรางวัลรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี พ.ศ. 2530 ในสาขาฟิสิกส์ทฤษฎี ปัจจุบันทำงานในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สสวทและตำแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและสุทัศน์ ยกส้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือ

หนังสือ เป็นสื่อที่รวบรวมของข้อมูล ประเภทตัวอักษร และ รูปภาพ ที่ลงในแผ่นกระดาษหรือวัสดุชนิดอื่น และรวมเข้าด้วยกัน ด้วยวิธีการ เย็บเล่ม หรือ ทากาว เข้าด้วยกันที่บริเวณขอบด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีขนาดต่าง ๆ กัน แต่มักจะไม่ทำใหญ่กว่าการจับและเปิดอ่านสะดวก หนังสือมักจะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล ความรู้ วรรณกรรม ต่าง ๆ สำหรับหนังสือในรูปแบบที่เก็บในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์ จะเรียกว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีบุ๊ก (e-book) การจัดพิมพ์ตามมาตรฐานจะมีหมายเลขไอเอสบีเอ็น (ISBN) เพื่อจะระบุประเทศและสำนักพิมพ์ หนังสือสามารถซื้อขายได้ที่ร้านหนังสือ และสามารถยืมได้จากห้องสมุด กูเกิลประมาณว่าใน..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและหนังสือ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน

รายชื่อหนังสือดี 100 เล่ม ที่คนไทยควรอ่าน (พ.ศ. 2408-2519) เป็นงานวิจัยของวิทยากร เชียงกูล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับคณะวิจัยอีก 10 ท่าน ชื่อ "โครงการวิจัยเพื่อคัดเลือกและแนะนำหนังสือดีในรอบศตวรรษ" ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน · ดูเพิ่มเติม »

อมตะ (วิมล ไทรนิ่มนวล)

right 130px “อมตะ” เป็นนวนิยายแนวส่งเสริมพุทธศาสนา โดย วิมล ไทรนิ่มนวล โดยมีเป้าหมายเพื่อให้มนุษย์เห็นสัจจธรรมในชีวิต และพบความสงบสุข ซึ่งได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) ประจำปี 2543 ได้รับคำยกย่องจากคณะกรรมการตัดสินรางวัลนี้ตอนหนึ่งว่า "เป็นนวนิยายแห่งจินตนาการถึงโลกอนาคตเกี่ยวกับการแสวงหาความเป็นอมตะของชีวิตโดยใช้รูปแบบวิวาทะระหว่างแนวคิดบริโภคนิยม กับแนวคิดทางศาสนาของโลกตะวันออก" ดูประวัติผู้แต่ง และเรื่องย่ออมตะได้ที่ http://www.youtube.com/watch?v.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและอมตะ (วิมล ไทรนิ่มนวล) · ดูเพิ่มเติม »

ธีรยุทธ บุญมี

ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและธีรยุทธ บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกู-ของกู

ตัวกู-ของกู เป็นภาพยนตร์สารคดี โดย สันติ แต้พานิช ในปี..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและตัวกู-ของกู · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์

.ดร. ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ ศาสตราจารย์ ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ (2505 -) นักวิจัยไทยผู้เชี่ยวชาญด้านโพลิเมอร์คอลลอยด์ และน้ำยางธรรมชาติ เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาเคมี (พอลิเมอร์) ประจำปี พ.ศ. 2539 และเป็นหนึ่งในผู้ได้รับทุนวิจัยลอรีอัลประเทศไทย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” (L'OREAL-UNESCO Fellowship for Women in Science) ประจำปี พ.ศ. 2550 สาขาวัสดุศาสตร์ จากผลงานวิจัย "การปรับแต่งพื้นผิวยางธรรมชาติด้วยอนุภาคขนาดนาโนเพื่อประยุกต์ใช้ในการเตรียมถุงมือแพทย์" ทั้งนี้ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จมาประทานทุนวิจัย ณ พระที่นั่งเทวราชย์สภารมย์ พระราชวังพญาไท เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2550.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเวศ วะสี

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและประเวศ วะสี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราบดา หยุ่น

ปราบดา หยุ่น (เกิด 2 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นนักเขียน ได้รับรางวัลซีไรต์ จากเรื่องความน่าจะเป็น เมื่อ พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและปราบดา หยุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นำชัย ชีววิวรรธน์

นำชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำนวยการฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ จบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนมณีวิทยา มัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียนทวีธาภิเศก มัธยมศึกษาตอนปลายจาก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีชีววิทยา สาขาสัตววิทยา จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทชีวเคมี จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และปริญญาเอกด้าน Molecular Genetics จาก Kumamoto University ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและนำชัย ชีววิวรรธน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไรน่าน อรุณรังษี

รน่าน อรุณรังษี อดีตนักการเมืองและนักเขียน, นักแปลชาวไทย นายไรน่านเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2485 ที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นชาวไทยมุสลิม จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอาลีการ์มุสลิม ประเทศอินเดีย, ปริญญาเอก สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น นายไรน่าน เข้าสู่แวดวงการเมืองในช่วงของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขณะที่จบการศึกษาปริญญาโท เมื่อได้เดินทางกลับมาสู่ประเทศไทย และร่วมกับเพื่อน ๆ จัดตั้งหนังสือพิมพ์ธงไทย, เพชรไทย และมหาราษฎร์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์แนวซ้าย เรียกร้องรัฐธรรมนูญ และขับไล่รัฐบาลในสมัยนั้น ภายหลังเหตุการณ์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่วมร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2517 จากนั้นได้ร่วมกับ ดร.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและไรน่าน อรุณรังษี · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Dr.Dan's 60th Birthday: 60 ปี คนดีมีพลัง ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2498, ชื่อเล่น: แดน) หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.แดน กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์สาธารณรัฐซิมบับเวประจำประเทศไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ อดีตอาจารย์หลายมหาวิทยาลัย เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2551 ในหมายเลข 2 มีผลงานด้านการเขียนหนังสือมากมาย ในหลากหลายสาขา เช่น เศรษฐกิจ นโยบายการศึกษา การต่างประเทศ สังคม การเมือง การศึกษา ความสำเร็จ การดำเนินชีวิต โดยมีหนังสือมากกว่า 200 เล่ม และมีผลงานบทความตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นประจำมากกว่า 500 เรื่อง และแสดงทัศนะต่างๆมากกว่า 4000 เรื่อง.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เวลา

ำหรับนวนิยายซีไรต์ดูที่ เวลา (นวนิยาย) นาฬิกาพก เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเวลา เวลา ในมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของจักรวาล ให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ดำเนินอยู่ในนั้น ซึ่งเป็นแนวคิดของไอแซก นิวตัน อีกมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นสิ่งสมมุติเช่นเดียวกับพื้นที่ (สเปซ) และตัวเลข มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นลำดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลากับเหตุการณ์เหล่านั้นจะรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งเป็นแนวคิดของอิมมานูเอล คานต์ และกอตฟรีด ไลบ์นิซ บางที มุมมองทั้งสองเกี่ยวกับเวลาก็ยังน่าสับสนอยู่ จึงมีการนิยามโดยการปฏิบัติ ความหมายของการดำเนินงาน หรือ(operational definition) ซึ่งมักใช้การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นคาบของวัตถุเป็นตัววัดเวลา เช่น ดิถี (ข้างขึ้นข้างแรม) ของดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เวลา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศิลปศาสตร์ แต่ละสาขาก็มีมุมมองต่าง ๆ กันไป เช่น ในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจมองว่า "เวลาเป็นเงินทอง" ("Time is money.") เป็นต้น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและเวลา · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ เป็นผลการวิจัยของคณะวิจัย โครงการวิจัยหนังสือดีวิทยาศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และกรมวิชาการ โดยคณะวิจัยของโครงการได้ทำการคัดเลือกหนังสือซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่ตีพิมพ์เป็นเล่ม เนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาษาไทย เขียนโดยชาวไทย ตั้งแต่ ยุคสุโขทัย ถึง พ.ศ. 2536 มากกว่า 500 เล่ม แล้วแถลงข่าวประกาศยกย่องเมื่อ 28 มีนาคม พ.ศ. 2544 ในจำนวนหนังสือ 88 เล่มนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ.

ใหม่!!: 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทยและ88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อ 100 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »