โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา

ดัชนี รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา

รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา (พ.ศ. 1839 - พ.ศ. 2318) ตั้งแต่พญามังราย ก่อตั้งอาณาจักรจนกระทั่งสิ้นสุดเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกประเพณีแต่งตั้งเจ้าหลวง.

80 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1839พ.ศ. 1854พ.ศ. 1868พ.ศ. 1877พ.ศ. 1879พ.ศ. 1898พ.ศ. 1928พ.ศ. 1944พ.ศ. 1954พ.ศ. 1984พ.ศ. 2007พ.ศ. 2030พ.ศ. 2038พ.ศ. 2068พ.ศ. 2081พ.ศ. 2086พ.ศ. 2088พ.ศ. 2089พ.ศ. 2090พ.ศ. 2094พ.ศ. 2107พ.ศ. 2121พ.ศ. 2150พ.ศ. 2151พ.ศ. 2156พ.ศ. 2158พ.ศ. 2174พ.ศ. 2198พ.ศ. 2202พ.ศ. 2215พ.ศ. 2218พ.ศ. 2250พ.ศ. 2270พ.ศ. 2302พ.ศ. 2304พ.ศ. 2306พ.ศ. 2311พ.ศ. 2317พญากือนาพญามังรายพญายอดเชียงรายพญาสามฝั่งแกนพญาหลวงทิพเนตรพญาผายูพญาคำฟูพญาแก้วพญาแสนภูพญาแสนเมืองมาพญาไชยสงครามพระชัยทิพ...พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระช้อยพระยาโพธิสาลราชพระนางยอดคำทิพย์พระนางวิสุทธิเทวีพระนางสิริยศวดีเทวีพระนางจิรประภาเทวีพระแสนเมืองพระเมกุฏิสุทธิวงศ์พระเมืองเกษเกล้าพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าติโลกราชพระเจ้าเมืองแพร่มังแรนร่ารายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชอุปราชอึ้งแซะองค์จันทร์องค์คำท้าวบุญเรืองท้าวซายคำนรธาเมงสอโป่มะยุง่วนโป่อภัยคามินีเมืองนายเจพูตรายเจ้าฟ้าเจ้าพลศึกศรีสองเมืองเจ้าขี้หุดเทพสิงห์ ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

พ.ศ. 1839

ทธศักราช 1839 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1839 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1854

ทธศักราช 1854 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1854 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1868

ทธศักราช 1868 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1868 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1877

ทธศักราช 1877 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1877 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1879

ทธศักราช 1879 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1879 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1898

ทธศักราช 1898 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1898 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1928

ทธศักราช 1928 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1944

ทธศักราช 1944 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1944 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1954

ทธศักราช 1954 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1984

ทธศักราช 1984 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2007

ทธศักราช 2007 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2030

ทธศักราช 2030 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2030 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2038

ทธศักราช 2038 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2038 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2068

ทธศักราช 2068 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2068 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2081

ทธศักราช 2081 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2081 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2086

ทธศักราช 2086 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2086 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2088

ทธศักราช 2088 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2088 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2089

ทธศักราช 2089 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2089 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2090

ทธศักราช 2090 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2090 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2094

ทธศักราช 2094 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2094 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2107

ทธศักราช 2107 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2107 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2121

ทธศักราช 2121 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2121 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2150

ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2150 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2151

ทธศักราช 2151 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2151 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2156

ทธศักราช 2156 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1613.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2156 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2158

ทธศักราช 2158 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2158 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2174

ทธศักราช 2174 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2174 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2198

ทธศักราช 2198 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2198 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2202

ทธศักราช 2202 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2202 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2215

ทธศักราช 2215 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2215 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2218

ทธศักราช 2218 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2218 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2250

ทธศักราช 2250 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2250 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2270

ทธศักราช 2270 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2270 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2302

ทธศักราช 2302 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2302 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2304

ทธศักราช 2304 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2304 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2306 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2311

ทธศักราช 2311 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2311 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพ.ศ. 2317 · ดูเพิ่มเติม »

พญากือนา

ญากือนา (100px) หรือพญาธรรมิกราช เป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญากือนา · ดูเพิ่มเติม »

พญามังราย

ญามังรายประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 267.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญามังราย · ดูเพิ่มเติม »

พญายอดเชียงราย

ญายอดเชียงราย (90px) หรือ ท้าวยอดเมือง (70px) ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญายอดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

พญาสามฝั่งแกน

ญาสามฝั่งแกน (100px) เป็นเจ้าผู้ครองนครแห่งราชวงศ์เม็งรายลำดับที่ 8 และเป็นลำดับที่ 32 แห่งราชวงศ์ลวจังกราช ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาสามฝั่งแกน · ดูเพิ่มเติม »

พญาหลวงทิพเนตร

ญาหลวงทิพเนตร (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2198) เป็นผู้ปกครองแคว้นล้านนาองค์ที่ 7 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา และเป็นพระองค์แรกในราชวงศ์เมืองฝางที่มาปกครองล้านนา แต่เดิมพระองค์ทรงมีตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองฝาง ต่อมาพระเจ้าศรีสองเมืองคิดแข็งเมืองต่อกรุงอังวะ ฝ่ายพระเจ้าสุทโธธรรมราชาพระเจ้ากรุงอังวะหลังจากที่ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย ทรงทราบว่าหัวเมืองในล้านนาแข็งเมืองกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์ ก็ทรงยกกองทัพใหญ่มาปราบปราม ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาหลวงทิพเนตร · ดูเพิ่มเติม »

พญาผายู

ญาผายู (60px) เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านนา ปกครองในปี พ.ศ. 1879 - 1898 รวมการครองราชย์ 19 ปี ทรงเป็นพระราชโอรสในพญาคำฟู พระนามว่า เจ้าตายุ ทรงสืบราชบัลลังจากพญาคำฟูซึ่งเป็นพระราชบิดา ภายหลังพญาคำฟู เสด็จสวรรคตจากการถูกเงือกหรือจระเข้กัด ตามตำนานสิบห้าราชวงศ์ได้กล่าวถึงการขึ้นครองราชของพญาผายูไว้ว่า "เมื่อนั้นเจ้าพ่อท้าวผายูอายุได้ 28 ปี เสนาอามาตรย์ทังหลาย ก็หื้ออภิเษกหื้อเป็นพระญาในเมืองเชียงใหม่ ในปีดับเล้า ศักราชได้ 707 ตัว " เมื่อทรงครองราชย์แล้ว พระองค์ทรงย้ายราชธานีจากนครเชียงแสนที่พระราชบิดาย้ายไป กลับมายังนครเชียงใหม่อีกครั้ง พญาผายูทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงอยู่ในทศพิธราชธรรม บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุข พุทธศาสนรุ่งเรือง จนเสด็จสวรรคต..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาผายู · ดูเพิ่มเติม »

พญาคำฟู

กู่บรรรจุพระบรมอัฐิพญาคำฟู ที่วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ พญาคำฟู (70px) หรือที่เรียกกันว่า เจ้าคำฟู หรือท้าวคำฟู เป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1877 - 1879 รวมระยะเวลาการครองราชย์ 2 ปี พญาคำฟูเป็นพระราชโอรสในพญาแสนภู ตามตำนานสิบห้าราชวงศ์กล่าวไว้ว่า "เจ้าพระญาแสนภูก็แต่งลูกตน เจ้าพ่อท้าวคำฟู อยู่รักษาเมืองเชียงใหม่ ส่วนตนเจ้าก็ไปส่งสะกานเจ้าพระญาไชยสงครามพ่อในเมืองเชียงราย ได้ 1 เดือนบัวระมวลชุอัน ท้าวก็ลวดอยู่เสวยเมืองเชียงรายหั้นแล แล้วก็แต่งหื้ออภิเษกพ่อท้าวคำฟู ลูกตนอายุได้ 26 ปี หื้อเป็นพระญาในเมืองเชียงใหม่ในปีเปิกสี ศักราชได้ 690 ตัวปีหั้นแล" หลังจากเจ้าคำฟูได้เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ พญาแสนภูก็ทรงย้ายเมืองหลวงจากเชียงใหม่ไปไว้ที่เชียงแสน ภายหลังพระญาแสนภูเสด็จสวรรคต เจ้าคำฟูจึงได้ครองราชย์เป็นกษัตริย์ล้านนาระหว่าง..1877-1879 พญาคำฟูได้พัฒนา ปกครองนครเชียงใหม่ให้เกิดความผาสุก ร่มเย็น ในรัชสมัยของพระองค์แม้จะเป็นเวลาเพียง 2 ปี แต่ก็เป็นช่วงเวลาที่เชียงใหม่มีความเจริญรุ่งเรือง สงบสุข ไม่มีศึกสงคราม ในยุคสมัยของพระญาคำฟูนี้พระองค์ทรงร่วมมือกับพญาผานองเจ้าเมืองปัวเข้าปล้นเมืองพะเยาได้ และสามารถที่จะผนวกเอารัฐพะเยาที่เป็นอิสระอยู่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของล้านนาได้ หลังจากพระญาคำฟูเสด็จสวรรคตพระราชโอรสในพญาคำฟูขึ้นครองราชย์ต่อ ออกพระนาม พญาผายู พญาคำฟูสวรรคตจากการถูกเงือกหรือจระเข้กัด ถือเป็นการตายร้าย จึงได้รับการบูชาเป็นผีอารักษ์ปกป้องเมืองเชียงใหม่ ส่วนโกศบรรจุพระบรมอัฐิของพญาคำฟูถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาคำฟู · ดูเพิ่มเติม »

พญาแก้ว

ระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ หรือพญาแก้ว (พระเมืองแก้ว) (80px)เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 11 ในราชวงศ์เม็งราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ใน พ.ศ. 2038 - 2068 พญาแก้ว มีพระนามที่เรียกกันต่างๆ คือ พระเมืองแก้ว หรือพ่อท้าวแก้ว หรือเจ้ารัตนราชกุมาร หรือพญาแก้วภูตาธิปติราช หรือ พระเจ้าติลกปนัดดาธิราช ทรงเป็นพระปนัดดาของพระเจ้าติโลกราช และเป็นราชบุตรของพญายอดเชียงรายกับพระนางสิริยสวดี (เทวีปงน้อย) ประสูติในปีขาล ได้รับราชาภิเษกเมื่อชนมายุ 13 ปี ในวันเพ็ญเดือน 9..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พญาแสนภู

ญาแสนภู (60px) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ล้านนา ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาแสนภู · ดูเพิ่มเติม »

พญาแสนเมืองมา

ญาแสนเมืองมา (80px) กษัตริย์ของราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ครองราชย์ในปี พ.ศ. 1928 จนถึง 1944 รวมการครองสิริราชสมบัติได้ 16 ปี ในสมัยรัชกาลของพระองค์นี้ได้เกิดสงครามแย่งชิงราชสมบัติอยู่บ่อยครั้งอีกครั้ง โดยเจ้าท้าวมหาพรหม ซึ่งเป็นพระเจ้าอาของพระองค์ ซึ่งครองอยู่ที่เมืองเชียงราย พยายามแย่งครองราชบัลลังก์ แต่เจ้าแสนเมืองมาก็สามารถปกป้องราชบัลลังก์ได้สำเร็จ พญาแสนเมืองมาเป็นโอรสของพญากือนา ขณะที่มีพระชนมมายุ 39 ปี พระองค์โปรดให้สร้างพระเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จดีก็สวรรคต.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาแสนเมืองมา · ดูเพิ่มเติม »

พญาไชยสงคราม

ญาไชยสงคราม (80px) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่สองแห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ใน..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญาไชยสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พระชัยทิพ

ระชัยทิพ (Pra Chaiyathip) หรือมองกอยต่อ กษัตริย์แห่งราชวงศ์พม่าที่ปกครองอาณาจักรล้านนา ใน พ.ศ. 2151 - 2156 รวมระยะเวลา 5 ปี พระองค์เป็นพระโอรสของเจ้าฟ้าสารวตี ปฐมวงศ์ของราชวงศ์พม่าในล้านน.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระชัยทิพ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระช้อย

ระช้อย หรือ สะโทกะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เจ้าหมองส่วยสโตคอย (พงษาวดารเมืองน่าน) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่จากราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในพระเจ้าเชียงใหม่นรธาเมงสอ หลังจากที่พระราชบิดาสิ้นพระชนม์แล้ว พระราชโอรสทั้ง 3 พระองค์ต่างแย่งชิงราชสมบัติกัน ในที่สุดขุนนางกลุ่มหนึ่งสนับสนุนให้พระองค์ครองราชย์ต่อจากพระบิดาได้สำเร็จในรัชสมัยแรกระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระช้อย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโพธิสาลราช

ระยาโพธิสาลราชสุรศักดิ์ ศรีสำอาง.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระยาโพธิสาลราช · ดูเพิ่มเติม »

พระนางยอดคำทิพย์

ระนางยอดคำทิพย์, นางยอดคำสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระนางยอดคำทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางวิสุทธิเทวี

ระนางวิสุทธิเทวี หรือ สมเด็จเจ้าราชวิสุทธ (? — พ.ศ. 2121) เป็นขัตติยราชนารีพระองค์หนึ่งที่สำคัญพระองค์หนึ่งของอาณาจักรล้านนา และเป็นพระกษัตรีย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์มังราย ก่อนที่การปกครองอาณาจักรล้านนาจะตกไปสู่การปกครองของราชวงศ์ตองอู มหาเทวีวิสุทธิได้ให้การยอมรับอำนาจของพม่า และสนองนโยบายการขยายอำนาจจากล้านนาไปสู่กรุงศรีอยุธยา และล้านช้าง โดยใช้ล้านนาเป็นที่มั่น และส่งกองทัพเข้าร่วมรบกับเชียงใหม่ในคราวเสียกรุงศรีอ..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระนางวิสุทธิเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางสิริยศวดีเทวี

นางโป่งน้อย หรือ สิริยศวดีเทวี (ปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์), อโนชาเทวี (ปรากฏในพับสาวัดสันป่าเลียง), ศรีทิพ หรือ ทิพทอง (ปรากฏในโคลงนิราศหริภุญชัย), สมเด็จบพิตร พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว (ปรากฏในจารึกวัดอุทุมพรอาราม) และ สมเด็จบพิตร พระมหาเทวีศรีรัตนจักรวรรดิ (จารึกวัดพระคำ) เป็นเจ้านายฝ่ายในของอาณาจักรล้านนาที่มีบทบาททางการเมืองสูงและยาวนาน พระองค์เป็นหนึ่งในพระมเหสีในพญายอดเชียงราย เป็นมหาเทวีในพระเมืองแก้ว และเป็นมหาเทวีเจ้าตนย่าผู้ทรงอิทธิพลในรัชกาลของพระเมืองเกษเกล้.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระนางสิริยศวดีเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางจิรประภาเทวี

ระนางจิรประภาเทวี (ครองราชย์ พ.ศ. 2088–2089) หรือ มหาเทวีจิรประภา (110px) เป็นพระอัครมเหสีในพระเมืองเกษเกล้า พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 12 แห่งอาณาจักรล้านนาสืบต่อจากพระราชสวามี ซึ่งในรัชกาลของพระนางหัวเมืองฝ่ายเหนือเกิดการระส่ำระสายเนื่องจากบ้านเมืองเกิดการแย่งอำนาจระหว่างขุนนางกับเจ้านาย บ้านเมืองอ่อนแอมีศึกสงครามขนาบทั้งทิศเหนือและใต้ ทั้งกองทัพพม่า และอยุธยา ซึ่งตรงกับรัชสมัย สมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยาที่ยกทัพมาถึงเชียงใหม่ พระนางปกครองบ้านเมืองเพียงแค่เพียงปีเศษก็ได้สละราชบัลลังก์แก่ สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระราชนัดดา (หลานยาย) ซึ่งเป็นพระราชโอรสของกษัตริย์โพธิสารราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง และภายหลังพระองค์และพระราชนัดดาได้เสด็จไปประทับในนครหลวงพระบางและมิได้นิวัติกลับมายังนครเชียงใหม่อีกเลยตลอดปลายพระชนม์ชี.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระนางจิรประภาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระแสนเมือง

ระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2189 - 2202 ในรัชกาลนี้ พม่าเริ่มมีปัญหากับจีนฮ่อซึ่งเป็นกองกำลังของราชวงศ์หมิงที่ถูกขับไล่ลงมาทางใต้โดยราชวงศ์ชิง พระแสนเมือง เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ที่ปกครองโดยพม่า โดยนครถูกยึดครองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้คนและหญิงสาวในเมืองนั้นถูกกวาดต้อนเป็นอย่างมาก หนึ่งในนั้น คือ เจ้านางสมบุญ (ภายหลังในเป็น พระนางกุสาวดี) ได้เป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระเจ้าเสือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระแสนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระเมกุฏิสุทธิวงศ์

ระเป็นเจ้าแม่กุตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี, หน้า 91 (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) พระเมกุฏิสุทธิวงศ์ (พงศาวดารโยนก) พญาเมกุ หรือเจ้าขนานแม่กุประวัติศาสตร์ล้านนา, หน้า 178-179 ส่วนพม่าเรียกว่า ยูนบะหยิ่น (ယွန်းဘုရင်, Yun Bayin "กษัตริย์ของชาวโยน"), พระสังพม่าอ่านไทย, หน้า 162-163 หรือ พระสารพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1129 เป็นอดีตเจ้านายเมืองนาย และเป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้สืบเชื้อสายมาจากพญามังราย ภายหลังอาณาจักรล้านนาได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัยพระเจ้าบุเรงนอง พระเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นองค์ประกันในพม่าก่อนพิราลัยที่นั่นด้วยโรคบิด การพิราลัยด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็นนัตตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ในรูปลักษณ์ของนัตมีลักษณะคือ ประทับนั่งชันพระชานุขวา พระหัตถ์ขวาถือพระแสงดาบพาดพระอังสาเบื้องขวา และพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระชานุซ้.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเมืองเกษเกล้า

ระเมืองเกษเกล้า หรือ พญาเกสเชษฐราช (100px) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 12 ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ในครั้งที่ 1 พ.ศ. 2068 - 2081 (13 ปี) และครั้งที่ 2 พ.ศ. 2086 - พ.ศ. 2088 (2 ปี) ในการครองราชย์ครั้งแรกพระองค์ปกครองได้ 13 ปี พระองค์ก็ถูกยึดอำนาจจากพระโอรสของพระองค์คือ ท้าวซายคำ แต่ท้าวซายคำราชย์ได้แค่ 5 ปี ก็ถูกขุนนางปลดออกจากราชย์สมบัติ ต่อมาพญาเมืองเกษเกล้าได้ถูกอัญเชิญให้ขึ้นครองราชย์ แต่พระองค์ครองราชย์ได้แค่ 2 ปี พระองค์ก็ทรงเสียพระจริต พระองค์จึงถูกปลงพระชนม์เสี.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเมืองเกษเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าติโลกราช

ระเจ้าติโลกราช (120px) (พ.ศ. 1952 – พ.ศ. 2030) พระมหากษัตริย์ล้านนาแห่งราชวงศ์มังรายพระองค์ที่ 9 ครองราชย์ พ.ศ. 1985 – พ.ศ. 2030 พระนามเดิมคือ "เจ้าลก" เนื่องจากเป็นพระโอรสองค์ที่ 6 ในพญาสามฝั่งแกน (ลก ในภาษาไทเดิม มีความหมายว่า ลำดับที่ 6) ร่วมรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเจ้าติโลกราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเมืองแพร่

ระเจ้าเมืองแพร่ (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2215) เป็นกษัตริย์แคว้นล้านนาเชียงใหม่ องค์ที่ 9 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา ทรงเป็นเจ้าเมืองแพร่พระองค์เดียวที่มาปกครองล้านนา พระเจ้าเมืองแพร่มีพระนามเดิมว่าอย่างไรไม่ปรากฏหลักฐาน แต่มีนักประวัติศาสาตร์ท้องถิ่นระบุพระนามเดิมของพระองค์ว่า มังแรลักจ่อ หรือ มังแรลักกยอ โดยชาวเมืองขนานพระนามพระองค์ว่า เจ้าเมืองแพร่ เนื่องจากพระองค์เคยเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่มาก่อน ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเจ้าเมืองแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

มังแรนร่า

มังแรนร่า (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2270) เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์ที่ 12 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา ทรงเป็นเจ้านายจากพม่า มังแรนร่า เป็นเจ้านายที่พม่าแต่งตั้งให้มาปกครองเมืองเชียงใหม่ต่อจากเจพูตราย ซึ่งพิราลัยไป แต่ต่อมาชาวล้านนาพยายามจะขับไล่พม่าออกไป บ้านเมืองเต็มไปด้วยความยุ่งเหยิงวุ่นวาย มังแรนร่าครองเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ พ.ศ. 2250 - พ.ศ. 2270 รวมระยะเวลาได้ 20 ปี เทพสิงห์ร่วมกับชาวบ้านชาวเมือง ประหารมังแรนร่า ขับไล่พม่าออกไปได้ แล้วขึ้นครองเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและมังแรนร่า · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่ นับตั้งแต่ พ่อขุนหลวงพล พระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์แห่งน่านเจ้าทรงก่อตั้งนครรัฐแพร.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

อุปราชอึ้งแซะ

อุปราชอึ้งแซะ (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2218) เป็นพระมหาอุปราชแห่งกรุงอังวะ ได้เป็นเจ้าผู้ครองแคว้นเชียงใหม่พระองค์ที่ 10 ในสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า อุปราชอึ้งแซะเป็นพระราชโอรสในพระเจ้ากรุงอังวะ มีพระนามเดิมอย่างไรไม่ปรากฏ ได้รับสถาปนาเป็นพระมหาอุปราชาอึ้งแซะ (อินแซะ แปลว่าวังหน้า) เมื่อเจ้าเมืองแพร่ผู้ปกครองเชียงใหม่พระองค์ก่อนถึงแก่พิราลัย พระเจ้ากรุงอังวะจึงโปรดให้มาครองนครเชียงใหม่แทนในปี พ.ศ. 2215 ถึงปี พ.ศ. 2218 ก็สวรรคต รวมระยะเวลาได้ 3 ปี เจพูตราย พระโอรสเจ้าเจกุตราได้ปกครองอาณาจักรล้านนาต่อม.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและอุปราชอึ้งแซะ · ดูเพิ่มเติม »

องค์จันทร์

องค์จันทร์ เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ พระองค์ที่ 3 ตั้งแต่เมืองเชียงใหม่เป็นอิสระจากพม่า องค์จันทร์ เป็นพระโอรสในองค์คำ ได้ครองเชียงใหม่หลังจากที่พระบิดาสิ้นพระชนม์ แต่ครองล้านนาได้เพียง 2 ปี เจ้าปัดได้ยึดเมืองเชียงใหม่จากองค์จันทร์แต่กลับไม่ยอมครองเมืองอาจเป็นเพราะไม่มีอำนาจบารมีเพียงพอ ดังนั้นจึงไปขอให้พระภิกษุวัดดวงดี ลาสิกขาบทออกมาเป็นเจ้าเมืองแทนเจ้าปัด เรียกว่า เจ้าขี้หุด ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและองค์จันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์คำ

ระบรมเชษฐขัตติยสุริยวงศา มีพระนามเดิมว่า เจ้าองค์คำ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ต่อจาก เจ้ากิ่งกิสราช พระองค์มีนามแรกประสูติว่า หม่อมน้อย เป็นโอรสใน เจ้าอินทกุมาร เจ้าเมืองศรีฟ้าวาหะหัวขาวเชื้อสายกษัตริย์เมืองเชียงรุ้ง กับ หม่อมคำแล เมื่อแรกพระบิดาของพระองค์ทรงลี้ภัยสงครามลงมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารใน พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชมหาราช ที่อณาจักรล้านช้าง เมื่อ เจ้ากิ่งกิสราช สวรรคตลง เจ้ากิ่งกิสราช ไม่มีพระโอรสสืบบัลลังค์ อันจะมีแต่พระธิดา 2 องค์ เหล่าบรรดาขุนนาได้อัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราช และให้ เจ้านางแทนสาว เจ้านางแทนคำ ขึ้นเป็นเทวี คู่กับพระองค์ แต่เมือ เจ้าอินทโฉม ซึ่งตอนนั้นครองเมืองเชียงขอมอยู่ทราบข่าวการสวรรคตของ เจ้ากิ่งกิสราช จึงได้รวบรวมไพล่พลลงมาตีเอาเมืองคืน เจ้าองค์คำ เห็นว่าสู้ไม่ได้จึงได้จึงได้พาบริวาลส่วนหนึ่งเดินทางหนีไปผนวชอยู่ที่วัดช้างเผือกในเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและองค์คำ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวบุญเรือง

ท้าวบุญเรือง เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าติโลกราช และเป็นพระราชบิดาในพญายอดเชียงราย พระมหากษัตริย์ล้านนาพระองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์มังร.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและท้าวบุญเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวซายคำ

ท้าวซายคำ (ᨴ᩶ᩣ᩠ᩅᨪᩣ᩠ᨿᨤᩴᩣ) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 13ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ในปี พ.ศ. 2081 - 2086 รวมระยะเวลา 5 ปี พระองค์ทรงยึดอำนาจจากพระญาเมืองเกษเกล้า ซึ่งเป็นพระราชบิดาของพระองค์ เมื่อพระองค์ครองราชย์ได้แค่ 5 ปี พระองค์ก็ถูกปลงพระชนม์เนื่องจากพระองค์ไม่อยู่ในทศพิธราชธรรม และเหล่าขุนนางก็อัญเชิญพระญาเมืองเกษเกล้าขึ้นครองต่อ ในสมัยของท้าวซายคำนี้ มีเหตุความวุ่นวายมากมาย เกิดการจลาจล และขุนนางต่างๆแยกออกเป็นกลุ่มๆ ต่อสู้ช่วงชิงอำนาจกัน.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและท้าวซายคำ · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

โป่มะยุง่วน

ป่มะยุง่วน เป็นชาวพม่าที่ได้รับแต่งตั้งจากพระเจ้ามังระแห่งกรุงอังวะให้ไปครองเมืองเชียงใหม่ ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่าครั้งที่สองไม่นานนัก เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกกองทัพไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝางที่เมืองสวางคบุรี พวกเจ้าพระฝางหนีไปพึ่งพม่าที่เมืองเชียงใหม่ โปมะยุง่วนเห็นเป็นโอกาส จึงยกกองทัพลงมาตีเมืองสวรรคโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

โป่อภัยคามินี

ป่อภัยคามินี เจ้าเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้นำทัพในสงครามเก้าทัพ หลังยึดเมืองเชียงใหม่ได้ ก็ได้ขึ้นปกครองเมืองเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและโป่อภัยคามินี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองนาย

มืองนาย (Mong Nai) ตั้งอยู่ที่ละติจูด 20 องศา 30 ลิปดา เหนือ ลองติจูด 97 องศา 52 ลิปดาตะวันออก อยู่ในพื้นที่รัฐฉานใต้ ฝั่งตะวันตกแม่น้ำสาละวิน ใกล้กับจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในอดีตเคยเป็นเมืองลูกของเชียงใหม่สมัยพญามังราย และอดีตเมืองหลวงของรัฐฉาน สมัยพระเจ้าสีหสุรมหาธรรมราชา เจ้าเมืองอังวะ ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองนาย ซึ่งสมัยนั้นยังขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ อันเป็นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา เป็นเหตุให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพไพร่พล 100,000 นายไปเมืองนายและอังวะ ระหว่างเคลื่อนทัพผ่านเมืองเชียงใหม่ พระองค์ประชวรและสวรรคต ณ เมืองแหน แขวงเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระเอกาทศรถจึงเลิกทัพและทรงนำพระบรมศพกลับมายังอ.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเมืองนาย · ดูเพิ่มเติม »

เจพูตราย

ูตราย (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2250) เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์ที่ 11 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา ทรงเป็นเจ้านายจากพม่า เจ้าเจพูตราย เป็นพระราชโอรสในเจ้าเจกุตรา ขึ้นครองเชียงใหม่ภายหลังจากที่อุปราชอึ้งแซะผู้ปกครองเชียงใหม่พระองค์ก่อนสิ้นพระชนม์ พระองค์ทรงเป็นเจ้านายจากพม่า เจ้าเจพูตรายครองเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ พ.ศ. 2218 - พ.ศ. 2250 รวมระยะเวลาได้ 32 ปี จึงสิ้นพระชนม์ พม่าจึงได้แต่งตั้งมังแรนร่า เจ้านายพม่ามาปกครองล้านนาแทน.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเจพูตราย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้า

้าฟ้า สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเจ้าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพลศึกศรีสองเมือง

ระเจ้าศรีสองเมือง หรือ เจ้าพญาพลเสิกซ้ายไชยสงคราม เป็นพระโอรสในพระญาหน่อคำไชยเสถียรสงคราม เจ้าเมืองน่าน ทรงครองราชย์แคว้นล้านนาใน..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเจ้าพลศึกศรีสองเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าขี้หุด

้าขี้หุด เจ้าผู้ครองแคว้นเชียงใหม่ช่วงปี พ.ศ. 2304 - 2306 เป็นอดีตภิกษุวัดดวงดี ในช่วงเวลานั้นแคว้นเชียงใหม่เป็นอิสระจากการปกครองของพม่า หลังจากการครองราชย์ขององค์จันทร์ เจ้าปัดได้ยึดเมืองเชียงใหม่จากองค์จันทร์แต่กลับไม่ยอมครองเมืองอาจเป็นเพราะไม่มีอำนาจบารมีเพียงพอ ดังนั้นจึงไปขอให้พระภิกษุวัดดวงดี ลาสิกขาบทออกมาเป็นเจ้าเมืองแทนเจ้าปัด เรียกว่า เจ้าขี้หุด ในปี พ.ศ. 2304 แสดงให้เห็นว่าภิกษุองค์ดังกล่าวคงเป็นผู้ที่ราษฎรเลื่อมใสศรัทธาอยู่มาก แต่หลังจากครองเมืองได้ไม่นาน พม่าก็ยกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่ได้ในปี พ.ศ. 2306 และได้นำเชลยจากเชียงใหม่ไปเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเจ้าขี้หุด · ดูเพิ่มเติม »

เทพสิงห์

ทพสิงห์ เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ ผู้นำชาวเชียงใหม่ขับไล่พม่า และเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์แรกที่ปกครองเชียงใหม่ในช่วงที่เป็นอิสระจากพม่า เทพสิงห์ เป็นชาวเมืองยวมใต้ มีใจเจ็บแค้นที่ถูกข้าศึกชาวพม่าย่ำยีบีฑามาช้านาน จึงได้รวบรวมสมัครพรรคพวก ยกเข้าไปปล้นเมืองเชียงใหม่ในเวลากลางคืน และจับมังแรนร่าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ชาวพม่าได้และเทพสิงห์ก็ได้จัดการฆ่ามังแรนราและต่อมาก็ได้ขึ้นปกครองเมืองเชียงใหม่เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเทพสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ลำดับกษัตริย์ล้านนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »