สารบัญ
175 ความสัมพันธ์: บวรศักดิ์ อุวรรณโณชัยอนันต์ สมุทวณิชบุญรอด บิณฑสันต์ชูชาติ พิทักษากรชนิกา ตู้จินดาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี)พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)พระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา)พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)พระยาดำรงแพทยาคุณ (ชื่น พุทธิแพทย์)พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน)พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี... ขยายดัชนี (125 มากกว่า) »
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและบวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ชัยอนันต์ สมุทวณิช
ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและชัยอนันต์ สมุทวณิช
บุญรอด บิณฑสันต์
ตราจารย์ ร้อยเอก บุญรอด บิณฑสันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ อดีตเลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานมูลนิธินิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและบุญรอด บิณฑสันต์
ชูชาติ พิทักษากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกพิเศษ ชูชาติ พิทักษากร (19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 —) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงด้านดนตรีสากล โดยเป็นผู้มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ และเป็นผู้ถ่ายทอดวิชาดนตรีให้แก่ศาสตราจารย์ ดร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและชูชาติ พิทักษากร
ชนิกา ตู้จินดา
ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง ชนิกา ตู้จินดา (25 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไท.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและชนิกา ตู้จินดา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)
ระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตกุล) (พ.ศ. 2362 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2439) เป็นขุนนางในสมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ที่มีความรู้ในเชิงช่าง สามารถซ่อมเครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้า มีความสามารถในวิชาช่างชุบโลหะ สามารถประดิษฐ์สร้างเครื่องกลึง พระยากระสาปนกิจโกศล เดิมชื่อ โหมด เกิดเมื่อวันอังคาร แรม 8 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ตรงกั..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)
พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
ลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) (9 มิถุนายน พ.ศ. 2429 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี)
อำมาตย์เอก พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตประธานศาลฎีกา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษษฎีกา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี)
พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)
ลตรี พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) (Gustave Schau; พ.ศ. 2402-พ.ศ. 2462) เป็นอธิบดีกรมตำรวจภูธรคนที่ 5.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)
พระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา)
ระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา) มีนามเดิมว่า “ชม” เป็นเจ้าเมืองสงขลาคนที่ 8 (พ.ศ. 2431-2447) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองคนสุดท้าย ชาวเมืองสงขลาให้สมญานามว่า "เจ้าจอมเมือง" มีราชทินนานามว่า "พระยาวิเชียรคีรีศรีสมุท วิสุทธิศักดา มหาพิไชยสงครามรามภักดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ".
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา)
พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)
ันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) อดีตนายทหารบก ผู้เป็นแกนหลักในเหตุการณ์กบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 พระยาศรีสิทธิสงคราม มีชื่อเดิมว่า ดิ่น ท่าราบ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)
พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
มหาอำมาตย์เอก พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เป็นบุตรพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) มารดาชื่อ ศิลา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)
ระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นบุตรพลโท เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับคุณใหญ่ (สกุลเดิม โอสถานนท์) เริ่มรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)
พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)
frameless พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ หรือ สิทธิ จุณณานนท์ (ชื่อเดิม สุทธิ จุณณานนท์) (29 มิถุนายน พ.ศ. 2438 - 27 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์)
พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)
อำมาตย์เอก พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2422 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นนักเขียน ผู้เชี่ยวชาญทางภาษาไทย ท่านใช้นามปากกาหลายนาม ที่รู้จักกันแพร่หลาย คือ "อ.น.ก.", "อุนิกา", "อนึก คำชูชีพ" และเป็นผู้ริเริ่มคำทักทายคำว่า "สวัสดี" และยังเป็นผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษาทางการแพทย์หรือที่เรียกว่าอาจารย์ใหญ่ เป็นท่านแรกของประเทศไทย โดยกล่าวว่า "ฉันเป็นครู ตายแล้วขอเป็นครูต่อไป".
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)
พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)
ระตำรวจเอก นายพลตรี พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี รัฐมนตรีและสมุหพระตำรวจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)
พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)
4 ทหารเสือ (จากซ้าย) พ.อ.พระยาทรงสุรเดช, พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา, พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ และ พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) (12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)
พระยาดำรงแพทยาคุณ (ชื่น พุทธิแพทย์)
ตราจารย์อุปการคุณ พลตรี พระยาดำรงแพทยาคุณ (นพ.ชื่น พุทธิแพทย์) เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรของจมื่นศรีโภคา (ฟัก) กับนางศรีโภคา (พอก) สำเร็จการศึกษาแพทย์ประกาศนียบัตรจากประเทศอังกฤษ สมาชิกแห่งราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ และอนุสมาชิกแห่งราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ ประเทศอังกฤษ สมรสกับคุณหญิงเพิ่ม (วัชราภัย) เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาดำรงแพทยาคุณ (ชื่น พุทธิแพทย์)
พระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)
ระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) เป็นบุตรคนโตของขุนกนกเรขา (ทองดี) กับนางนิ่ม เกิดเมื่อวันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์)
พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)
อำมาตย์เอก เสวกเอก พระยาปริยัติธรรมธาดา นามเดิม แพ ต้นสกุล ตาละลักษมณ์ อดีตเจ้ากรมราชบัณฑิตขว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)
พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)
ลเรือตรีพระยาปรีชาชลยุทธ์ (วัน จารุภา) เป็นคณะกรรมการราษฎร รัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารเรือ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)
พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน)
ระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) เป็นนักดนตรีไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน)
พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
ลเอก พระยาเทพหัสดิน (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) หัวหน้าคณะทูตทหารไทยที่เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 นักโทษประหาร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลจอมพล ป.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
ลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) (26 เมษายน พ.ศ. 2430 - 14 กันยายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา
นายร้อยเอก มหาอำมาตย์ตรี นายกองตรี พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา (25 กันยายน พ.ศ. 2414 - 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2470) เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยมใหญ่ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติทรงรับราชการในรัชกาลที่ 5 ทรงเข้ารับราชการในกรมยุทธนาธิการ ตำแหน่งเสมียนฝึกหัด จนได้เลื่อนเป็นนายร้อยเอก ต่อมาย้ายมารับราชการในกระทรวงมหาดไทย เป็นเลขานุการของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้เลื่อนเป็นเป็นเจ้ากรมมหาดไทย ในรัชกาลที่ 6 เป็นเลขานุการหอพระสมุดวชิรญาณ และทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา 11 พฤศจิกายน..
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
ลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์
ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ.
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.
พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)
ระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์) (ถึงแก่กรรม 4 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตรองอธิบดีกรมศิลปากร พระสาโรชฯ ถือเป็นหนึ่งในนักเรียนสถาปัตกรรมรุ่นแรกๆ ของไทยที่จบการศึกษาจากประเทศอังกฤษ แล้วกลับเข้ามาออกแบบงานสถาปัตยกรรมในประเทศไทยหลายแห่ง ในช่วงตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 ถึงหลังยุคการปฏิวัติสยาม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)
พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)
ระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร) (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ (Peter Feit - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2511) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของประเทศไทย ผู้ริเริ่มการบันทึกเพลงไทยเดิมด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า เพลงไทยประสานเสียง (Thai Music Harmony) ของ กรมศิลปากร เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก ครูเอื้อ สุนทรสนาน และ ครูชลหมู่ ชลานุเคราะห์ (นักเชลโล่,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) ครูประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐานวงดุริยางค์ทหารอากาศ และ วงดุริยางค์ตำรว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์
มหาเสวกเอก จางวางเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์
มหาอำมาตย์โท พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ อดีตผู้บังคับการกรมทหารรักษาพระองค์ อัครราชทูตพิเศษประจำกรุงปารีส และข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า และต้นราชสกุลวัฒนวง.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร
ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม
นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี
ระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ใน พระราชพิธีโสกันต์ มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่จบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ นับเป็นเจ้านายไทยพระองค์แรกและเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่จบการศึกษาในวิชาระดับปริญญาเอก พระนาม "ดิลกนพรัฐ" หมายถึง "ศรีเมืองเชียงใหม่".
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..
พระเจ้าอินทวิชยานนท์
ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพระเจ้าอินทวิชยานนท์
พิไล พูลสวัสดิ์
ตราจารย์เกียรติคุณ พิไล พูลสวัสดิ์ (เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489) เป็นนักวิทยาศาสตร์และนักอนุรักษ์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเยี่ยมด้านปักษีวิทยา (Ornithology) นิเวศวิทยาสัตว์ป่า (Wildlife Ecology) และปรสิตวิทยา (Parasitology: Avian diseases) เป็นผู้ที่มุ่งมั่นทำวิจัยระยะยาว เพื่อการอนุรักษ์สัตว์ป่าและทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ทำกิจกรรมเผยเพื่อเผยแพร่ความรู้ในการอนุรักษ์นกเงือกและทรัพยากรธรรมชาติอย่างเข้มแข็ง จนได้รับการขนานนามว่า "ก่อให้เกิดการขับเคลื่อนทางสังคมเพื่อการคุ้มครอง-อนุรักษ์นกเงือกและธรรมชาติ จนได้เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้ทรงเกียรติด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติระดับโลก พร้อมกันถึง 2 รางวัล เมื่อปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพิไล พูลสวัสดิ์
พูนพิศ อมาตยกุล
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล (4 มิถุนายน พ.ศ. 2480 - ปัจจุบัน) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นนักวิชาการสาขาดนตรีวิทยา และเป็นที่ปรึกษาวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล พูนพิศ อมาตยกุล หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์พูนพิศ อมาตยกุล เกิดที่อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 4 ของร้อยโทพิศ และนางประเทือง เจริญเติบโตอยู่ในวัง และเป็นมหาดเล็กของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี เป็นเวลากว่า 30 ปี ได้เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับพระราชวงศ์และเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีไทยมาจากในวัง.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพูนพิศ อมาตยกุล
พนัส สิมะเสถียร
ตราจารย์ พนัส สิมะเสถียร เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและพนัส สิมะเสถียร
กบฏบวรเดช
กบฏบวรเดช เกิดขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและกบฏบวรเดช
ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา
ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา (ชื่อจีน:เล้าไซ้เคง) เริ่มรับราชการที่แผนกกุมารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ตั้งแต่ปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา
ภิญโญ สุวรรณคีรี
รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี (10 มีนาคม 2480 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรมไทย นักการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยประเพณี ศิลปินแห่งชาติและราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ เป็นบุตรของ นายซ้อน – นางรื่น สุวรรณคีรี สมรสกับ นางลาวัณย์ สุวรรณคีรี มีธิดา ๓ คน ได้แก่ นางสาวดลฤดี สุวรรณคีรี, นางสาวปิยนุช สุวรรณคีรี และนางสาวพุทธชาติ สุวรรณคีรี รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี เกิดเมื่อ 10 มีนาคม..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและภิญโญ สุวรรณคีรี
มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์
มติ ตั้งพานิช
มติ ตั้งพานิช สถาปนิกชาวไทยและราชบัณฑิตทางด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ นายมติ เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 ในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีน จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทด้านสถาปัตยศาสตร์ จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (M.I.T.) ประเทศสหรัฐอเมริกา และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 2 เคยทำงานเป็นสถาปนิกอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาอยู่พักหนึ่ง ก่อนจะกลับมาสู่ประเทศไทย ในปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและมติ ตั้งพานิช
มนตรี ตราโมท
มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและมนตรี ตราโมท
ยอร์ช เซเดส์
รรณารักษ์ใหญ่ประจำหอสมุดวชิรญาณ พ.ศ. 2461 ยอร์ช เซเดส์ (George Cœdès;, พ.ศ. 2429-พ.ศ. 2512) เป็นนักวิชาการชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยอร์ช เซเดส์เดินทางมารับราชการในตำแหน่งบรรณารักษ์ใหญ่ประจำหอพระสมุดวชิรญาณ (ภายหลังเป็นหอสมุดแห่งชาติ) เมื่อ พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและยอร์ช เซเดส์
ยง ภู่วรวรรณ
ตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและยง ภู่วรวรรณ
ระพี สาคริก
ตราจารย์ ระพี สาคริก (4 ธันวาคม พ.ศ. 2465 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) ราษฎรอาวุโส นักวิจัย นักวิชาการเกษตรผู้บุกเบิกวงการกล้วยไม้ของประเทศไทยสู่สากล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นอดีตนายกสภาสถาบันอาศรมศิลป.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและระพี สาคริก
ระวี ภาวิไล
ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและระวี ภาวิไล
รัชตะ รัชตะนาวิน
ตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน (13 สิงหาคม พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและรัชตะ รัชตะนาวิน
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและราชกิจจานุเบกษา
ละเอียด พิบูลสงคราม
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามเป็นบุตรคนโตในจำนวน 9 คนของเจริญ กับแช่ม พันธุ์กระวี เกิดที่ตำบลดอนพุทรา จังหวัดนครปฐม ศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนสตรีวิทยา ต่อมาย้ายไปอาศัยที่จังหวัดพิษณุโลก เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลพิษณุโลก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม) ซึ่งเป็นโรงเรียนชายประจำจังหวัด แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนผดุงนารี ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม พบรักกับร้อยตรีแปลก ขีตตะสังคะ เมื่ออายุได้ 14 ปี และได้สมรสกันที่จังหวัดพิษณุโลก และได้ย้ายติดตามสามีเรื่อยมา มีบุตรธิดาด้วยกัน 6 คน คือ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและละเอียด พิบูลสงคราม
ลิขิต ธีรเวคิน
ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและลิขิต ธีรเวคิน
วันดี วราวิทย์
..ญ.วันดี วราวิทย์ อาจารย์พิเศษภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ผู้ได้รับรางวัลมหิดล-บี บราวน์ เพื่อการแพทย์และสาธารณสุขไทย ประจำปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและวันดี วราวิทย์
วิชัย ริ้วตระกูล
ตาจารย์ วิชัย ริ้วตระกูล (12 ตุลาคม 2485 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยนครพนม นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและวิชัย ริ้วตระกูล
วิชา มหาคุณ
ตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2489) คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และอดีตประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีก.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและวิชา มหาคุณ
วิษณุ เครืองาม
ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและวิษณุ เครืองาม
วิทิต มันตาภรณ์
ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและวิทิต มันตาภรณ์
วินัย ดะห์ลัน
รองศาสตราจารย์ วินัย ดะห์ลัน เป็น กรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษา กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้อำนวยการและผู้ก่อตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกทั้งยังเป็นสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษ..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและวินัย ดะห์ลัน
ศิลป์ พีระศรี
ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและศิลป์ พีระศรี
สกล พันธุ์ยิ้ม
ตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม (31 มีนาคม 2486 -) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสกล พันธุ์ยิ้ม
สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ.
สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สวัสดิ์ ตันติสุข
วัสดิ์ ตันติสุข ศิลปินแห่งชาติ สวัสดิ์ ตันติสุข (24 เมษายน พ.ศ. 2468 - 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสวัสดิ์ ตันติสุข
สัญญา ธรรมศักดิ์
ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสัญญา ธรรมศักดิ์
สุกิจ นิมมานเหมินท์
ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสุกิจ นิมมานเหมินท์
สุรพล อิสรไกรศีล
นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล แพทย์เชี่ยวชาญด้านมะเร็งโรคเลือดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักและยอมรับของแพทย์ไทย และแพทย์ต่างชาติ และท่านยังเป็นราชบัณฑิตยสภาอีกด้ว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสุรพล อิสรไกรศีล
สุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์
ลต่าน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชาห์ เป็นสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ องค์ที่ 25 นับเป็นเจ้าเมืองไทรบุรีองค์สุดท้ายภายใต้การปกครองของสยาม.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์
สุจินต์ จินายน
ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสุจินต์ จินายน
สุทัศน์ ฟู่เจริญ
ตราจารย์ น.สุทัศน์ ฟู่เจริญ ศาสตราจารย์ระดับ 11 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2545 ปฏิบัติราชการ ณ ศูนย์วิจัยธาลัสซีเมีย สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสุทัศน์ ฟู่เจริญ
สุด แสงวิเชียร
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450— 8 มิถุนายน พ.ศ. 2538) แพทย์ชาวไทย นักกายวิภาคศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ นักโบราณคดี ราชบัณฑิต และ ผู้ได้รับรางวัลแพทย์ดีเด่น บุคคลดีเด่นแห่งชาติ และนักอนุรักษ์ดีเด่น ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร มีผลงานโดดเด่นในเรื่องวิทยาเอ็มบริโอ ด้านจุลกายวิภาคศาสตร์ ด้านมหกายวิภาคศาสตร์ หนึ่งในแพทย์ผู้ชันสูตรพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสุด แสงวิเชียร
สถิตย์ สิริสิงห
ตราจารย์เกียรติคุณ ทันตแพทย์ สถิตย์ สิริสิงห (9 มกราคม 2480 -) นักวิจัยผู้บุกเบิกสาขาอิมมิวโนวิทยาของประเทศไทยในยุคเริ่มแรก นับตั้งแต่ ปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสถิตย์ สิริสิงห
สดใส พันธุมโกมล
รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล (สกุลเดิม วานิชวัฒนา) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่กรุงเทพมหานคร อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล ปี 1959 ที่สหรัฐอเมริกาด้วย และคว้าตำแหน่งนางงามมิตรภาพ หรือ Miss Amity มาครองได้สำเร็จ รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาศิลปะการละคร ผู้ร่วมก่อตั้งชมรมดนตรีสากล สจม.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสดใส พันธุมโกมล
สง่า สรรพศรี
ตราจารย์ สง่า สรรพศรี (วันจันทร์ ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 29 มกราคม พ.ศ. 2542) เกิดที่ จ.เชียงใหม่ เป็นบุตรของนายมุ่ง และนางอุสา สรรพศรี สมรสกับ ร.วชิรา สรรพศรี มีบุตร 1 คน คือ ร.ดร.ชโยดม สรรพศรี คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.ดร.สง่า สรรพศรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมาชิกวุฒิสภา และตำแหน่งทางวิชาการอื่นๆ หลายตำแหน่ง.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสง่า สรรพศรี
สตางค์ มงคลสุข
ตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข (15 กรกฎาคม 2462 - 6 กรกฎาคม 2514) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านอินทรีย์เคมีและสมุนไพร และเป็นนักบริหารการศึกษาระดับสูงของชาติ โดยเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และได้ขยายจนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข หรือ.ดร.สตางค์ มงคลสุข เป็นคณบดีคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นกำลังสำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆของประเทศไทยในระยะเริ่มแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งวิทยาเขตหาดใหญ่และปัตตานี.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและสตางค์ มงคลสุข
หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์
ตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์
หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร
ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 - 15 พฤษภาคม 2530) พระเชษฐาองค์โตในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีชื่อเล่นว่า คุณชายกร๋อย เป็นบุตรคนโตของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร มีพี่น้อง 4 คน คือ หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี, โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นไปศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษ ที่ Guy's Hospital Medical School ได้รับประกาศนียบัตร MRCS.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร
หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์
ันตรี หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ หรือชื่อเล่นว่า ใหญ่ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406-21 มกราคม พ.ศ. 2469) เป็นโอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ กับหม่อมเขียน หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ เข้าถวายตัวต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่อายุได้ 7 ปี และทรงเลือกให้เดินทางไปศึกษาในต่างประเทศ เพื่อสืบทอดวิชาแพทย์ต่อจากพระบิดา หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์เดินทางไปศึกษาที่สกอตแลนด์ ตั้งแต..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมหลวงชูชาติ กำภู
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์
ลโท หม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์ ประสูติเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2430 ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์กับหม่อมราชวงศ์ละม้าย (สุริยกุล) เกษมสันต์ ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก และเสด็จศึกษาต่อวิชาทหารที่ประเทศเยอรมันจนถึง..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าพันธุประวัติ เกษมสันต์
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์กับหม่อมเพิ่ม สวัสดิกุล ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร (10 เมษายน พ.ศ. 2426 — 22 มิถุนายน พ.ศ. 2514) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่ หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา ทรงได้รับการยกย่องเป็น บิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่ หม่อมเจ้าสิทธิพร เสด็จไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ที่กรุงลอนดอน เริ่มรับราชการที่กระทรวงพระคลัง เมื่อ..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร
หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์กับหม่อมสุภาพ ประสูติเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร
หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่
ลตรี หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ เป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม กับหม่อมพริ้ง ประสูติเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่
หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม
หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม (17 สิงหาคม พ.ศ. 2427 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าเม้า รองทรง พระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ ราชสกุลวังหน้าในรัชกาลที่ 2 ประสูติเมื่อ พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม
หม่อมเจ้าขจรจรัสฤทธิ์ กฤดากร
หม่อมเจ้าขจรจรัสฤทธิ์ กฤดากร อดีตผู้พิพากษาศาลคดีค่างประเทศ และอดีตอัยการกระทรวงยุติธรรม.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหม่อมเจ้าขจรจรัสฤทธิ์ กฤดากร
หยุด แสงอุทัย
ตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (8 เมษายน พ.ศ. 2451 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2522) อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางสาขาวิชานิติศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไทย ศาสตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (นามเดิม สายหยุด แสงอุทัย) หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหยุด แสงอุทัย
หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)
ลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)
หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)
หลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร) หรือ นายจิตร หรือ ฟรานซ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์)
ลตรี หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2439 ตำบลวังไม้ขอน อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย อดีตอธิบดีกรมการแพทย์ (คนแรก) เป็นผู้ให้กำเนิดของสมาคมวิทยาลัยศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2523 รวมสิริอายุ 84ปี อดีตอธิบดีกรมการแพทย์คนแรก หนึ่งในนายแพทย์ผู้ร่วมชันสูตรพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 มีการจัดงานเพื่อรำลึกถึงท่านในโอกาสครบ 120 ปีชาตกาล พันโทนายแพทย์หลวงนิตย์ เวชชวิศิษฎ์ ้เมื่อ 29 กันยายน 2559 ที่ผ่านมาด้ว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์ (นิตย์ เปาเวทย์)
หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน)
หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) หลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน) นักดนตรีไทยที่มีความชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสี ทั้งซอด้วง ซออู้ และซอสามสาย เป็นอดีตข้าราชการในสังกัดกรมพิณพาทย์หลวง และกรมศิลปากร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยชีวิน)
อมเรศ ภูมิรัตน
ตราจารย์ อมเรศ ภูมิรัตน (24 กรกฎาคม 2491 - ปัจจุบัน) เกิดที่อำเภอพระโขนง กรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์และกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ เชี่ยวชาญด้านการสอน การวิจัย รวมทั้งการประยุกต์และถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม มาตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอมเรศ ภูมิรัตน
อรรถ วิสูตรโยธาภิบาล
นายอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 2 และอดีตอธิบดีกรมที่ดิน คนที่ 19 กระทรวงมหาดไทย รวมถึงอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย เป็นผู้คิดวิธีออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3ก.) โดยใช้รูปถ่ายทางอากาศเป็นระวาง และยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการร่างกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกาถึง 5 ครั้ง.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล
อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อวย เกตุสิงห์
ตราจารย์เกียรติคุณ เรือโท นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ เป็นแพทย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2451 เป็นชาวจังหวัดพระนคร สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วได้ทุนไปศึกษาเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาสรีรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อวยได้รับการยกย่องว่าเป็นนายแพทย์ที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาสูง รู้จักประยุกต์ใช้คำสอนของพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการบำบัดผู้ป่วยกับวิชาแพทย์แผนใหม่รุ่นบุกเบิกของไทย ในขณะเดียวกัน ท่านยังเป็นนายแพทย์ผู้บุกเบิกเอาวิชาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแพทยศาสตร์มาประยุกต์และได้รับสมญานามว่าเป็น บิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอวย เกตุสิงห์
อำพล เสนาณรงค์
อำพล เสนาณรงค์ อดีตองคมนตรี, นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอำพล เสนาณรงค์
อุดม โปษะกฤษณะ
ตราจารย์ นายแพทย์ อุดม โปษะกฤษณะ (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอุดม โปษะกฤษณะ
อดุล อดุลเดชจรัส
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและอดุล อดุลเดชจรัส
จรัส สุวรรณเวลา
ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและจรัส สุวรรณเวลา
จำนงค์ ทองประเสริฐ
ตราจารย์พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ ศาสตราจารย์พิเศษจำนงค์ ทองประเสริฐ ราชบัณฑิต สาขาตรรกศาสตร์ ประจำราชบัณฑิตยสถาน มีตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นอุปนายกสภามหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งโลก.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและจำนงค์ ทองประเสริฐ
ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
ถนัด คอมันตร์
.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและถนัด คอมันตร์
ขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)
นหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) ขุนหลวงพระยาไกรสี สุภาวภักดี ศรีมนธาตุราช อำมาตยคณาการ (เปล่ง เวภาระ) เป็นนักกฎหมายชาวไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ อดีตอธิบดีกรมอัยการคนแรก อดีตผู้ดำรงตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง และอดีตอธิบดีผู้พิพากษาศาลพระราชอาญา คำว่าขุนหลวงในที่นี้มีที่มาจากตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง ซึ่งมีหน้าที่ด้านการรักษาตัวบทกฎหมายมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งนี้มีบรรดาศักดิ์ชั้นพระ ปรากฏนามในทำเนียบศักดินาว่า "ขุนหลวงพระไกรสี" ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์ของข้าราชการตำแหน่งดังกล่าวจากชั้นพระเป็นพระยา จึงเรียกชื่อขุนนางตำแหน่งนี้ใหม่ว่า "ขุนหลวงพระยาไกรสี" ซึ่งขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) เป็น 1 ใน 2 คนที่ปรากฏหลักฐานว่าได้ดำรงตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง ในบรรดาศักดิ์ชั้นพร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)
ณัฐ ภมรประวัติ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ณัฐ ภมรประวัติ (29 พฤศจิกายน 2471 – 16 กุมภาพันธ์ 2547) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและณัฐ ภมรประวัติ
ดิเรก ชัยนาม
นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและดิเรก ชัยนาม
ประพนธ์ วิไลรัตน์
ตราจารย์ ประพนธ์ วิไลรัตน์ เกิดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้พี่ของรองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ และเป็นบุตรคนที่หนึ่ง ในจำนวน 4 คน ของนายนิพนธ์ และนางสดับพิณ วิไลรัตน์ ศาสตราจารย์ ดร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประพนธ์ วิไลรัตน์
ประภาศน์ อวยชัย
ตราจารย์ ประภาศน์ อวยชัย (18 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาต.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประภาศน์ อวยชัย
ประภาส จารุเสถียร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประภาส จารุเสถียร
ประยูร กาญจนดุล
ตราจารย์ ประยูร กาญจนดุล เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2454 เป็นบุตรของหลวงชำนาญโกศัยศาสตร์ หรือ ใหม่ กาญจนดุล และนางชำนาญ โกศัยศาสตร์ อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน จบการศึกษา เนติบัณฑิต โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม และคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มรับราชการในปี 2473 สังกัดกระทรวงมหาดไทย โดยดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ อาทิ อธิบดีกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ และปลัดกระทรวงเศรษฐการ นอกจากนี้ยังเป็นคณบดีคนแรกผู้ก่อตั้งคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาชิกวุฒิสภา และนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมทั้งมีผลงาน หนังสือ ตำรา และบทความทางวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ กฎหมายปกครองและด้านเศรษฐศาสตร์ เช่น คำบรรยายวิชาเศรษฐศาสตร์ โรงเรียนข้าราชการ ฝ่ายปกครอง หนังสือประวัติศาสตร์การปกครองของประเทศไทย และพจนานุกรม ศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.ประยูร กาญจนดุล ถึงแก่อนิจกรรม ด้วยโรคตับแข็ง เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 สิริอายุได้ 95 ปี.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประยูร กาญจนดุล
ประวัติ ปัตตพงศ์
นายประวัติ ปัตตพงศ์ (หลวงธรรมนูญวุฒิกร) (เกิด พ.ศ. 2446 - 21 มิถุนายน 2515) อดีตประธานศาลฎีกา และได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวงการแบดมินตันของประเทศไทย ใน..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประวัติ ปัตตพงศ์
ประสพ รัตนากร
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประสพ รัตนากร (24 เมษายน 2463-5 มิถุนายน 2555) ประธานคณะที่ปรึกษามูลนิธิรัฐบุรุษ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ผู้ริเริ่มการก่อตั้งโรงพยาบาลประสาททั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ผู้ริเริ่มก่อตั้งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมทั้งก่อตั้งสมาคมวิชาชีพทางสุขภาพจิตฯลฯ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประสพ รัตนากร
ประเวศ ลิมปรังษี
ประเวศ ลิมปรังษี ประเวศ ลิมปรังษี (17 กันยายน พ.ศ. 2473 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นสถาปนิกชาวไทย เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช รับราชการจนดำรงตำแหน่ง ผู้ราชการจนดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ (สถาปนิก 9) ด้านบูรณปฏิสังขรณ์ กรมศิลปากรในปัจจุบัน กรมศิลปากร มีผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมยาวนานกว่า 30 ปี ทั้งการออกแบบผูกลายไทย มีผลงานทั้งในและต่างประเทศ เช่น การออกแบบพระอุโบสถวัดพุทธประทีป ณ มหานครลอนดอน พลับพลาพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบรมมหากษัตริยาธิราช ณ ท้องสนามหลวงพระเมรุมาศพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี และบูรณะพระธาตุพนม เป็นต้น ในปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประเวศ ลิมปรังษี
ประเวศ วะสี
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประเวศ วะสี
ประเสริฐ ณ นคร
ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประเสริฐ ณ นคร
ประเสริฐ โศภน
ตราจารย์เกียรติคุณ ประเสริฐ โศภน (8 ธันวาคม 2486 -) เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของ นายสุนทร และนางสว่างจิต โศภน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขากายวิภาคศาสตร์และเซลล์ชีววิทยา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเซลล์ชีววิทยา ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและประเสริฐ โศภน
ปรีดี พนมยงค์
ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและปรีดี พนมยงค์
ปิยะสาร ประเสริฐธรรม
ตราจารย์ ดร.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและปิยะสาร ประเสริฐธรรม
นิพนธ์ ฉัตรทิพากร
ตราจารย์ นายแพทย์ นิพนธ์ ฉัตรทิพากร (Nipon Chattipakorn) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานกรรมการบริหาร นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2555 และ เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและนิพนธ์ ฉัตรทิพากร
นิกร ดุสิตสิน
ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ นิกร ดุสิตสิน เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและนิกร ดุสิตสิน
แสง มนวิทูร
ตราจารย์ ร.ต.ท. แสง มนวิทูร (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 -7 ตุลาคม พ.ศ. 2516) เป็นนักวิชาการด้านภาษาบาลีและสันสกฤตของ กรมศิลปากร และศาสตราจารย์พิเศษคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยรับหน้าที่ในการสอนภาษาสันสกฤต บาลี และศาสนา ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีผลงานแปลจากภาษาบาลีและสันสกฤตที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก อาทิ ชินกาลมาลีปกรณ์ ศาสนวงศ์ สิหิงคนิทาน รัตนพิมพวงศ์ รสวาหินี นาฏยศาสตร์ คัมภีร์ลลิตวิสตระ และภควัทคีตา เป็นต้น.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและแสง มนวิทูร
แผ้ว สนิทวงศ์เสนี
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และหม่อมแผ้ว ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี (25 ธันวาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและแปลก พิบูลสงคราม
โชติ สุวัตถิ
ตราจารย์โชติ สุวัตถิ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ นับเป็นนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญในด้านสัตว์น้ำและพรรณพืชคนหนึ่งของประเทศไทย มีผลงานศึกษา วิจัย และอนุกรมวิธานสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เช่น ปลาปักเป้าควาย (Tetraodon suvatti) ก็ได้รับการตั้งชื่อสายพันธุ์ (Species) เพื่อเป็นเกียรติแก่ท่าน อีกทั้งยังเป็นผู้ชำนาญการวาดภาพประกอบทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย (Scientific drawing) มีผลงานหนังสือที่ยังใช้อ้างอิงมาจนถึงปัจจุบัน เช่น Fishes of Thailand, Flora of Thailand—old and new, and night and day: Flora of Thailand และ กล้วยไม้เมืองไทย โชติ สุวัตถิ รวบรวม เป็นต้น.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและโชติ สุวัตถิ
เกษม จาติกวณิช
นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเกษม จาติกวณิช
เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
เลื่อน พงษ์โสภณ
นาวาอากาศเอก เลื่อน พงษ์โสภณ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนช่างกลแห่งแรกในประเทศไทย ปรมาจารย์มอเตอร์ไซค์ไต่ถัง นักบิน ผู้ประดิษฐ์รถสามล้อ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมคนแรกของประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมั.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเลื่อน พงษ์โสภณ
เสฐียรพงษ์ วรรณปก
.(พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก ศาสตราจารย์ (พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก เป็นอาจารย์หรือนักวิชาการทางด้านศาสนาพุทธและภาษาบาลี ราชบัณฑิตสาขาศาสนศาสตร์ และยังเป็นนักเขียนบทกวี ตำรา และบทความในนิตยสารหลายฉบับ เริ่มเขียนบทความให้นิตยสารต่วยตูน แล้วได้รับการชักนำให้เขียนลงคอลัมน์ประจำให้หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ก่อนจะย้ายไปเขียนประจำให้หนังสือพิมพ์ในเครือมติชนและข่าวสด มีชื่อเสียงโด่งดังจากการเขียนวิจารณ์พระสงฆ์ที่ปฏิบัตินอกรีต โดยเฉพาะกรณีอดีตพระยันตระ อมโร รวมทั้งยังนับได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกการตั้งชื่อเป็นมงคลนามแก่ตัวเจ้าของชื่อด้ว.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเสฐียรพงษ์ วรรณปก
เสริม วินิจฉัยกุล
ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเสริม วินิจฉัยกุล
เสรี หวังในธรรม
นายเสรี หวังในธรรม (3 มกราคม พ.ศ. 2480 — 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจำปี พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเสรี หวังในธรรม
เหรียญดุษฎีมาลา
หรียญดุษฎีมาลา เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นที่ระลึก เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า เหรียญแพรแถบ เป็นเหรียญบำเหน็จความชอบในราชการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างขึ้นในปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเหรียญดุษฎีมาลา
เจริญใจ สุนทรวาทิน
ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเจริญใจ สุนทรวาทิน
เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต
มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (120px) (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร (ครองราชย์ พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต
เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)
อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)
ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ.
เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)
้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) มีนามเดิมว่า ลออ ไกรฤกษ์ (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)
เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์; 20/21 สิงหาคม พ.ศ. 2386 - 19 เมษายน พ.ศ. 2456) อดีตปลัดทูลฉลอง และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465 ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) (24 มิถุนายน พ.ศ.
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
อมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชการ และผู้บัญชาการกรมทหารบก จอมพลฉแรม ทับพุ่ม เป็นหลานปราบกฎบทเมืองอ่างทองโดยคนเมืองอินทบุรี.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลบ สุทัศน์)
งวางเอก มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร นามเดิม หม่อมราชวงศ์ลบ เป็นขุนนางชาวไทย ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี ปลัดทูลฉลองกระทรวงนครบาล เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ผู้ได้รับพระราชทานนามสกุลสุทัศน.
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.
เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)
ล้อเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล อดีตเสนาบดีกระทรวงวัง (ปัจจุบันคือสำนักพระราชวัง เทียบเท่าตำแหน่งเลขาธิการสำนักพระราชวัง) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
เดชา บุญค้ำ
ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเดชา บุญค้ำ
เดือน บุนนาค
ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเดือน บุนนาค
เฉลิม พรมมาส
ตราจารย์อุปการคุณ นายแพทย์ เฉลิม พรมมาส หรือ หลวงเฉลิมคัมภีรเวชช์ (เฉลิม พรมมาส) แพทย์ชาวไทย อดีตผู้บัญชาการมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ.
ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาและเฉลิม พรมมาส