สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: มหาวิหารซันมาร์โกรูปสี่เหลี่ยมสมดุลทางอุณหพลศาสตร์สถาปัตยกรรมประเทศอิตาลีโดมเวนิส
- รูปแบบสถาปัตยกรรม
- สถาปัตยกรรมสมัยกลาง
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 10
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 11
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 12
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 14
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 15
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 4
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 5
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 7
- สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 9
มหาวิหารซันมาร์โก
มหาวิหารซันมาร์โก หรือชื่อเต็มคือ อัครบิดรอาสนะมหาวิหารซันมาร์โก (Basilica Cattedrale Patriarcale di San Marco, St Mark's Basilica หรือ Saint Mark's Basilica) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ระดับมหาวิหารประจำเขตอัครบิดรเวนิสในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก มหาวิหารซันมาร์โกได้รับการเสกในปี ค.ศ.
ดู สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และมหาวิหารซันมาร์โก
รูปสี่เหลี่ยม
ในเรขาคณิตแบบยูคลิด รูปสี่เหลี่ยม คือรูปหลายเหลี่ยมที่มีด้านสี่ด้าน (หรือขอบ) และมุมสี่มุม (หรือจุดยอด) รูปสี่เหลี่ยมมีทั้งที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมอย่างง่าย (ไม่มีด้านที่ตัดกันเอง) และรูปสี่เหลี่ยมซับซ้อน (มีด้านที่ตัดกันเอง หรือเรียกว่ารูปสี่เหลี่ยมไขว้) รูปสี่เหลี่ยมอย่างง่ายอาจเป็นรูปสี่เหลี่ยมนูน (convex) หรือรูปสี่เหลี่ยมเว้า (concave) อย่างใดอย่างหนึ่ง มุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมอย่างง่ายรวมกันได้ 360 องศา ส่วนรูปสี่เหลี่ยมซับซ้อน เนื่องจากมุมภายในที่ด้านตรงข้ามเป็นมุมกลับ ทำให้รวมกันได้ 720 องศา รูปสี่เหลี่ยมนูนทุกรูปสามารถปูเต็มปริภูมิโดยการหมุนรอบจุดกึ่งกลางที่ด้านของมัน.
ดู สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และรูปสี่เหลี่ยม
สมดุลทางอุณหพลศาสตร์
ทั่วไปเมื่อระบบทางอุณหพลศาสตร์สองระบบสัมผัสกันจะมีการแลกเปลี่ยนพลังงานต่อกันและกัน ภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamical equilibrium) เกิดขึ้นเมื่อทั้งสองระบบไม่มีการถ่ายทอดพลังงานกันอีกแล้ว หรือเราอาจนิยามให้หมายถึงสภาวะที่ระบบอุณหพลศาสตร์อยู่ในสภาวะสมดุลทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น สมดุลทางกลศาสตร์ สมดุลทางไฟฟ้า สมดุลทางเคมี หรือสมดุลทางอุณหภูมิ เป็นต้น อนึ่ง ภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์นี้ เป็นนิยามสำคัญในกฎข้อที่ 0 ของอุณหพลศาสตร.
ดู สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และสมดุลทางอุณหพลศาสตร์
สถาปัตยกรรม
ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.
ดู สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และสถาปัตยกรรม
ประเทศอิตาลี
อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.
ดู สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และประเทศอิตาลี
โดม
มหัวหอมของโบสถ์เซนต์เบซิล โดม (dome) คือส่วนโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะครึ่งทรงกลมหรือใกล้เคียง โดมจะมีลักษณะผิวโค้งและมีฐานเป็นรูปวงกลม โดมสามารถสร้างได้โดยใช้คอนกรีตหรืออิฐ แรงภายในที่กระทำกับโครงสร้างของจะมีลักษณะเป็นแรงอัดในส่วนบนและ แรงดึงในส่วนล่างของโดม.
เวนิส
วนิส (Venice) หรือ เวเน็ตเซีย (Venezia) เป็นเมืองหลักของแคว้นเวเนโต ประเทศอิตาลี มีประชากร 271,663 คน (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2547) เมืองเวนิสได้รับฉายาว่า ราชินีแห่งทะเลเอเดรียติก (Queen of the Adriatic), เมืองแห่งสายน้ำ (City of Water), เมืองแห่งสะพาน (City of Bridges) และเมืองแห่งแสงสว่าง (The City of Light) เมืองเวนิสถูกสร้างขึ้นจากการเชื่อมเกาะเล็กๆ จำนวนมากเข้าด้วยกันในบริเวณทะเลสาบเวนิเทีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทะเลเอเดรียติก ในภาคเหนือของประเทศอิตาลี ทะเลสาบน้ำเค็มนี้ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งระหว่างปากแม่น้ำโปกับแม่น้ำปลาวี มีผู้อยู่อาศัยโดยประมาณ 272,000 คน ซึ่งนับรวมหมดทั้งเวนิส โดยมี 62,000 คนในบริเวณเมืองเก่า 176,000 คนในแตร์ราแฟร์มา (Terraferma) และ 31,000 คนในเกาะอื่น ๆ ในทะเล.
ดู สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และเวนิส
ดูเพิ่มเติม
รูปแบบสถาปัตยกรรม
- กอทิกอ็องฌ์แว็ง
- งานฝังประดับแบบคอสมาติ
- จริตนิยม
- นวยุคนิยม
- ศิลปะเค้าโครง
- ศิลปะและสถาปัตยกรรมเมรอแว็งเฌียง
- สถาปัตยกรรมกอทิก
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศส
- สถาปัตยกรรมจอร์เจียน
- สถาปัตยกรรมจีน-โปรตุเกส
- สถาปัตยกรรมทิวดอร์
- สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีก
- สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก
- สถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก
- สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
- สถาปัตยกรรมเอลิซาเบธ
- สถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ
- สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สถาปัตยกรรมสมัยกลาง
- ประตูปีศาจ
- มุขข้างโบสถ์
- ศิลปะและสถาปัตยกรรมสมัยก่อนโรมาเนสก์
- สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
- อาสนวิหารวาน
- เพดานพัด
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 10
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 11
- สถาปัตยกรรมนอร์มัน
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 12
- สถาปัตยกรรมกอทิก
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศส
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ
- สถาปัตยกรรมนอร์มัน
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 13
- สถาปัตยกรรมกอทิก
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศส
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 14
- ศิลปะกอทิกนานาชาติ
- สถาปัตยกรรมกอทิก
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศส
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
- สรีดภงส์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 15
- ศิลปะกอทิกนานาชาติ
- สถาปัตยกรรมกอทิก
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบฝรั่งเศส
- สถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษ
- สถาปัตยกรรมทิวดอร์
- สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
- สุสานหลวงราชวงศ์หมิง
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 4
- ศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรก
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 5
- ศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรก
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 7
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
สิ่งก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 9
- สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Byzantine architectureสถาปัตยกรรมไบแซนทีน