สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: ภาษาอังกฤษภาษาอาหรับภาษาอิตาลีภาษาโซมาลีรัฐคอมมิวนิสต์รัฐประหารรายนามประธานาธิบดีโซมาเลียสงครามกลางเมืองโซมาเลียอับดิราชิด อาลี เชอมาร์กีประเทศโซมาเลียนายกรัฐมนตรีโซมาเลียโมกาดิชูไซอัด บาร์รีISO 4217
- รัฐคอมมิวนิสต์
- รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2512
- สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
- อดีตสาธารณรัฐสังคมนิยม
- เผด็จการทหาร
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและภาษาอังกฤษ
ภาษาอาหรับ
ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและภาษาอาหรับ
ภาษาอิตาลี
ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและภาษาอิตาลี
ภาษาโซมาลี
ภาษาโซมาลี (Somali language) เป็นสมาชิกของแขนงคูชิติกตะวันออก ของภาษากลุ่มแอฟโร-เอเชียติก เป็นภาษาที่พูดในประเทศโซมาเลีย และพื้นที่ติดต่อของประเทศจิบูตี (ส่วนใหญ่) ประเทศเอธิโอเปีย และประเทศเคนยา เนื่องจากสงครามกลางเมืองและการอพยพ จึงมีคนพูดภาษาโซมาลีทั่วโลก คาดว่ามีคนพูดระหว่าง 15-25 ล้านคน โซมาลี.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและภาษาโซมาลี
รัฐคอมมิวนิสต์
รัฐคอมมิวนิสต์ (Communist state) เป็นรูปแบบที่นักรัฐศาสตร์ใช้อธิบายรูปแบบของรัฐบาลในรัฐที่มีการปกครองภายใต้พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว และประกาศใช้ลัทธิมากซ์-เลนิน ซึ่งเป็นแนวคิดทางคอมมิวนิสต์ รัฐคอมมิวนิสต์อาจมีพรรคการเมืองตามกฎหมายหลายพรรค แต่รัฐธรรมนูญรับรองให้พรรคคอมมิวนิสต์เป็นรัฐบาล พรรคคอมมิวนิสต์จึงเป็นสถาบันบริหารประเทศนั้น ๆ โดยปริยาย ประเทศคอมมิวนิสต์ในระหว่างปี 1979-1983 ซึ่งเป็นยุครุ่งเรืองที่สุดของลัทธิคอมมิวนิสต์ รัฐคอมมิวนิสต์ในปัจจุบัน.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและรัฐคอมมิวนิสต์
รัฐประหาร
รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและรัฐประหาร
รายนามประธานาธิบดีโซมาเลีย
รายนามประธานาธิบดีแห่งโซมาเลีย ซึ่งรวมไปถึงบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าได้ดำรงตำแหน่งด้ว.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและรายนามประธานาธิบดีโซมาเลีย
สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
งครามกลางเมืองโซมาเลีย เป็นสงครามกลางเมืองที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศโซมาเลีย ชนวนเหตุเริ่มมาจากการต่อต้านระบอบโมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รีในช่วงทศวรรษ 1980 กองทัพโซมาเลียเริ่มสู้รบกับกลุ่มกบฏติดอาวุธต่าง ๆKen Menkhaus, ',' in Andersen/Moller/Stepputat (eds.), Fragile States and Insecure People,' Palgrave, 2007, 73.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและสงครามกลางเมืองโซมาเลีย
อับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี
อับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี (Cabdirashiid Cali Sharmaarke, عبد الرشيد علي شارماركي) (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2462 – ลอบสังหาร 15 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม..
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและอับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี
ประเทศโซมาเลีย
ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและประเทศโซมาเลีย
นายกรัฐมนตรีโซมาเลีย
นายกรัฐมนตรีโซมาเลีย (Ra'iisul wasaare, رئيس وزراء الصومال) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลในประเทศโซมาเลีย มีนายกรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการ 18 คนตั้งแต่มีการสถาปนาตำแหน่งในปี..
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย
โมกาดิชู
มกาดิชู (Muqdisho, หรือนิยมว่า ฮะมัร; مقديشو; Mogadiscio) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศโซมาเลีย เป็นเมืองท่าทางทะเล ในภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย เมืองนี้สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 โดยชาวอาหรับ เป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญ ตกเป็นของสุลต่านแห่งแซนซิบาร์โน ใน..
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและโมกาดิชู
ไซอัด บาร์รี
ลตรี โมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รี (Maxamed Siyaad Barre; محمد سياد بري; เกิด 6 ตุลาคม 6 พ.ศ. 2462ถึงแก่กรรม 2 มกราคม พ.ศ. 2538) เป็นเผด็จการทหารและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีตั้งแต..
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและไซอัด บาร์รี
ISO 4217
ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.
ดู สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีและISO 4217
ดูเพิ่มเติม
รัฐคอมมิวนิสต์
- กัมพูชาประชาธิปไตย
- คณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือ
- ประเทศคิวบา
- ประเทศจีน
- ประเทศลาว
- ประเทศเกาหลีเหนือ
- ประเทศเยอรมนีตะวันออก
- ประเทศเวียดนาม
- รัฐคอมมิวนิสต์
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
- สาธารณรัฐประชาชน
- สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
- สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
- สาธารณรัฐประชาชนเบนิน
- สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี
- สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา
- สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2512
- นิวกินีตะวันตก
- รัฐบาลปฏิวัติชั่วคราวสาธารณรัฐเวียดนามใต้
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี
- หมู่เกาะคอรัลซี
สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
- สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
- สงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน)
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี
อดีตสาธารณรัฐสังคมนิยม
- กัมพูชาประชาธิปไตย
- คณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือ
- ประเทศพม่า
- ประเทศเยอรมนีตะวันออก
- ประเทศเวียดนามเหนือ
- รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย
- รัฐบาลชั่วคราวสหภาพแห่งชาติและการปลดปล่อยแห่งชาติกัมพูชา
- รัฐบาลปฏิวัติชั่วคราวสาธารณรัฐเวียดนามใต้
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส
- สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
- สหภาพโซเวียต
- สหสาธารณรัฐอาหรับ
- สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต
- สาธารณรัฐประชาชนตูวา
- สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
- สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย
- สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
- สาธารณรัฐประชาชนเบนิน
- สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี
- สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา
- สาธารณรัฐสังคมนิยมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
- สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
- สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
เผด็จการทหาร
- กฎอัยการศึก
- กฎอัยการศึกในประเทศโปแลนด์
- คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง
- คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
- คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ
- คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
- จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)
- จักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง
- จักรวรรดิเยอรมัน
- จักรวรรดิแอฟริกากลาง
- ทรานสไก
- ประเทศกาบอง
- ประเทศชาด
- ประเทศซีเรีย
- ประเทศซูดาน
- ประเทศพม่า
- ประเทศเวียดนามใต้
- ประเทศแมนจู
- พระราชอาณาจักรลาว
- ยุคระเบียบใหม่ (อินโดนีเซีย)
- ยุครัฐในอารักขา
- รัฐบาลชาตินิยม
- รัฐบาลเอโดะ
- รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ
- ราชอาณาจักรบัลแกเรีย
- ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร
- ราชอาณาจักรเนปาล
- ราชอาณาจักรโรมาเนีย
- สภาสูงสุดเพื่อการฟื้นฟูประชาธิปไตย
- สาธารณรัฐคองโก (เลออปอลวีล)
- สาธารณรัฐซาอีร์
- สาธารณรัฐดาโฮมีย์
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี
- สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1
- สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 2
- สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า
- สาธารณรัฐอาหรับเยเมน
- สาธารณรัฐเขมร
- สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
- เผด็จการทหาร
- เหมิ่งเจียง
- โครยอ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาเลีย