ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระนางยอดคำทิพย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา
พระนางยอดคำทิพย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระยาโพธิสาลราชพระนางจิรประภาเทวีพระเมืองเกษเกล้าสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชท้าวซายคำ
พระยาโพธิสาลราช
ระยาโพธิสาลราชสุรศักดิ์ ศรีสำอาง.
พระนางยอดคำทิพย์และพระยาโพธิสาลราช · พระยาโพธิสาลราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา ·
พระนางจิรประภาเทวี
ระนางจิรประภาเทวี (ครองราชย์ พ.ศ. 2088–2089) หรือ มหาเทวีจิรประภา (110px) เป็นพระอัครมเหสีในพระเมืองเกษเกล้า พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 12 แห่งอาณาจักรล้านนาสืบต่อจากพระราชสวามี ซึ่งในรัชกาลของพระนางหัวเมืองฝ่ายเหนือเกิดการระส่ำระสายเนื่องจากบ้านเมืองเกิดการแย่งอำนาจระหว่างขุนนางกับเจ้านาย บ้านเมืองอ่อนแอมีศึกสงครามขนาบทั้งทิศเหนือและใต้ ทั้งกองทัพพม่า และอยุธยา ซึ่งตรงกับรัชสมัย สมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยาที่ยกทัพมาถึงเชียงใหม่ พระนางปกครองบ้านเมืองเพียงแค่เพียงปีเศษก็ได้สละราชบัลลังก์แก่ สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระราชนัดดา (หลานยาย) ซึ่งเป็นพระราชโอรสของกษัตริย์โพธิสารราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง และภายหลังพระองค์และพระราชนัดดาได้เสด็จไปประทับในนครหลวงพระบางและมิได้นิวัติกลับมายังนครเชียงใหม่อีกเลยตลอดปลายพระชนม์ชี.
พระนางจิรประภาเทวีและพระนางยอดคำทิพย์ · พระนางจิรประภาเทวีและรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา ·
พระเมืองเกษเกล้า
ระเมืองเกษเกล้า หรือ พญาเกสเชษฐราช (100px) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 12 ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ในครั้งที่ 1 พ.ศ. 2068 - 2081 (13 ปี) และครั้งที่ 2 พ.ศ. 2086 - พ.ศ. 2088 (2 ปี) ในการครองราชย์ครั้งแรกพระองค์ปกครองได้ 13 ปี พระองค์ก็ถูกยึดอำนาจจากพระโอรสของพระองค์คือ ท้าวซายคำ แต่ท้าวซายคำราชย์ได้แค่ 5 ปี ก็ถูกขุนนางปลดออกจากราชย์สมบัติ ต่อมาพญาเมืองเกษเกล้าได้ถูกอัญเชิญให้ขึ้นครองราชย์ แต่พระองค์ครองราชย์ได้แค่ 2 ปี พระองค์ก็ทรงเสียพระจริต พระองค์จึงถูกปลงพระชนม์เสี.
พระนางยอดคำทิพย์และพระเมืองเกษเกล้า · พระเมืองเกษเกล้าและรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา ·
สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช
ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..
พระนางยอดคำทิพย์และสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช ·
ท้าวซายคำ
ท้าวซายคำ (ᨴ᩶ᩣ᩠ᩅᨪᩣ᩠ᨿᨤᩴᩣ) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 13ในราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ในปี พ.ศ. 2081 - 2086 รวมระยะเวลา 5 ปี พระองค์ทรงยึดอำนาจจากพระญาเมืองเกษเกล้า ซึ่งเป็นพระราชบิดาของพระองค์ เมื่อพระองค์ครองราชย์ได้แค่ 5 ปี พระองค์ก็ถูกปลงพระชนม์เนื่องจากพระองค์ไม่อยู่ในทศพิธราชธรรม และเหล่าขุนนางก็อัญเชิญพระญาเมืองเกษเกล้าขึ้นครองต่อ ในสมัยของท้าวซายคำนี้ มีเหตุความวุ่นวายมากมาย เกิดการจลาจล และขุนนางต่างๆแยกออกเป็นกลุ่มๆ ต่อสู้ช่วงชิงอำนาจกัน.
ท้าวซายคำและพระนางยอดคำทิพย์ · ท้าวซายคำและรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พระนางยอดคำทิพย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระนางยอดคำทิพย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา
การเปรียบเทียบระหว่าง พระนางยอดคำทิพย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา
พระนางยอดคำทิพย์ มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา มี 80 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 5.26% = 5 / (15 + 80)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระนางยอดคำทิพย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: