โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

ดัชนี สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..

58 ความสัมพันธ์: ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2พ.ศ. 2343พ.ศ. 2347พ.ศ. 2348พ.ศ. 2349พ.ศ. 2354พ.ศ. 2355พ.ศ. 2357พ.ศ. 2358พ.ศ. 2363พ.ศ. 2364พ.ศ. 2370พ.ศ. 2371พ.ศ. 2373พ.ศ. 2374พ.ศ. 2380พ.ศ. 2465พ.ศ. 2470พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรพุทธศักราชกฎหมายแซลิกการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาก็อดเซฟเดอะควีนภาษาอังกฤษยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูลรัฐสภาสหราชอาณาจักรราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรไอร์แลนด์รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรลอนดอนวิกวิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสภาขุนนางสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสหรัฐสหราชอาณาจักรสงคราม ค.ศ. 1812สเปนเซอร์ เพอร์ซิวัลอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันจอร์จ แคนนิงจอร์จ เกรนวิลล์คริสตจักรแห่งอังกฤษ...ประเทศสกอตแลนด์ประเทศไอร์แลนด์นโปเลียนโฮราชิโอ เนลสัน ไวเคานต์เนลสันที่ 1เฟรเดอริก รอบินสัน ไวเคานต์โกดริชเทวสิทธิราชย์1 มกราคม12 เมษายน ขยายดัชนี (8 มากกว่า) »

ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2

ลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 (Charles Grey, 2nd Earl Grey) หรือฐานันดรเดิมคือ ไวเคานต์ฮอวิก เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก เขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร, ผู้นำสภาขุนนาง, ผู้นำสภาสามัญชน, รัฐมนตรียุติธรรม, และรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาผลักดันการปฏิรูปการเมืองให้ไปสู่ระบบการเลือกตั้งในอังกฤษและเวลส์โดยได้รับแรงสนับสนุนจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 และยังออกกฎหมายการเลิกทาสทั่วจักรวรรดิอังกฤษในปี 1833 นอกจากนี้เขายังเป็นผู้เผยแพร่ชาเอิร์ลเกรย์ให้เป็นที่รู้จัก.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2348

ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2348 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2349

ทธศักราช 2349 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2349 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2354

ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2354 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2355

ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2355 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2357

ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2357 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2358

ทธศักราช 2358 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1815 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2358 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2363

ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2363 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2364

ทธศักราช 2364 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1821.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2364 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2370

ทธศักราช 2370 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2370 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2371

ทธศักราช 2371 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2371 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2373

ทธศักราช 2373 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1830 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2373 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2374

ทธศักราช 2374 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2374 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2380

ทธศักราช 2380 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1837.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2380 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร (George IV of the United Kingdom หรือ George Augustus Frederick) (12 สิงหาคม ค.ศ. 1762 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1830) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์ฮาโนเวอร์ของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และพระเจ้าแผ่นดินแห่งฮาโนเวอร์ แห่งราชอาณาจักรฮาโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2461) จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2479 พระองค์ทรงปฏิบัติราชการในราชนาวีอังกฤษตั้งแต่พระชนมายุ 12 พรรษา แต่หลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างไม่คาดฝันของเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งแคลเรนซ์และแอวันเดล พระเชษฐา ทำให้ทรงกลายเป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์และอภิเษกสมรสกับพระคู่หมั้นของพระเชษฐาคือเจ้าหญิงแมรีแห่งเทก ถึงแม้ว่าทั้งสองพระองค์จะเสด็จประพาสจักรวรรดิอังกฤษเป็นบางโอกาส แต่พระเจ้าจอร์จที่ 5 โปรดที่จะประทับที่พระตำหนักพร้อมกับการสะสมดวงตราไปรษณียากร และทรงมีชีวิตที่ต่อมานักชีวประวัติเห็นว่าไม่น่าสนใจเนื่องจากความเป็นธรรมดาและเรียบง่าย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์

แอนสท์ เอากุสท์ (Ernest Augustus) เป็นเจ้าจากราชวงศ์อังกฤษโดยเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร โดยทรงเป็น ดยุกแห่งคัมบาลันด์และสแตรธเอิร์น ต่อมาเมื่อพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ผู้เป็นพระเชษฐาได้เสด็จสวรรคต พระองค์จึงได้รับเลือกให้สืบราชบัลลังก์ฮันโนเฟอร์ต่อจากพระเชษฐา การที่พระองค์ได้ขึ้นครองบัลลังก์ฮันโนเฟอร์หมายความว่าราชอาณาจักรฮันโนเฟอร์ได้กลายเป็นรัฐอิสระที่ไม่ขึ้นต่อกษัตริย์แห่งอังกฤษ หมวดหมู่:ราชวงศ์อังกฤษ หมวดหมู่:ดยุกแห่งบราวนชไวก์-ลืนเนอบวร์ก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฮันโนเวอร์ หมวดหมู่:ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากเวสต์มินสเตอร์ หมวดหมู่:ดยุกแห่งคัมบาลันด์ หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์ หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด; 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2384 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเป็นพระประมุขพระองค์แรกและพระองค์เดียวของราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระองค์ทรงครองราชสมบัตินับตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2444 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ก่อนการเสวยราชสมบัติ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ และทรงมีลักษณะเด่นพิเศษที่เป็นรัชทายาทในรัชบัลลังก์ยาวนานกว่าใครในประวัติศาสตร์ของอังกฤษและสหราชอาณาจักร เป็นบันทึกสถิติที่เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์องค์ปัจจุบันไล่ตามมาอย่างรวดเร็ว รัชกาลของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ซึ่งเรียกว่า สมัยเอ็ดเวิร์ด (Edwardian Period) ทำให้เห็นถึงการยอมรับอย่างเป็นทางการครั้งแรกในการดำรงตำแหน่งหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระประมุขอังกฤษพระองค์แรกที่เสด็จเยือนประเทศรัสเซียเมื่อปี พ.ศ. 2451 ถึงแม้ว่าทรงปฏิเสธที่จะเสด็จเยือนในปี พ.ศ. 2449 (เพราะว่าโปรดสภาดูมามากกว่าซาร์) พระองค์ยังทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนากองทัพเรืออังกฤษให้ทันสมัยขึ้นและการปฏิรูปหน่วยการแพทย์ในกองทัพบกอังกฤษหลังจากสงครามบัวร์ครั้งที่สอง การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างอังกฤษกับนานาประเทศของทวีปยุโรป โดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศส ของพระองค์ ซึ่งทำให้ทรงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางว่า "ผู้สร้างสันติภาพ" (Peacemaker) ได้ถูกทำให้ผิดแผกแปลกไปอย่างน่าเศร้าจากการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2457.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายแซลิก

ระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสทรงแถลงกฎหมายแซลิก ท่ามกลางแม่ทัพนายกองของพระองค์ กฎหมายแซลิก (Lex Salica; Salic law) หรือ ประชุมกฎหมายอนารยชน (Code of the Barbaric Laws) เป็นกลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับชนชาติแฟรงค์แซเลียน (Salian Franks) เมื่อต้นยุคกลางระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าโคลวิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 6 โดยสันนิษฐานกันว่ากฎหมายแซลิกรวบรวมขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 507 ถึงปี ค.ศ. 511.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และกฎหมายแซลิก · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา

“การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา” โดยฌ็อง-บาติสต์ อีซาแบ ราว ค.ศ. 1819 แม้ว่าผู้แทนจากทุกรัฐที่เข้าร่วมสงครามจะได้รับการเชิญมาประชุม แต่การต่อรองที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นไปโดย “สี่มหาอำนาจ” ซึ่งได้แก่บริเตน รัสเซีย ฝรั่งเศส และออสเตรีย การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (Congress of Vienna) คือ การประชุมราชทูตจากรัฐต่าง ๆ ในยุโรป มีรัฐบุรุษออสเตรีย เคลเมนส์ เวนเซิล ฟอน เมทเทอร์นิช (Klemens Wenzel von Metternich) เป็นประธาน ประชุมกันที่เวียนนาระหว่างเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเซฟเดอะควีน

ลงก็อดเซฟเดอะควีน หรือ ก็อดเซฟเดอะคิง เป็นเพลงปลุกใจ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร เพลงนี้ใช้เป็นหนึ่งในสองเพลงชาติของนิวซีแลนด์ เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ทั้งยังใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์อังกฤษด้วย หากประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะคิง แต่ถ้าพระราชินีทรงเป็นประมุขก็จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะควีน ในภาษาไทยไม่นิยมแปลชื่อเพลงนี้ออกมาโดยตรง แต่มักเรียกทับศัพท์ว่า ก็อดเซฟเดอะคิง หรือ ก็อดเซฟเดอะควีน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีอังกฤษ ตามลักษณะของเพลง.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และก็อดเซฟเดอะควีน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์

ทธนาวีที่ตราฟัลการ์ (Battle of Trafalgar, 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805) เป็นการกระทำยุทธนาวีระหว่าง ราชนาวีอังกฤษกับกองเรือผสมของกองทัพเรือฝรั่งเศสร่วมกับกองทัพเรือสเปน ในช่วงสงครามประสานมิตรครั้งที่สาม (สิงหาคม-ธันวาคม 1805) ใน สงครามนโปเลียน (1803–1815) กองเรือราชนาวีอังกฤษที่มีเรือรบแนวเส้นประจัญบาน 27 ลำภายใต้บัญชาการของพลเรือโทลอร์ดเนลสัน สามารถมีชนะเหนือกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปน 33 ลำ ภายใต้บัญชาการของ พลเรือโท ปีแยร์-ชาร์ล วีลเนิฟว์ แห่งกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของสเปน ทางตะวันตกของแหลมตราฟัลการ์ ซึ่งกองเรือฝรั่งเศสสูญเสียเรือรบไปถึง 22 ลำโดยที่ไม่สามารรถจมเรือรบอังกฤษแม้แต่ลำเดียว ชัยชนะที่งดงามของอังกฤษครั้งนี้เป็นการยืนยันฐานะของราชนาวีอังกฤษที่ได้สั่งสมมาตลอดศตวรรษที่ 18 ในฐานะกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล

รอเบิร์ต แบงก์ส เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล (Robert Banks Jenkinson, 2nd Earl of Liverpool) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ เขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุน้อยที่สุดและดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดของอังกฤษ ในช่วงที่เป็นนายกรัฐมนตรี เขาใช้มาตรการอดกลั้นที่สุดในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศในช่วงการจลาจลในปี 1819 เขาร่วมมืออย่างละมุนละม่อมกับเจ้าชายจอร์จ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระเจ้าจอร์จที่ 3 ที่ไม่สามารถออกว่าราชการ ในการประคับประคองสถานการณ์ในประเทศให้ผ่านพ้นไปได้ เหตุการณ์สำคัญในช่วงที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรี คือการทำสงครามกับสหรัฐอเมริกา ในปี 1812, สงครามประสานมิตรครั้งที่หกและครั้งที่เจ็ดเพื่อต่อต้านการเรืองอำนาจของจักรวรรดิฝรั่งเศส การแถลงสรุปผลสงครามนโปเลียนในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา, การออกกฎหมายข้าวโพด, การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู และเริ่มการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก เขาเกิดในตระกูลขุนนาง เป็นบุตรของชาลล์ เจ็นคินสัน (ต่อมาได้เป็นเอิร์ลแห่งลิเวอร์พูล) ที่ปรึกษาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 มารดาของเขาคือ อเมเลีย วัตต์ บุตรสาวของวิลเลียม วัตต์ เจ้าหน้าที่อาวุโสในบริษัทอินเดียตะวันออก มารดาของเขาตายหลังเขาเกิดได้หนึ่งเดือน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และรัฐสภาสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์

ราชอาณาจักรไอร์แลนด์ (ภาษาเกลลิค: Ríocht na hÉireann; ภาษาอังกฤษ: Kingdom of Ireland) เป็นชื่อที่เรียกรัฐไอร์แลนด์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วิก

วิก อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และวิก · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์

วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์ (William Pitt, the Younger; 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1759 - 23 มกราคม ค.ศ. 1806) นายกรัฐมนตรีคนที่ 14 แห่งสหราชอาณาจักร ในศตวรรษที่ 19 เริ่มดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร (สมัยแรก) เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และวิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร

มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี การประชุมสภาร่วมฯ จัดขึ้นที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับสภาขุนนาง (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรั..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สภาขุนนาง

นนาง (House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยขุนนางมีบรรดาศักดิ์จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับสภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสภาขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม ค.ศ. 1812

งคราม..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสงคราม ค.ศ. 1812 · ดูเพิ่มเติม »

สเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล

ปนเซอร์ เพอร์ซิวัล (Spencer Perceval) เป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และสเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ แคนนิง

อร์จ แคนนิง (George Canning) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรคทอรี นอกจากจะเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีในหลายรัฐบาลตลอดจนเป็นผู้นำในสภาสามัญชนแล้ว เขายังได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีอีกด้วย เขาแตกต่างจากนายกรัฐมนตรีหลายๆคนก่อนหน้า คือไม่ได้เกิดมาในตระกูลขุนนางหรือการทหาร มารดาของเขาเป็นนักแสดง ส่วนบิดาเป็นนักธุรกิจและทนายความที่ประสบความล้มเหลว ทำให้แคนนิงต้องถูกอุปการะทางการเงินโดยลุงสแตรธฟอร์ด ซึ่งพาเขาเข้าไปศึกษาที่วิทยาลัยอีตันและโบสถ์คริสต์แห่งอ็อกซฟอร์ด แคนนิงเริ่มเดินเข้าสู่หนทางการเมืองในปี 1793 และก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เขาเป็นสมุหบัญชีกองทัพระหว่าง..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และจอร์จ แคนนิง · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เกรนวิลล์

จอร์จ เกรนวิลล์ (George Grenville) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 8 แห่งบริเตนใหญ่ระหว่าง ค.ศ. 1763 - ค.ศ. 1765 เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1712 และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1770 ขณะอายุได้ 58 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2255 หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:นักการเมืองอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากวิทยาลัยอีตัน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และจอร์จ เกรนวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแห่งอังกฤษ

ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และคริสตจักรแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นโปเลียน

นโปเลียน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

โฮราชิโอ เนลสัน ไวเคานต์เนลสันที่ 1

ลเรือโท โฮราชิโอ เนลสัน ไวเคานต์เนลสันที่ 1 ดยุกแห่งบรงเต (Horatio Nelson, 1st Viscount Nelson, 1st Duke of Bronté) เป็นนายทหารเรือแห่งราชนาวีอังกฤษ เป็นหนึ่งในชาวอังกฤษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติ ผู้มากด้วยกลยุทธ์ ชั้นเชิงสมัยใหม่ นำมาซึ่งชัยชนะของฝ่ายอังกฤษในหลายยุทธนาวี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสงครามนโปเลียน ตลอดการรับราชการทหารของลอร์ดเนลสัน เขาได้รับบาดเจ็บจากการต่อสู้หลายครั้ง ครั้งหนึ่งเขาสูญเสียดวงตาข้างหนึ่งไปที่คอร์ซิกา และสูญเสียแขนข้างหนึ่งไปในยุทธนาวีที่ซันตาครูซเดเตเนรีเฟ (Santa Cruz de Tenerife) เขาเสียชีวิตขณะบัญชาการรบในยุทธการที่ตราฟัลการ์ ซึ่งจบลงด้วยชัยชนะอันงดงามของอังกฤษ เนลสันเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในนอร์ฟอล์กของอังกฤษ และเข้ารับราชการในราชนาวีตามกัปตันเมาริช ซัคลิง (Maurice Suckling) ผู้เป็นลุง เนลสันเติบโตในราชการอย่างรวดเร็วจนได้ทำงานกับเหล่าผู้บัญชาการระดับสูง ก่อนที่ตัวเขาเองจะได้เป็นผู้บัญชาการเรือครั้งแรกในปี 1778 ความกล้าหาญตลอดจนการคิดค้นกลยุทธ์ต่างๆทำให้เขามีชื่อเสียงขึ้นมา อย่างไรก็ตาม ภายหลังสงครามปฏิวัติอเมริกาซึ่งทำให้อังกฤษตกต่ำ เขาก็ต้องประสบกับความเจ็บป่วยตลอดจนถูกให้เกษียณจากราชการ เมื่อสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสปะทุขึ้น เขาก็ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการอีกครั้ง โดยคุมกองเรืออยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เขาเข้าต่อสู้ในศึกย่อยๆที่ชายฝั่งเมืองตูลงตลอดจนศึกสำคัญอย่างการเข้ายึดครองคอร์ซิกา และเป็นผู้ประสานงานทางการทูตกับบรรดาแคว้นในอิตาลี เขาโดดเด่นขึ้นมาอย่างมากจากชัยชนะในยุทธนาวีที่แหลมเซาวีแซงต์ (São Vicente) ของโปรตุเกสในปี 1797 ไม่นานหลังจากนั้น เขาก็ทำศึกในยุทธนาวีที่ซันตาครูซเดเตเนรีเฟ ซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของเขาและตัวเองได้รับบาดเจ็บสาหัสจากการสูญเสียแขนขวา เขาจำต้องกลับอังกฤษเพื่อพักรักษาตัว และในปีต่อมา เขาก็ได้รับชัยชนะอย่างขาดลอยเหนือฝรั่งเศสในยุทธนาวีที่แม่น้ำไนล์ และยังคงประจำการอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเพื่อคอยสนับสนุนราชอาณาจักรเนเปิลส์เพื่อต้านทานการรุกรานโดยฝรั่งเศสของนโปเลียน ต่อมาในปี 1801 เขาถูกโอนย้ายไปคุมกองเรือที่ทะเลบอลติกและได้รับชัยชนะเหนือเดนมาร์ก-นอร์เวย์ในยุทธนาวีที่โคเปนเฮเกน ต่อมาเขาบัญชาการการปิดล้อมกองเรือผสมของฝรั่งเศสและสเปนที่ตูลง แต่กองเรือผสมก็สามารถฝ่าออกไปได้ เขาไล่ตามกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปนไปจนถึงหมู่เกาะเวสต์อินดีสในทวีปอเมริกา แต่ก็ไม่สามารถล่อกองเรือผสมให้ออกมาทำศึกได้ หลังจากนำกองเรือกลับมายังอังกฤษ เขาก็ไปปิดล้อมเมืองกาดิซในปี 1805 แต่เมื่อกองเรือฝรั่งเศส-สเปนเคลื่อนกำลังออกจากท่า กองเรือของเนลสันก็ไล่ตามไปจนถึงแหลมตราฟัลการ์ และเกิดเป็นยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ ซึ่งถือเป็นชัยชนะทางทะเลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ความทะเยอทะยานในการพิชิตอังกฤษของนโปเลียนได้แตกสลาย อย่างไรก็ตาม ระหว่างการปะทะ เนลสันที่กำลังบัญชาการรบอยู่บนดาดฟ้าเรือหลวงวิกตอรี ก็ถูกกระสุนปืนจากพลแม่นปืนของฝรั่งเศสยิงเข้าที่บริเวณหน้าอกและเสียชีวิต ร่างของเขาถูกนำตัวกลับไปยังอังกฤษ มีการจัดรัฐพิธีศพให้อย่างสมเกียรติและยิ่งใหญ่ มีการสร้างอนุสาวรีย์ของเขาและนำขึ้นประดับไว้บนเสากลางตั้งจัตุรัสทราฟัลการ์ของกรุงลอนดอน.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และโฮราชิโอ เนลสัน ไวเคานต์เนลสันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริก รอบินสัน ไวเคานต์โกดริช

ฟรเดอริก จอห์น รอบินสัน เอิร์ลแห่งริพอน (Frederick John Robinson, Earl of Ripon) หรือบรรดาศักดิ์เดิมซึ่งเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ ไวเคานต์โกดริช (Viscount Goderich) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษ เคยดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีพระคลังระหว่างปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และเฟรเดอริก รอบินสัน ไวเคานต์โกดริช · ดูเพิ่มเติม »

เทวสิทธิราชย์

พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1603–1625) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1643–1715) ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” มาเริ่มลดความสำคัญลงในระหว่างสมัยการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และเทวสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์และ12 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

United Kingdom of Great Britain and Irelandสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ และไอร์แลนด์สหราชอาณาจักรแห่งเกาะบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สหราชอาณาจักรเกรตบริเตนและไอร์แลนด์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »