สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรรอเบิร์ต พีลวิกสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสารานุกรมบริตานิกาอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันฮาร์ตฟอร์ดเชอร์คริสตจักรแห่งอังกฤษนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรเสนาเอกแห่งไอร์แลนด์เดอะไรต์ออนะระเบิล
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2322
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2391
- บุคคลในสมัยวิกตอเรีย
- ผู้นำในสภาขุนนาง
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสหราชอาณาจักร
- สมัยวิกตอเรีย
ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2
ลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 (Charles Grey, 2nd Earl Grey) หรือฐานันดรเดิมคือ ไวเคานต์ฮอวิก เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก เขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร, ผู้นำสภาขุนนาง, ผู้นำสภาสามัญชน, รัฐมนตรียุติธรรม, และรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาผลักดันการปฏิรูปการเมืองให้ไปสู่ระบบการเลือกตั้งในอังกฤษและเวลส์โดยได้รับแรงสนับสนุนจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 และยังออกกฎหมายการเลิกทาสทั่วจักรวรรดิอังกฤษในปี 1833 นอกจากนี้เขายังเป็นผู้เผยแพร่ชาเอิร์ลเกรย์ให้เป็นที่รู้จัก.
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2
พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร
รอเบิร์ต พีล
ซอร์ รอเบิร์ต พีล (Sir Robert Peel) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และรอเบิร์ต พีล
วิก
วิก อาจจะหมายถึง.
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และวิก
สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร
สารานุกรมบริตานิกา
รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และสารานุกรมบริตานิกา
อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน
อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน
ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์
ปราสาทฮาร์ตฟอร์ดในฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ หรือ ฮาร์ตฟอร์ดเชียร์ (Hertfordshire) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่มีฐานะเป็นมณฑลภูมิศาสตร์และมณฑลนอกเมโทรโพลิตันที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของอังกฤษโดยมีฮาร์ตฟอร์ดเป็นเมืองหลวง ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์เป็นหนึ่งในมณฑลรอบนครลอนดอนที่มีเขตแดนติดกับนครลอนดอนและปริมณฑล, บัคคิงแฮมเชอร์, เบดฟอร์ดเชอร์, เคมบริดจ์เชอร์ และ เอสเซ็กซ์ ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์มีชื่อเสียงว่าเป็นเมืองเกิดของสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4.
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และฮาร์ตฟอร์ดเชอร์
คริสตจักรแห่งอังกฤษ
ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และคริสตจักรแห่งอังกฤษ
นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Prime Minister of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลในสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินแห่งสหราชอาณาจักร การกำหนดนโยบายและการบริหารราชการแผ่นดินต่างๆถือเป็นความรับผิดชอบของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีต่อพระมหากษัตริย์, รัฐสภา, พรรคการเมือง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถือเป็นหนึ่งในสี่อำมาตย์นายก ซึ่งหมายถึงผู้บริหารสูงสุดทั้งสี่ของรัฐบาล นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันเป็น คนที่ 54 คือ เทเรซา เมย์ หัวหน้าพรรคอนุรักษนิยม ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
เสนาเอกแห่งไอร์แลนด์
มเคิล ฮิคส บีช เอิร์ลเซนต์อัลด์วินที่ 1 ได้ตำแหน่งเป็น “เสนาเอกแห่งไอร์แลนด์” ในปี ค.ศ. 1874 เสนาเอกแห่งไอร์แลนด์ (Chief Secretary for Ireland) เป็นตำแหน่งราชการที่สำคัญของรับในระบบการปกครองของบริเตนในไอร์แลนด์ จนกระทั่งเมื่อมาถึงปลายสมัยการปกครองโดยสถาบันพระมหากษัตริย์ในไอร์แลนด์ เสนาเอกจะมีหน้าที่ที่คล้ายคลึงกับหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีในรัฐสภาของสหราชอาณาจักร ตามทฤษฎีแล้วถือเป็นตำแหน่งทางการบริหารที่รองจากข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ แต่ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา เช่นเดียวกับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร ที่สำนักเสนาเอกมักจะมามีอิทธิพลมากกว่าข้าหลวงใหญ่ในคณะรัฐมนตรี ต่อมา เมื่อไอร์แลนด์แยกตัวออกไปในปี..
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และเสนาเอกแห่งไอร์แลนด์
เดอะไรต์ออนะระเบิล
เดอะไรต์ออนะระเบิล (The Right Honourable; ย่อว่า "The Rt Hon." หรือ "Rt Hon.") แปลว่า ผู้ทรงเกียรติอย่างยิ่ง เป็นคำเรียกขานตามประเพณีสำหรับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลบางจำพวกในสหราชอาณาจักร แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และราชอาณาจักรบางแห่งในเครือจักรภพ ตลอดจนประเทศแถบแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษ มอริเชียส และประเทศอื่นในบางโอกาส คำเรียกขานนี้สำหรับผู้ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น ไม่ใช้แก่ผู้วายชนม์ หมวดหมู่:คำเรียกขาน.
ดู วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2และเดอะไรต์ออนะระเบิล
ดูเพิ่มเติม
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2322
- วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2
- เจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)
- เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2391
- จอร์จ สตีเฟนสัน
- จอห์น ควินซี แอดัมส์
- ทอมัส โคล
- พระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก
- วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2
- สตีน สตีนเซิน ปลีเกอร์
- หลวงอาวุธวิเศษประเทศพานิช (โรเบิร์ต ฮันเตอร์)
- เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส
บุคคลในสมัยวิกตอเรีย
- จอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์
- ชาร์ล เรนนี แม็กอินทอช
- พระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย
- รอเบิร์ต พีล
- รอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรี
- รัดยาร์ด คิปลิง
- วิลเลียม แกลดสตัน
- วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2
- สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร
- สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร
- สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร
- อาร์ชิบอลด์ พริมโรส เอิร์ลที่ 5 แห่งโรสเบรี
- เจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล
- เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์
- เซอร์ไซยิด อาหมัด ข่าน
- เดวิด ลอยด์ จอร์จ
- เบนจามิน ดิสราเอลี
- เอช. จี. เวลส์
- เอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์
- เฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3
- แจ็กเดอะริปเปอร์
- โจเซฟ คอนราด
ผู้นำในสภาขุนนาง
- จอร์จ แฮมิลตัน-กอร์ดอน เอิร์ลที่ 4 แห่งแอเบอร์ดีน
- จอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1
- ชาลส์ วัตสัน-เว็นท์เวิร์ธ มาร์ควิสที่ 2 แห่งร็อกกิงแฮม
- ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2
- ทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิล
- ฟิลิป สแตนนัป เอิร์ลที่ 4 แห่งเชสเตอร์ฟีลด์
- รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล
- รอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรี
- วิลเลียม คาเว็นดิช ดยุกที่ 4 แห่งเดวอนเชอร์
- วิลเลียม คาเว็นดิช-เบ็นทิงค์ ดยุกที่ 3 แห่งพอร์ตแลนด์
- วิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์
- วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2
- ออกัสตัส ฟิทซ์รอย ดยุกที่ 3 แห่งกราฟตัน
- อาร์ชิบอลด์ พริมโรส เอิร์ลที่ 5 แห่งโรสเบรี
- อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน
- เจมส์ สแตนนัป เอิร์ลสแตนนัปที่ 7
- เบนจามิน ดิสราเอลี
- เฟรเดอริก รอบินสัน ไวเคานต์โกดริช
- เอ็ดเวิร์ด วูด เอิร์ลแห่งฮาลิแฟกซ์
- เอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสหราชอาณาจักร
- รอเบิร์ต พีล
- รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (สหราชอาณาจักร)
- วินสตัน เชอร์ชิล
- วิลเลียม คาเว็นดิช-เบ็นทิงค์ ดยุกที่ 3 แห่งพอร์ตแลนด์
- วิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์
- วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2
- อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน
- เจมส์ คัลลาฮาน
- เฟรเดอริก นอร์ท เอิร์ลที่ 2 แห่งกิลฟอร์ด
- เฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3
- เฮนรี แอดดิงตัน ไวเคานต์ซิดมัธที่ 1
สมัยวิกตอเรีย
- จอร์จ แฮมิลตัน-กอร์ดอน เอิร์ลที่ 4 แห่งแอเบอร์ดีน
- จอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1
- จักรวรรดิบริติช
- รอเบิร์ต พีล
- รอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรี
- วิลเลียม แกลดสตัน
- วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2
- สมัยวิกตอเรีย
- สมาคมเฟเบียน
- สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย
- สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์
- อาร์ชิบอลด์ พริมโรส เอิร์ลที่ 5 แห่งโรสเบรี
- เบนจามิน ดิสราเอลี
- เอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์
- เฮนรี จอห์น เทมเพิล ไวเคานต์พาลเมอร์สตันที่ 3
- แจ็ค ข้อเท้าสปริง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ William LambWilliam Lamb, 2nd Viscount Melbourne