โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาว

ดัชนี สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาว

นีโทรทัศน์แห่งชาติลาว (ສະຖານີໂທລະພາບແຫ່ງຊາດລາວ, ชื่อย่อ: ທຊລ) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งชาติในการกำกับของรัฐบาลลาว นับเป็นสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศภาคพื้นดินเพียงแห่งเดียวในประเทศลาว.

41 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2526พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พระธาตุหลวงภาพยนตร์ภาพยนตร์ลาวภาพยนตร์ไทยภาษาลาวรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทยรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายการโทรทัศน์ละครโทรทัศน์วันพฤหัสบดีวีเอชเอฟสัญญาณแอนะล็อกสถานีวิทยุกระจายเสียงสถานีโทรทัศน์หวยพัฒนาดาวเทียมไทยคมประเทศลาวประเทศไทยนครหลวงเวียงจันทน์แขวงบอลิคำไซแขวงบ่อแก้วแขวงพงสาลีแขวงสาละวันแขวงสุวรรณเขตแขวงหลวงพระบางแขวงหลวงน้ำทาแขวงหัวพันแขวงอัตตะปือแขวงอุดมไซแขวงจำปาศักดิ์แขวงคำม่วนแขวงไชยบุรีแขวงเชียงขวางแขวงเซกองเว็บไซต์1 ธันวาคม1 ตุลาคม2 ธันวาคม

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พระธาตุหลวง

ระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี (ທາດຫລວງ หรือ ພຣະທາດຫລວງ) นับเป็นปูชนียสถานอันสำคัญยิ่งแห่งเวียงจันทน์ และเป็นศูนย์รวมใจของประชาชนชาวลาวทั่วประเทศ ตามตำนานกล่าวว่าพระธาตุหลวงมีประวัติการก่อสร้างนับพันปีเช่นเดียวกันพระธาตุพนมในประเทศไทย และปรากฏความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ของดินแดนทางฝั่งขวาแม่น้ำโขงอย่างแยกไม่ออก สถานที่นี้ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์สำคัญอย่างของประเทศลาว ดังปรากฏว่าตราแผ่นดินของลาวที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้มีรูปพระธาตุหลวงเป็นภาพประธานในดวงตร.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและพระธาตุหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ลาว

นตร์ลาว คือภาพยนตร์ภาษาลาว โดยในยุคแรกประมาณปี ค.ศ. 1950 เป็นต้นมาภาพยนตร์ลาวส่วนใหญ่เป็นหนังสารคดีที่ทำขึ้นเพื่อโน้มน้าวประชาชนให้รักชาติ ภายใต้การอำนวยการสร้างของรัฐบาลและกลุ่มแนวลาวรักชาติ (Lao Patriotic Front) อาทิเช่นภาพยนตร์เรื่อง Gathering in the Zone of Two Provinces ถือเป็นภาพยนตร์ที่เก่าแก่ที่สุด ไม่ปรากฏปีที่สร้าง สร้างโดยคนทำภาพยนตร์เวียดนาม,20 ปีแห่งการปฏิวัติ (1965), ไซซะนะละดูแล้ง (ชัยชนะฤดูแล้ง - 1970) และ แดนแห่งอิดสะระ (1970) ต่อมารัฐบาลลาวเริ่มทำหนังบ้างและมีจุดประสงค์เพื่อปลูกฝังให้คนรักชาติเช่นเดิม เช่น เพื่อนฮัก เพื่อนแค้น และ แผ่นดินของเฮา (ทั้ง 2 เรื่องไม่ปรากฏปีที่ฉาย) มีการเผยแพร่ด้วยวิธีเร่ฉายตามชานเมืองเพื่อให้เข้าถึงคนหมู่มาก หลังปี ค.ศ. 1975 หลังการปลดปล่อยประเทศ วงการหนังลาวเข้าสู่ภาวะซบเซา แต่อย่างไรก็ตามกระทรวงวัฒนธรรมได้ตั้งศูนย์สำเนาฟิล์มขึ้นเพื่อรักษาฟิล์มหนังและผลิตสารคดีเผยแพร่ทางโทรทัศน์ในวาระสำคัญต่างๆ มากกว่าการปลุกระดมดังแต่ก่อน เช่น บันทึกการประชุมนานาชาติ,บันทึกเหตุการณ์น้ำท่วม, บันทึกการสร้างเมืองใหม่ เป็นต้น ต่อมาปี 1983 รัฐบาลลาวและเวียดนามร่วมกันสร้างภาพยนตร์เล่าเรื่องเรื่องแรก คือ เสียงปืนจากทุ่งไห่ กำกับโดย สมจิต พนเสนาและ พัน กี นัม ผู้กำกับชาวเวียดนาม เป็นภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกองกำลังทหารยุคคอมมิวนิสต์ แต่ได้ผลลัพธ์ที่ไม่ดีนัก ต่อมารัฐบาลลาวสร้างหนังเรื่อง บัวแดง ในปี 1988 เป็นเรื่องราวรันทดของครอบครัวที่ถูกพรากจากกันโดยสงครามกลางเมือง เป็นเรื่องที่มีฉากหลังอยู่ในปี 1972 ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จดี"หนังลาวยุคก่อนและหลังการปลดปล่อย".

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและภาพยนตร์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายการโทรทัศน์

รายการทอล์กโชว์ The Oprah Winfrey Show โดย โอปราห์ วินฟรีย์ รายการโทรทัศน์ เป็นส่วนต่าง ๆ ของการออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ การออกอากาศรายการโทรทัศน์ มีขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1936 ในกรุงลอนดอน รายการโทรทัศน์ อาจออกอากาศเพียงแค่ครั้งเดียว หรือมีตอนต่อ ที่เรียกว่า ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ (TV series) ส่วนมากมักเป็นรายการประเภทละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์มักแบ่งเป็นภาค ๆ โดยในหนึ่งภาค ในสหรัฐอเมริกาจะเรียกว่า ฤดูกาล (season) แต่ในสหราชอาณาจักรจะเรียกว่า ชุด (series) แต่ละฤดูกาลหรือชุดจะมีความยาวประมาณ 6-26 ตอน รายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศเป็นพิเศษเพียงครั้งเดียว จะเรียกว่า รายการพิเศษ (special program) และสถานีวิทยุโทรทัศน์บางสถานี ยังมี ภาพยนตร์โทรทัศน์ (TV movies) ที่สร้างขึ้นเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์โดยเฉพาะ ไม่ได้ออกฉายทางโรงภาพยนตร์ หรือบันทึกลงในวิดีโอ วีซีดี ดีวีดี หรือสื่ออื่น ๆ ทุกวันนี้ การออกอากาศ ภาพยนตร์โฆษณา (commercial advertisement) ถือเป็นส่วนสำคัญของรายการโทรทัศน์ โดยมีข้อปฏิบัติเป็นเกณฑ์ว่า ในการออกอากาศรายการโทรทัศน์ 1 ชั่วโมง จะมีภาพยนตร์โฆษณาได้ไม่เกิน 15 นาที เหมือนในโรงภาพยนตร.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและรายการโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและละครโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

วันพฤหัสบดี

วันพฤหัสบดี เป็นวันลำดับที่ 5 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพุธกับวันศุกร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 4 ของสัปดาห.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและวันพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

วีเอชเอฟ

วีเอชเอฟ (VHF) เป็นชื่อย่อของคลื่นความถี่สูงมาก (Very-High Frequency) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากกว่าชื่อเต็ม มักใช้ในการสื่อสารของวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและวีเอชเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาณแอนะล็อก

ัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนำสัญญาณข้อมูลเหล่านี้ผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสัญญาณก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการ ตัวอย่างของการส่งข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนะล็อก คือ การส่งผ่านระบบโทรศัพท์ สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณที่มักเกิดขึ้นในธรรมชาติเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สัญญาณแบบนี้ เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เป็นต้น.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและสัญญาณแอนะล็อก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุกระจายเสียง

งสัญญาณวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียง เป็นสถานที่ของหน่วยงาน ซึ่งทำหน้าที่สื่อสารมวลชน ด้วยการใช้เครื่องส่งกระจายเสียงผ่านคลื่นวิทยุ โดยใช้เสากระจายสัญญาณ ออกไปยังผู้ฟังผ่านเครื่องรับวิท.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและสถานีวิทยุกระจายเสียง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์

นีโทรทัศน์ เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของนิติบุคคล บริษัทจำกั.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและสถานีโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

หวยพัฒนา

ริษัทรัฐวิสาหกิจหวยพัฒนา (ບໍລິສັດ ລັດ​ວິ​ສາ​ຫະ​ກິດຫວຍພັດທະນາ​) หรือ หวยพัฒนา (ຫວຍພັດທະນາ​) เป็นรัฐวิสาหกิจที่ขึ้นตรงกับรัฐบาลลาวผ่านกระทรวงการเงิน มีหน้าที่ในการออกสลากเพื่อนำรายได้เข้ารัฐบาล และสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของรัฐ (ลักษณะของหน่วยงานนี้เทียบเท่ากับ ของรัฐบาลไทย).

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและหวยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมไทยคม

วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและดาวเทียมไทยคม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นครหลวงเวียงจันทน์

นครหลวงเวียงจันทน์ (ນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ, นะคอนหลวงเวียงจัน) เป็นเขตที่ตั้งของกรุงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นทั้งเมืองหลวงของประเทศลาวและเป็นเขตการปกครองพิเศษนครหลวงเวียงจันทน์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ มีอาณาเขตตรงข้ามอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายของประเทศไทย เชื่อมต่อคมนาคมด้วยสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเขตปกครองที่มีความเจริญของเมืองมากที่สุดในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุด 18 แห่งของประเทศลาว ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและนครหลวงเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบอลิคำไซ

อลิคำไซ (ບໍລິຄໍາໄຊ) เป็นหนึ่งในแขวงที่ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศลาว แขวงบอลิคำไซจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยได้มีการแยกเมืองปากซัน เมืองท่าพระบาท เมืองบริคัณฑ์ (มาจากชื่อเต็มในอดีต "เมืองบริคัณฑนิคม") จากแขวงเวียงจันทน์ และแยกเมืองปากกระดิ่ง เมืองคำเกิด จากแขวงคำม่วน มารวมกันแล้วตั้งเป็นแขวงใหม่ เนื่องจากพื้นที่แขวงเวียงจันทน์และแขวงคำม่วนกว้างใหญ่ การปกครองดูแลไม่ทั่วถึง ชื่อของแขวงมาจากชื่อเมืองบริคัณฑ์และเมืองคำเกิดมาสมาสกับคำว่าชัยชนะหรือไซซะนะในภาษาลาว จึงเรียกว่า "บอลิคำไซ" ส่วนเมืองเวียงทองได้จัดตั้งขึ้นในภายหลัง แขวงนี้มีชื่อเสียงมากเกี่ยวกับหินปูน ทั้งทัศนียภาพและเหมืองซึ่งใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงบอลิคำไซ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบ่อแก้ว

อแก้ว (ບໍ່ແກ້ວ) เป็นแขวงที่ตั้งอยู่ทางตอนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศลาว แขวงนี้มีชื่อเสียงทางด้านอัญมณี และยังอยู่ในเขตสามเหลี่ยมทองคำอีกด้ว.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงบ่อแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

แขวงพงสาลี

งสาลี (ຜົ້ງສາລີ, ผ้งสาลี) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนบนสุดของประเทศ เดิมพื้นที่แขวงพงสาลีเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นสิบสองปันนา ประเทศจีน เรียกว่า ปันนาอู ต่อมาตกเป็นของฝรั่งเศสแล้วถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลาวในปัจจุบัน ล้อมรอบด้วยภูเขาสูงตั้งแต่ 450 เมตร ถึง 1,800 เมตร อากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทลื้อและชนเผ่าต่าง.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงพงสาลี · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสาละวัน

ละวัน (ສາລະວັນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่บริเวณที่ราบสูงบอละเวนทางตอนใต้ของประเทศ ชื่อของแขวงสาละวันมาจากบริเวณที่ตั้งเมืองสาละวันมีต้นฮังหรือต้นรังเป็นจำนวนมาก ต้นรังในภาษาบาลีเรียกว่า สาละ ส่วนคำว่า วัน แปล ว่าป่าไม้ ดังนั้นคำว่าสาละวันจึงหมายความว่า ดินแดนแห่งป่าไม้รัง.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงสาละวัน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสุวรรณเขต

หวันนะเขต เชื่อมโยงมาที่นี่ สำหรับความหมายอื่นของสุวรรณเขต ดูที่ สุวรรณเขต (แก้ความกำกวม) สุวรรณเขต หรือ สะหวันนะเขต (ສະຫວັນນະເຂດ สะกด สะหวันนะเขด) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงคำม่วน ทิศใต้ติดกับแขวงสาละวัน เป็นแขวงที่มีเนื้อที่ใหญ่อันดับที่ 2 รองจากแขวงเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงสุวรรณเขต · ดูเพิ่มเติม »

แขวงหลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພະບາງ, ຫລວງພະບາງ) เป็นแขวงหนึ่ง (เทียบจังหวัดของไทย) ของประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตั้งอยู่บริเวณจุดบรรจบระหว่างแม่น้ำโขงกับแม่น้ำคาน และมีเมืองเอกซึ่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงหลวงน้ำทา

หลวงน้ำทา (ຫຼວງນໍ້າທາ, ຫລວງນໍ້າທາ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดของประเทศ ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศใต้ติดกับแขวงบ่อแก้ว ทิศตะวันออกติดกับแขวงอุดมไซ และทิศตะวันตกติดกับประเทศพม.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงหลวงน้ำทา · ดูเพิ่มเติม »

แขวงหัวพัน

หัวพัน (ຫົວພັນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ติดกับประเทศเวียดนาม เดิมแขวงนี้รู้จักในชื่อ "หัวพันห้าทั้งหก" (มักเรียกผิดเป็น หัวพันทั้งห้าทั้งหก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในเหตุการณ์สงครามปราบฮ่อ แขวงหัวพันตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแขวงเชียงขวาง ประวัติศาสตร์ของสองแขวงนี้มีความคล้ายคลึงกัน ในอดีตหัวพันเคยตกเป็นเมืองขึ้นของเวียดนามสลับกับการดำรงอยู่ในฐานะรัฐเอกราช และเพิ่งถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของลาวในสมัยที่ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ปัจจุบันมีประชากรราว 322,200 คน ภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ อากาศค่อนข้างหนาว ประกอบด้วยชนกลุ่มน้อยกว่า 20 เผ่า เช่น ไทขาว ไทแดง ไทเหนือ ไทน้อย ม้ง ขมุ ยูนนาน ส่วนใหญ่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงหัวพัน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงอัตตะปือ

อัตตะปือ (ອັດຕະປື, อัดตะปือ) เป็นแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดต่อกับแขวงเซกองทางทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงจำปาศักดิ์ทางทิศตะวันตก ติดต่อกับเทือกเขาอันนัมทางทิศตะวันออก (เป็นเส้นแบ่งเขตแขวงอัตตะปือกับประเทศเวียดนาม) และติดต่อกับประเทศกัมพูชาทางทิศใต้ อนึ่งคำว่า อัตตะปือ แปลว่า "ขี้ควาย" ในภาษาของชนเผ่าละแว.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงอัตตะปือ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงอุดมไซ

อุดมไซ (ອຸດົມໄຊ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเท.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงอุดมไซ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงคำม่วน

ำม่วน (ຄໍາມ່ວນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงบอลิคำไซ ทิศใต้ติดกับแขวงสุวรรณเขต เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงคำม่วน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงไชยบุรี

ตราประจำจังหวัดลานช้างเมื่ออยู่ใต้การปกครองของไทย (พ.ศ. 2484 - 2489) ไชยบุรี (ໄຊຍະບູລີ, ไซยะบูลี) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของประเทศ มีพื้นที่ติดกับประเทศไทยทางด้านจังหวัดเชียงราย, จังหวัดพะเยา, จังหวัดน่าน, จังหวัดอุตรดิตถ์, จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเลย เคยเป็นส่วนหนึ่งของสยามก่อนการเสียดินแดนเมื่อปี พ.ศ. 2447 ซึ่งมีผลให้แขวงนี้ไปขึ้นกับอินโดจีนของฝรั่งเศส ไทยได้กลับคืนมาชั่วคราวในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อได้กลับคืนมาจึงตั้งเป็นจังหวัดลานช้าง แต่ต้องคืนกลับไปเหมือนเดิมหลังสงคราม เมื่อแขวงไชยบุรีกลับคืนไปเป็นของลาวอีกครั้ง จึงได้ตั้งชื่อว่า ไชยบุรี ซึ่งแปลว่า เมืองแห่งชัยชนะ ชัยชนะที่แขวงได้กลับคืนเป็นของลาวอีกครั้ง (แต่ก่อนไชยบุรีเป็นส่วนหนึ่งของแขวงหลวงพระบาง).

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงไชยบุรี · ดูเพิ่มเติม »

แขวงเชียงขวาง

ียงขวาง (ຊຽງຂວາງ สะกด เซียงขวาง อ่าน เซียงขวง) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ ติดกับประเทศเวียดนาม ความสูงเฉลี่ยจากระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ 1,200 เมตร เมืองเอกเดิมคือเมืองคูน แต่ด้วยสภาพความเสียหายอย่างรุนแรงจากสงครามเวียดนาม จึงย้ายเมืองเอกมาเป็นเมืองโพนสวรรค์ในปัจจุบัน ในสมัยโบราณ เมืองนี้รู้จักกันในชื่อว่าเมืองพวน ผู้ที่อยู่อาศัยอยู่ที่นั่น หรืออพยพไปอยู่ที่อื่นเรียกว่า ชาวไทพวน และบริเวณนี้ยังมีทุ่งไหหิน อีกด้ว.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงเชียงขวาง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงเซกอง

ซกอง (ເຊກອງ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับประเทศเวียดนาม ประชากรส่วนใหญ่ของแขวงเป็นชนเผ่าลาวเทิง พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร มีเผ่าย่อยออกไปหลายเผ่า มีชาวลาวลุ่มอาศัยอยู่ค่อนข้างน้อย เพียงร้อยละ 3 เท่านั้น แขวงเซกองแยกออกมาจากแขวงสาละวันเมื่อปี พ.ศ. 2526 ชื่อของแขวงตั้งตามชื่อแม่น้ำกอง (เซกอง) ที่ไหลผ่านพื้นที.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและแขวงเซกอง · ดูเพิ่มเติม »

เว็บไซต์

หน้าหนึ่งในเว็บไซต์วิกิพีเดีย เว็บไซต์ (website, web site หรือ site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ เว็บไซต์แห่งแรกของโลกถูกสร้างขึ้นเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2536 โดยวิศวกรของเซิร์น.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและเว็บไซต์ · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 ธันวาคม

วันที่ 2 ธันวาคม เป็นวันที่ 336 ของปี (วันที่ 337 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 29 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาวและ2 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศลาวสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศลาวสถานีโทรภาพแห่งชาติลาวสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศลาว

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »