โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แขวงจำปาศักดิ์

ดัชนี แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

73 ความสัมพันธ์: ชาวญวนชาวจีนพ.ศ. 2063พ.ศ. 2436พ.ศ. 2447พ.ศ. 2448พ.ศ. 2484พ.ศ. 2497พ.ศ. 2558พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาโพธิสาลราชพระเจ้าฟ้างุ้มพงศาวดารกรณีพิพาทอินโดจีนมรดกโลกมิลลิเมตรราชวงศ์ตองอูราชอาณาจักรลาวลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสยามสามเหลี่ยมมรกตสงครามโลกครั้งที่สองหลวงพระบางอาณาจักรฟูนานอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์อาณาจักรหลวงพระบางอาณาจักรธนบุรีอำเภอบุณฑริกอำเภอสิรินธรอำเภอโขงเจียมอินโดจีนของฝรั่งเศสองศาเซลเซียสจักรวรรดิขแมร์จังหวัดพระวิหารจังหวัดสตึงแตรงจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดนครจัมปาศักดิ์จำปาศักดิ์จุดผ่านแดนถาวรช่องเม็กท่าอากาศยานนานาชาติปากเซความชื้นสัมพัทธ์ประเทศกัมพูชาประเทศฝรั่งเศสประเทศลาว...ประเทศไทยปราสาทหินวัดพูปากเซนครหลวงเวียงจันทน์น้ำตกคอนพะเพ็งแขวงบอลิคำไซแขวงสาละวันแขวงสุวรรณเขตแขวงอัตตะปือแขวงของประเทศลาวแขวงคำม่วนแขวงเซกองโพนทองไกสอน พมวิหาน (เมือง)เมืองชนะสมบูรณ์เมืองสาละวันเมืองปากช่อง (ประเทศลาว)เมืองปากเซเมืองโขงเวียงจันทน์เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)UTC+07:00 ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »

ชาวญวน

วญวน หรือ เวียดนาม เรียกตนเองว่า เหวียต หรือ เหยียก (người Việt) หรือ กิญ (người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกวแกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 242-243) เป็นประชากรหลักของประเทศเวียดนาม และกระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน เรียกว่า จิง จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลูยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน ผลลัพธ์บ่งชี้ว่าเวียดนามเป็นชาติพันธุ์สืบมาจากจีนและไทย ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ได้มีการศึกษายีน Human Leukocyte Antigen ที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลมักคายในกรุงไทเป ได้จำแนกชาวเวียดนามไว้ในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกับม้ง, ฮั่นตอนใต้, ปู้อี และไทย พร้อมกับครอบครัวที่หลากหลายอันประกอบด้วยไทยเชื้อสายจีน, สิงคโปร์เชื้อสายจีน, ชนหมิ่นหนาน (ฮกโล้) และจีนแ.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และชาวญวน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีน

รูปวาดในกรุงปักกิ่งแสดงถึงชนเผ่าทั้ง 56 ของจีน ชาวจีน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และชาวจีน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2063

ทธศักราช 2063 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2063 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2447 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโพธิสาลราช

ระยาโพธิสาลราชสุรศักดิ์ ศรีสำอาง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระยาโพธิสาลราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟ้างุ้ม

ระเจ้าฟ้างุ้ม (พ.ศ. 1859-1936) เอกสารบางแห่งออกพระนามว่า เจ้าฟ้างุ่ม หรือ เจ้าฝ้างู่ม (ຝ້າງູ່ມ) ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้าง และเป็นกษัตริย์ผู้ครองนครเชียงดง-เชียงทองพระองค์ที่ ๒๗ ซึ่งสืบเชื้อสายราชวงศ์มาจากขุนบรมราชาธิราช ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาราชพระองค์แรกของประเทศลาว พระเจ้าศรีสุริโยวงษ์ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงอินทปัตถ์ (พระนครหลวง) ในอาณาจักรขอม ทรงยกพระราชธิดาของพระองค์ให้เป็นพระอัครมเหสี พระเจ้าฟ้างุ้มและพระอัครมเหสีทรงมีบทบาทสำคัญในการนำพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์แบบกัมพูชาเข้ามาเผยแพร่ในราชอาณาจักรล้านช้าง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพระเจ้าฟ้างุ้ม · ดูเพิ่มเติม »

พงศาวดาร

งศาวดาร คือบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ พงศาวดารในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็นหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานชั้นรอง เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้มหาศักราช บ้างใช้จุลศักราช และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น พระราชพงศาวดารฉบับเถื่อน ซึ่งเขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นต้น.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และพงศาวดาร · ดูเพิ่มเติม »

กรณีพิพาทอินโดจีน

กรณีพิพาทอินโดจีน หรือ สงครามอินโดจีน ในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-ไทย เป็นการสู้รบระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศสเขตวีชีเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส จอมพล ป. พิบูลสงคราม กล่าวปราศรัยแก่นิสิตนักศึกษาและประชาชนที่มาชุมนุมเรียกร้องเอาดินแดนอินโดจีน คืนจากฝรั่งเศส ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483 ที่หน้ากระทรวงกลาโหม หลวงวิจิตรวาทการประกาศสงครามผ่านทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และกรณีพิพาทอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มิลลิเมตร

มิลลิเมตร อักษรย่อ มม. (Millimetre: mm) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 x 10-3 เมตร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และมิลลิเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลาว

ราชอาณาจักรลาว เป็นชื่อของประเทศลาวตั้งแต่ พ.ศ. 2496 จนถึงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 เมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาวสามารถล้มกษัตริย์และสามารถสถาปนาสปป.ลาวได้สำเร็จ โดยได้รับสิทธิปกครองตนเองจากประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2492 ใช้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประม.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และราชอาณาจักรลาว · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112

วิกฤตการณ์ ร..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สามเหลี่ยมมรกต

มเหลี่ยมมรกต หรือ ช่องบก (Emerald Triangle) เป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างชายแดนไทย ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา มีพื้นที่ประมาณ 12 ตารางกิโลเมตร สำหรับพื้นที่ส่วนที่อยู่ในประเทศไทยคือ พื้นที่ในอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ในเขตประเทศลาวคือเมืองมูลประโมกข์ แขวงจำปาศักดิ์ ส่วนพื้นที่ในประเทศกัมพูชาคือเมืองจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร สามเหลี่ยมมรกตตั้งชื่อเลียนแบบสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งเป็นพื้นที่รอยต่อของไทย ลาว และพม่า ในภาคเหนือ.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสามเหลี่ยมมรกต · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรฟูนาน

รัฐฟูนาน (អាណាចក្រនគរភ្នំ ឬ ហ្វូណន) (Phù Nam) เป็นรัฐโบราณที่มีอิทธิพลเหนือดินแดน แห่งลุ่มน้ำแม่โขง แม่น้ำเจ้าพระยา ก่อตั้งขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 กษัตริย์องค์แรกคือพราหมณ์โกณฑิญญะ ซึ่งมีเชื้อสายจากอินเดีย ได้มีมเหสีคือ "นางโสมา".

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอาณาจักรฟูนาน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์

ราชอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ คืออาณาจักรลาวล้านช้างที่ตั้งอยู่ทางต้นใต้ของประเทศลาวในปัจจุบัน ดำรงอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2256 ถึง พ.ศ. 2489 เป็นเวลา 236 ปี อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ตกเป็นประเทศราชของไทยจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อฝรั่งเศสเข้ามาครอบครองบริเวณประเทศลาวทั้งหมด จำปาศักดิ์ถูกยุบรวมเข้ากับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง กลายมาเป็นราชอาณาจักรลาว เมื่อปี..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์

อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ เป็นอาณาจักรทางตอนกลางของประเทศลาว และ ภาคอีสานตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบัน อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ครอบคลุม ภาคอีสานตอนบน แขวงเวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์ กรุงเวียงจันทน์ซึ่งปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของประเทศและบริเวณใกล้เคียง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ติดกับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ เมื่อถึง พ.ศ. 2436 อาณาจักรล้านช้างทั้ง 3 ส่วนจึงได้ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และได้รับเอกราชเป็นพระราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2496 รวมลาวอยู่ภายใต้อาณานิคมของฝรั่งเศสเป็นเวลา 60 ปี หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ลาว หมวดหมู่:เวียงจันทน์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศลาว หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ล.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหลวงพระบาง

อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง อยู่ทางประเทศลาวตอนเหนือ ภายหลังเมื่อรวมลาวเป็นหนึ่งแล้ว ก็ยังเป็นเมืองหลวงของลาว จนกระทั่งเปลี่ยนแปลงการปกครอง หลังเจ้ากิสราช กับเจ้าองค์นก (องค์ดำ) มาชิงเอาเมืองหลวงพระบางได้ ก็ประกาศขึ้นครองราชสมบัติของนครหลวงพระบางในระหว่าง..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอาณาจักรหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบุณฑริก

ณฑริก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี ประชากรส่วนมากทำอาชีพเกษตรกรรม.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอบุณฑริก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสิรินธร

รินธร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นส่วนตะวันออกสุดของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอสิรินธร พ.ศ. 2534 อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2535 อำเภอสิรินธรยังเป็นที่ตั้งของเขื่อนสิรินธรและจุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก ช่องการค้าชายแดนไทย-ลาวด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโขงเจียม

งเจียม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศไทย โดยมีชื่อเดิมว่า อำเภอบ้านด่าน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอำเภอโขงเจียม · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และอินโดจีนของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

องศาเซลเซียส

องศาเซลเซียส (สัญลักษณ์ °C) หรือที่เคยเรียกว่า องศาเซนติเกรด (degree centigrade) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหน่วยหนึ่งในระบบเอสไอ กำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 °C และจุดเดือดคือ 100 °C โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่แอนเดอร์ เซลเซียส ผู้ซึ่งสร้างระบบใกล้เคียงกับปัจจุบัน ในปัจจุบันองศาเซลเซียสใช้กับแพร่หลายทั่วโลกในชีวิตประจำวัน จะยกเว้นก็มีสหรัฐอเมริกาและประเทศจาไมกาเท่านั้นที่นิยมใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ แต่ในประเทศดังกล่าว องศาเซลเซียสและเคลวินก็ใช้มากในด้านวิทยาศาสตร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และองศาเซลเซียส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิขแมร์

ักรวรรดิขแมร์ หรือ อาณาจักรเขมร หรือบางแหล่งเรียกว่า อาณาจักรขอม เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ ประเทศไทย ลาว และบางส่วนของเวียดนามในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับอาณาจักรสุโขทัย และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่างๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู พุทธศาสนามหายาน และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจักรวรรดิขแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระวิหาร

ระวิหาร หรือ เปรียะวิเฮีย (ព្រះវិហារ) เป็นจังหวัดสำคัญทางภาดเหนือของประเทศกัมพูชา มีชายแดนติดกับประเทศไทยทางด้านจังหวัดศรีสะเกษ มีเมืองพนมตะแบงมีชัยเป็นเมืองหลักของจังหวัด จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของปราสาทพระวิหารซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชาที่มีปัญหาเรื่องพื้นที่ทับซ้อน และได้เกิดกรณีพิพาทเรื่องปราสาทหินนี้จนต้องมีการตัดสินในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อ พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตึงแตรง

ตึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង, "แม่น้ำต้นกก") เป็น 1 ใน 2 จังหวัดที่อยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศกัมพูชา ชาวลาวเรียกชื่อที่แห่งนี้ว่า เซียงแตง (ຊຽງແຕງ) ส่วนในภาษาไทยเดิมเรียกตามภาษาลาวว่า เชียงแตง บ้างก็ทับศัพท์เป็น สตึงเตรง หรือ สะตึงแตรง พื้นที่ส่วนนี้เคยเป็นเขตแดนของอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ (ภายหลังเป็นประเทศราชของสยาม) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 23–25 ก่อนจะตกมาเป็นของกัมพูชาใน พ.ศ. 2447 จากการที่ฝรั่งเศสได้พื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำโขงในบังคับสยามมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดสตึงแตรง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครจัมปาศักดิ์

ังหวัดนครจัมปาศักดิ์ เป็น 1 ใน 4 จังหวัดที่ประเทศไทยได้ดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในช่วง พ.ศ. 2484 โดยยกท้องที่การปกครองเมืองจำปาศักดิ์ ซึ่งเดิมขึ้นอยู่กับมณฑลอุบลราชธานีในสมัยรัชกาลที่ 5 และตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2447 ขึ้นเป็นจังหวัด ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยต้องส่งดินแดนดังกล่าวให้แก่ฝรั่งเศส ซึ่งปกครองประเทศลาวในขณะนั้น ภายหลังเมื่อประเทศลาวได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสแล้ว พื้นที่ดังกล่าวจึงได้ยกขึ้นเป็นแขวงจำปาศักดิ์ของลาวในปัจจุบัน อนึ่ง พื้นที่ของจังหวัดนี้ยังกินอาณาบริเวณพื้นที่ส่วนหนึ่งของจังหวัดสตึงแตรง และพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพระวิหาร ในประเทศกัมพูชาในปัจจุบันนี้ด้วย กรมศิลปากรได้กำหนดให้จังหวัดจัมปาศักดิ์ใช้ตราประจำจังหวัดเป็นรูปปราสาทวัดภู อันเป็นโบราณสถานสำคัญของเมืองจำปาศักดิ์ อย่างไรก็ตาม ในหนังสือตราประจำจังหวัดของกรมศิลปากร พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2542 ไม่ได้ลงพิมพ์รูปตราดังกล่าวไว้ด้ว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ เป็นเมืองหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก

อาคารที่ทำการด่านพรมแดนช่องเม็ก ตำบลช่องเม็ก จุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก เป็นจุดผ่านแดนถาวรที่เชื่อมช่องเม็ก ตำบลช่องเม็ก อำเภอสิรินธร (เดิมคือ อำเภอพิบูลมังสาหาร) จังหวัดอุบลราชธานี กับบ้านวังเต่า ประเทศลาว เปิดทำการเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2503 เดิมตั้งอยู่ที่บ้านหนองเมค ตำบลพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2505 จึงได้ย้ายมาตั้งอยู่ที่บ้านช่องเม็ก ตำบลช่องเม็ก อำเภอพิบูลมังสาหาร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และจุดผ่านแดนถาวรช่องเม็ก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปากเซ

ท่าอากาศยานนานาชาติปากเซ (Pakse International Airport) เป็นหนึ่งใน สนามบินนานาชาติ ใน ประเทศลาว ปากเซ เป็นอดีตเมืองหลวงทางภาคใต้ของอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ ATR-72 ของการบินลาวที่ท่าอากาศยานนานาชาติปากเซ ประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และท่าอากาศยานนานาชาติปากเซ · ดูเพิ่มเติม »

ความชื้นสัมพัทธ์

กรมิเตอร์สำหรับวัดความชื้นในอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity - rH) เป็นหน่วยวัดหนึ่งที่นิยมใช้วัดระดับความชื้นในอากาศ มีนิยามคือ อัตราส่วนโดยมวลของไอน้ำในอากาศในขณะหนึ่ง(ที่อุณหภูมิหนึ่ง) ต่อ ไอน้ำสูงสุดที่อากาศ (ที่อุณหภูมินั้น) สามารถแบกรับไว้ได้.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และความชื้นสัมพัทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทหินวัดพู

ปราสาทวัดพู ปราสาทวัดพู เป็นโบราณสถานในประเทศลาว ซึ่งเป็นมรดกโลกแห่งที่สองของประเทศลาว เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างถวายพระศิวะ ตั้งอยู่บนเนินเขาภู หรือเรียกกันว่าภูควาย ห่างจากตัวเมืองเก่าจำปาศักดิ์ประมาณ 6 กิโลเมตร ลักษณะของปราสาทเป็นเทวสถานขอม คล้ายกับเขาพระวิหาร สร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 12 ในสมัยของพระเจ้ามเหนทรวรมัน ถือว่าเป็นปราสาทหินที่มีอายุเก่าแก่ที.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และปราสาทหินวัดพู · ดูเพิ่มเติม »

ปากเซ

นข้ามแม่น้ำโขงในปากเซ ปากเซ (ປາກເຊ) เป็นเมืองเอกของแขวงจำปาศักดิ์ อยู่ริมแม่น้ำโขง เป็นเมืองใหม่พึ่งตั้งได้ไม่นาน เมืองนี้ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเซโดน ที่บรรจบกับแม่น้ำโขงที่นี่ ปากเซเป็นเมืองที่มีสำคัญทางด้านเศรษฐกิจกับแขวงจำปาศักดิ์ และนับว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของลาวตอนใต้ มีประชาชนหลากหลายชนชาติเข้ามาดำรงชีวิตที่เมืองนี้.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และปากเซ · ดูเพิ่มเติม »

นครหลวงเวียงจันทน์

นครหลวงเวียงจันทน์ (ນະຄອນຫຼວງວຽງຈັນ, นะคอนหลวงเวียงจัน) เป็นเขตที่ตั้งของกรุงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นทั้งเมืองหลวงของประเทศลาวและเป็นเขตการปกครองพิเศษนครหลวงเวียงจันทน์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ มีอาณาเขตตรงข้ามอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคายของประเทศไทย เชื่อมต่อคมนาคมด้วยสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 1 นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเขตปกครองที่มีความเจริญของเมืองมากที่สุดในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุด 18 แห่งของประเทศลาว ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และนครหลวงเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตกคอนพะเพ็ง

น้ำตกคอนพะเพ็ง (ນ້ຳຕົກຕາດຄອນພະເພັງ) เป็นน้ำตกขนาดใหญ่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในภูมิภาคอินโดจีน น้ำตกคอนพะเพ็งเป็นน้ำตกที่มีหลายชั้น ตั้งอยู่บนแก่งหินขนาดใหญ่ขวางกั้นเส้นทางการไหลของแม่น้ำโขงทั้งสาย มีลักษณะต่างระดับกันสูงประมาณ 10 เมตร จัดเป็นน้ำตกที่ได้รับน้ำจากแม่น้ำโขงตอนล่าง น้ำตกคอนพะเพ็งมีความสูง 21 เมตร (69 ฟุต) กระแสน้ำไหลเชี่ยว 9.7 กิโลเมตร (6.0 ไมล์) ปริมาณน้ำตกลงมาด้วยความเร็วประมาณ 11,000 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (390,000 ลูกบาศก์ฟุต/วินาที) แม้ว่าปริมาณสูงสุดในบันทึกได้ถึงกว่า 49,000 ลูกบาศก์เมตร/วินาที (1,700,000 ลูกบาศก์ฟุต/วินาที) น้ำตกคอนพะเพ็งได้รับฉายาว่า "ไนแอการาแห่งเอเชีย" ตั้งอยู่ในแขวงจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ห่างจากเมืองปากเซประมาณ 150 กิโลเมตร เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อและสวยงามมากแห่งหนึ่งของประเทศลาว โดยคำว่า "คอน" หมายถึง "แก่ง" หรือ "เกาะ" "พะเพ็ง" หมายถึง "พระจันทร์วันเพ็ญ" นอกจากนี้แล้ว น้ำตกคอนพะเพ็งยังเป็นสถานที่อาศัยของสัตว์น้ำหายากหลายชนิด เช่น ปลาค้อคอนพะเพ็ง ที่เป็นปลาค้อเฉพาะถิ่นที่พบได้ในแถบนี้เท่านั้น และเป็นแหล่งอาศัยของโลมาหัวบาตร หรือ "ปลาข่า" (ປາຂ່າ) ในภาษาลาว โลมาเพียงไม่กี่ชนิดที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดได้ของโลก รวมถึงเป็นแหล่งกำเนิดของปลาบึก ซึ่งเป็นปลาหนังน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย เป็นต้น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกคอนพะเพ็ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และน้ำตกคอนพะเพ็ง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบอลิคำไซ

อลิคำไซ (ບໍລິຄໍາໄຊ) เป็นหนึ่งในแขวงที่ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศลาว แขวงบอลิคำไซจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยได้มีการแยกเมืองปากซัน เมืองท่าพระบาท เมืองบริคัณฑ์ (มาจากชื่อเต็มในอดีต "เมืองบริคัณฑนิคม") จากแขวงเวียงจันทน์ และแยกเมืองปากกระดิ่ง เมืองคำเกิด จากแขวงคำม่วน มารวมกันแล้วตั้งเป็นแขวงใหม่ เนื่องจากพื้นที่แขวงเวียงจันทน์และแขวงคำม่วนกว้างใหญ่ การปกครองดูแลไม่ทั่วถึง ชื่อของแขวงมาจากชื่อเมืองบริคัณฑ์และเมืองคำเกิดมาสมาสกับคำว่าชัยชนะหรือไซซะนะในภาษาลาว จึงเรียกว่า "บอลิคำไซ" ส่วนเมืองเวียงทองได้จัดตั้งขึ้นในภายหลัง แขวงนี้มีชื่อเสียงมากเกี่ยวกับหินปูน ทั้งทัศนียภาพและเหมืองซึ่งใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงบอลิคำไซ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสาละวัน

ละวัน (ສາລະວັນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่บริเวณที่ราบสูงบอละเวนทางตอนใต้ของประเทศ ชื่อของแขวงสาละวันมาจากบริเวณที่ตั้งเมืองสาละวันมีต้นฮังหรือต้นรังเป็นจำนวนมาก ต้นรังในภาษาบาลีเรียกว่า สาละ ส่วนคำว่า วัน แปล ว่าป่าไม้ ดังนั้นคำว่าสาละวันจึงหมายความว่า ดินแดนแห่งป่าไม้รัง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงสาละวัน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสุวรรณเขต

หวันนะเขต เชื่อมโยงมาที่นี่ สำหรับความหมายอื่นของสุวรรณเขต ดูที่ สุวรรณเขต (แก้ความกำกวม) สุวรรณเขต หรือ สะหวันนะเขต (ສະຫວັນນະເຂດ สะกด สะหวันนะเขด) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงคำม่วน ทิศใต้ติดกับแขวงสาละวัน เป็นแขวงที่มีเนื้อที่ใหญ่อันดับที่ 2 รองจากแขวงเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงสุวรรณเขต · ดูเพิ่มเติม »

แขวงอัตตะปือ

อัตตะปือ (ອັດຕະປື, อัดตะปือ) เป็นแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดต่อกับแขวงเซกองทางทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงจำปาศักดิ์ทางทิศตะวันตก ติดต่อกับเทือกเขาอันนัมทางทิศตะวันออก (เป็นเส้นแบ่งเขตแขวงอัตตะปือกับประเทศเวียดนาม) และติดต่อกับประเทศกัมพูชาทางทิศใต้ อนึ่งคำว่า อัตตะปือ แปลว่า "ขี้ควาย" ในภาษาของชนเผ่าละแว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงอัตตะปือ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงของประเทศลาว

ประเทศลาวแบ่งเขตการปกครองระดับบนสุดออกเป็น 17 แขวง (ແຂວງ) และ 1 เขตนครหลวง (ນະຄອນຫຼວງ) เขตพิเศษไชยสมบูรณ์จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2537 และถูกยกเลิกเมื่อ 13 มกราคม พ.ศ. 2549 ส่วนเขตปกครองล่าสุดที่ได้จัดตั้งขึ้นคือ "แขวงไชยสมบูรณ์" จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แขวงคำม่วน

ำม่วน (ຄໍາມ່ວນ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงบอลิคำไซ ทิศใต้ติดกับแขวงสุวรรณเขต เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงคำม่วน · ดูเพิ่มเติม »

แขวงเซกอง

ซกอง (ເຊກອງ) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับประเทศเวียดนาม ประชากรส่วนใหญ่ของแขวงเป็นชนเผ่าลาวเทิง พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร มีเผ่าย่อยออกไปหลายเผ่า มีชาวลาวลุ่มอาศัยอยู่ค่อนข้างน้อย เพียงร้อยละ 3 เท่านั้น แขวงเซกองแยกออกมาจากแขวงสาละวันเมื่อปี พ.ศ. 2526 ชื่อของแขวงตั้งตามชื่อแม่น้ำกอง (เซกอง) ที่ไหลผ่านพื้นที.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และแขวงเซกอง · ดูเพิ่มเติม »

โพนทอง

มืองโพนทอง (ເມືອງໂພນທອງ) เป็นเมืองหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแขวงจำปาศักดิ์ ทิศตะวันออกติดกับเมืองปากเซ ทิศใต้ติดกับเมืองจำปาศักดิ์ ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับประเทศไทย เป็นเมืองที่เป็นทางผ่านของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะไทย-ลาว และเป็นแหล่งปลูกข้าว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และโพนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ไกสอน พมวิหาน (เมือง)

นครไกสอน พมวิหาน หรือ สุวรรณเขต (ໄກສອນ ພົມວິຫານ) เป็นนครเอกของแขวงสุวรรณเขต ประเทศลาว เดิมชื่อเมือง คันธบุรี (ຄັນທະບູລີ, คันทะบูลี) ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นเมืองไกสอน พมวิหาน เพื่อเป็นเกียรติแก่อดีตประธานประเทศ ไกสอน พมวิหาน ซึ่งเป็นชาวสุวรรณเขต เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ซึ่งตรงกับวันเกิดปีที่ 85 ของไกสอน พมวิหาน และต่อมามีการยกฐานะขึ้นเป็น นครไกสอน พมวิหาน เมื่อเดือนเมษายน..2561 และมีการพิธีประกาศยกฐานะอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..2561 ที่ผ่านม.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และไกสอน พมวิหาน (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

เมืองชนะสมบูรณ์

นะสมบูรณ์ เป็นอำเภอ (เมือง) ของแขวงจำปาศักดิ์ทางตอนใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองชนะสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองสาละวัน

ละวัน เป็นเมืองของแขวงสาละวัน ทางตอนใต้ของประเทศลาว มีเมืองเอกอยู่ที่สาละวัน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองสาละวัน · ดูเพิ่มเติม »

เมืองปากช่อง (ประเทศลาว)

มืองปากช่อง (ປາກຊ່ອງ) เป็นเมืองหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของแขวงจำปาศักดิ์ ห่างจากเทศบาลแขวง 50 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 355,235 เฮกตาร์ อยู่ที่เส้นละติจูด 150 10’ 48” N ถึง 150 28’ 39” N และเส้นลองจิจูด 1060 13’ 42” E ถึง 1060 23’ 22” E มีชายแดนติดต่อกับแขวงและเมืองต่างๆดังนี้ ทิศเหนือติดกับเมืองเลางาม แขวงสาละวัน และเมืองท่าแตง แขวงเซกอง ทิศใต้ติดกับเมืองสนามไชย และเมืองสามัคคีไชย แขวงอัตตะปือ ทิศตะวันออกติดกับเมืองละมาม แขวงเซกอง และเมืองไชยเสษฐา แขวงอัตตะปือ ทิศตะวันตกติดกับเมืองบาเจียงเจริญสุขและเมืองปทุมพร แขวงจำปาศักดิ์ พื้นที่ของเมืองปากช่องอยู่ในเขตภูเขา พื้นที่ตำสุดสูงจากระดับน้ำทะเล 600 เมตร สูงสุดประมาณ 1400 เมตร พื้นที่ของเมืองเป็นที่ราบส่วนใหญ่กระจายจากทิศเหนือไปใต้ ริมฝั่งห้วยจำปี หนองหิน ทุ่งเสด ห้วยน้ำใส ไปจึงถึงเมืองท่าแตง แขวงเซกอง ทิศตะวันออกของเมืองยกเว้นบริเวณภูไฟไหม้ที่เป็นป่าสงวน จะเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ส่วนใหญ่ปลูกข้าวและกาแฟ พื้นที่ส่วนเป็นเนินเขา กระจายทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ทางด้านที่ติดกับเมืองละมามและเมืองไชยเสษฐา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สัมปทานขุดแร่อะลูมิเนียมและปลูกพืชอุตสาหกรรม พื้นที่ส่วนที่เป็นภูเขาสูง คือบริเวณที่เป็นตัวเมือง ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยป่าธรรมชาติ บางส่วนเป็นสวนกาแฟ.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองปากช่อง (ประเทศลาว) · ดูเพิ่มเติม »

เมืองปากเซ

ปากเซ เป็นอำเภอ (เมือง) ของแขวงจำปาศักดิ์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองปากเซ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองโขง

มืองโขง (ເມືອງໂຂງ) เป็นเมืองหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว เป็นเมืองที่อยู่ติดกับชายแดนกัมพูชา มีชื่อเสียงทางด้านการท่องเที่ยว ได้แก่ น้ำตกคอนพะเพ็ง และสี่พันดอน.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเมืองโขง · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์

้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ (ເຈົ້າບຸນອຸ້ມ ນະ ຈຳປາສັກ; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – สิ้นพระชนม์: 17 มีนาคม พ.ศ. 2523) หรือ เสด็จเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาสัก เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 13 (พระองค์สุดท้าย) ทรงประสูติในราชวงศ์จำปาศักดิ์และสืบพระราชสันตติวงศ์มาจากสมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (เจ้าหน่อกษัตริย์) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาราชอาณาจักรจำปาศักดิ์และพระมหากษัตริย์แห่งนครจำปาศักดิ์พระองค์แรกของลาว เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลพระราชอาณาจักรลาว 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ และสกุล จำปา ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี พ.ศ. 2518 ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวในฐานะที่เป็นผู้ยอมสละราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจำปาศักดิ์ เพื่อให้ประเทศลาวรวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน และทรงดำรงพระอิสริยยศแห่งราชวงศ์สูงเป็นลำดับที่ 3 ของพระราชอาณาจักร รองจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตและสมเด็จเจ้าฟ้าองค์มกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)

้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) หรือ เสด็จเจ้าย่ำขะหม่อมยุติธรรมธร ดำรงพระยศเดิมเป็นที่ เจ้าราชดนัยแห่งนครจำปาศักดิ์ (พ.ศ. 2440 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2489) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 12 และผู้ว่าราชการเมืองจำปาศักดิ์ในสมัยที่ลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรั่ง.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และเจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) · ดูเพิ่มเติม »

UTC+07:00

UTC+7:00เป็นเขตเวลาใช้ใน:ประเทศไทย UTC +7 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีส้ม (มิถุนายน), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: แขวงจำปาศักดิ์และUTC+07:00 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

แขวงจำปาสัก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »