โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา

ดัชนี รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา

รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนา (พ.ศ. 1839 - พ.ศ. 2318) ตั้งแต่พญามังราย ก่อตั้งอาณาจักรจนกระทั่งสิ้นสุดเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกประเพณีแต่งตั้งเจ้าหลวง.

9 ความสัมพันธ์: พญามังรายพระช้อยพระเมกุฏิสุทธิวงศ์พระเจ้านันทบุเรงสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชนรธาเมงสอโป่มะยุง่วนโป่อภัยคามินีเจ้าขี้หุด

พญามังราย

ญามังรายประเสริฐ ณ นคร; 2549, กุมภาพันธ์: 267.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพญามังราย · ดูเพิ่มเติม »

พระช้อย

ระช้อย หรือ สะโทกะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เจ้าหมองส่วยสโตคอย (พงษาวดารเมืองน่าน) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่จากราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในพระเจ้าเชียงใหม่นรธาเมงสอ หลังจากที่พระราชบิดาสิ้นพระชนม์แล้ว พระราชโอรสทั้ง 3 พระองค์ต่างแย่งชิงราชสมบัติกัน ในที่สุดขุนนางกลุ่มหนึ่งสนับสนุนให้พระองค์ครองราชย์ต่อจากพระบิดาได้สำเร็จในรัชสมัยแรกระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระช้อย · ดูเพิ่มเติม »

พระเมกุฏิสุทธิวงศ์

ระเป็นเจ้าแม่กุตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี, หน้า 91 (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) พระเมกุฏิสุทธิวงศ์ (พงศาวดารโยนก) พญาเมกุ หรือเจ้าขนานแม่กุประวัติศาสตร์ล้านนา, หน้า 178-179 ส่วนพม่าเรียกว่า ยูนบะหยิ่น (ယွန်းဘုရင်, Yun Bayin "กษัตริย์ของชาวโยน"), พระสังพม่าอ่านไทย, หน้า 162-163 หรือ พระสารพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1129 เป็นอดีตเจ้านายเมืองนาย และเป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้สืบเชื้อสายมาจากพญามังราย ภายหลังอาณาจักรล้านนาได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัยพระเจ้าบุเรงนอง พระเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นองค์ประกันในพม่าก่อนพิราลัยที่นั่นด้วยโรคบิด การพิราลัยด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็นนัตตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ในรูปลักษณ์ของนัตมีลักษณะคือ ประทับนั่งชันพระชานุขวา พระหัตถ์ขวาถือพระแสงดาบพาดพระอังสาเบื้องขวา และพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระชานุซ้.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

โป่มะยุง่วน

ป่มะยุง่วน เป็นชาวพม่าที่ได้รับแต่งตั้งจากพระเจ้ามังระแห่งกรุงอังวะให้ไปครองเมืองเชียงใหม่ ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่าครั้งที่สองไม่นานนัก เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกกองทัพไปปราบชุมนุมเจ้าพระฝางที่เมืองสวางคบุรี พวกเจ้าพระฝางหนีไปพึ่งพม่าที่เมืองเชียงใหม่ โปมะยุง่วนเห็นเป็นโอกาส จึงยกกองทัพลงมาตีเมืองสวรรคโลก เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและโป่มะยุง่วน · ดูเพิ่มเติม »

โป่อภัยคามินี

ป่อภัยคามินี เจ้าเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้นำทัพในสงครามเก้าทัพ หลังยึดเมืองเชียงใหม่ได้ ก็ได้ขึ้นปกครองเมืองเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและโป่อภัยคามินี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าขี้หุด

้าขี้หุด เจ้าผู้ครองแคว้นเชียงใหม่ช่วงปี พ.ศ. 2304 - 2306 เป็นอดีตภิกษุวัดดวงดี ในช่วงเวลานั้นแคว้นเชียงใหม่เป็นอิสระจากการปกครองของพม่า หลังจากการครองราชย์ขององค์จันทร์ เจ้าปัดได้ยึดเมืองเชียงใหม่จากองค์จันทร์แต่กลับไม่ยอมครองเมืองอาจเป็นเพราะไม่มีอำนาจบารมีเพียงพอ ดังนั้นจึงไปขอให้พระภิกษุวัดดวงดี ลาสิกขาบทออกมาเป็นเจ้าเมืองแทนเจ้าปัด เรียกว่า เจ้าขี้หุด ในปี พ.ศ. 2304 แสดงให้เห็นว่าภิกษุองค์ดังกล่าวคงเป็นผู้ที่ราษฎรเลื่อมใสศรัทธาอยู่มาก แต่หลังจากครองเมืองได้ไม่นาน พม่าก็ยกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่ได้ในปี พ.ศ. 2306 และได้นำเชลยจากเชียงใหม่ไปเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: รายพระนามพระมหากษัตริย์ล้านนาและเจ้าขี้หุด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ลำดับกษัตริย์ล้านนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »