โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

ดัชนี หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.

30 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2497พ.ศ. 2547พ.ศ. 2555พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวภาษาต่างประเทศระนาดเอกวัดภุมรินทร์กุฎีทองวังบูรพาภิรมย์สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสำนักพระราชวังสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสอำเภออัมพวาจังหวัดพระนครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดเพชรบุรีทูล ทองใจครูตำบลอัมพวาประเทศไทยนักดนตรีโหมโรงโหมโรง (ภาพยนตร์)โหมโรง (ละครโทรทัศน์)เพลงไทยเดิมเหรียญดุษฎีมาลาเอื้อ สุนทรสนานเครื่องดนตรีไทย8 มีนาคม

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาต่างประเทศ

นักเรียนชาวเยอรมันกำลังเรียนภาษาฝรั่งเศส ภาษาต่างประเทศ คือภาษาอื่น ๆ ที่บุคคลหนึ่งไม่ได้ใช้สื่อสารพูดคุยในเวลาปกติ สำหรับผู้ที่ใช้ภาษาใดภาษาหนึ่งหรือมากกว่าเป็นหลัก จะถือว่าภาษาอื่นเป็นภาษาต่างประเทศ ไม่เพียงเฉพาะภาษาอังกฤษที่อาจนับเป็นภาษาต่างประเทศตามความหมายข้างต้น แต่ก็ยังมีรูปแบบอื่นของภาษาต่างประเทศด้วย เช่นภาษาญี่ปุ่นโบราณถือเป็นภาษาต่างประเทศในประเทศญี่ปุ่น เพราะไม่ได้ใช้สื่อสารในเวลาปกติ ภาษาต่างประเทศยังหมายถึงภาษาที่มิใช่ภาษาประจำประเทศบ้านเกิดของผู้ที่กล่าวถึง เช่นผู้ที่พูดภาษาอังกฤษแต่ไปอาศัยอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น อาจกล่าวได้ว่าภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศของบุคคลนั้น อย่างไรก็ดีคำอธิบายดังกล่าวก็ไม่ได้ครอบคลุมความหมายทั้งหมดของคำว่าภาษาต่างประเทศ และการแบ่งประเภทเช่นนี้ก็มักทำให้เกิดความเข้าใจผิดอยู่มาก เด็กบางคนอาจเรียนรู้มากกว่าหนึ่งภาษาตั้งแต่เกิดหรือตั้งแต่อายุยังน้อย เด็กกลุ่มนี้จัดอยู่ในกลุ่มบุคคลสองภาษาหรือหลายภาษา ซึ่งมีภาษาแม่หลายภาษา และไม่มีภาษาใดที่เป็นภาษาต่างประเทศสำหรับพวกเขาเลย แม้ว่าภาษาเหล่านั้นอาจเป็นภาษาต่างประเทศสำหรับคนส่วนใหญ่ในประเทศที่เด็กเกิดก็ตาม หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์สังคม หมวดหมู่:การศึกษาภาษา หมวดหมู่:ภาวะพหุภาษา.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และภาษาต่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ระนาดเอก

ระนาดเอก ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่วิวัฒนาการมาจากกรับ แต่เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลาย ๆ อันวางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกัน แล้วทำรางรองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ กันนั้นให้ติดกัน และขึงไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง นำตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนำมาติดหัวท้ายของไม้กรับนั้น ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาด เรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่นเดียวกันว่า ผืน ระนาดเอกใช้ในงานมงคล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลในบ้าน บรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทำหน้าที่เป็นผู้นำวง.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และระนาดเอก · ดูเพิ่มเติม »

วัดภุมรินทร์กุฎีทอง

วัดภุมรินทร์กุฎีทอง เป็นวัดในพระพุทธศาสนาเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ ริมฝั่งแม่น้ำแม่กลองฝั่งเหนือของปากคลองประชาชมชื่น (คลองบางลี่) ตำบลสวนหลวง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัดที่มีทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และสิ่งเคารพภายในวัด รวมทั้งมีทัศนียภาพที่เหมาะสม ควรแก่การเยี่ยมชม.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และวัดภุมรินทร์กุฎีทอง · ดูเพิ่มเติม »

วังบูรพาภิรมย์

วังบูรพาภิรมย์ นักเรียนโรงเรียนภานุทัต สมัยที่อยู่วังบูรพาภิรมย์ วังบูรพาภิรมย์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เมื่อ..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และวังบูรพาภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออัมพวา

อำเภออัมพวา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงคราม.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และอำเภออัมพวา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทูล ทองใจ

ฉายา เจ้าชายแห่งรัตติกาล นิคเนม พ่อระฆังฝังเพชรสี่ทหารเสือของวงดนตรีจุฬารัตน์ จากซ้าย ปอง ปรีดา, นคร ถนอมทรัพย์, ทูล ทองใจ, พร ภิรมย์ ทูล ทองใจ ชื่อจริง น้อย ทองใจ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2470 ที่อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม  ตอนหลังย้ายไปอยู่ที่อำเภอแม่กลอง พ่อเป็นชาวจีน “แซ่ทอง” ต่อมาพ่อเปลี่ยนนามสกุลเป็น “ทองใจ”  แม่ชื่อ “นิ่ม  ทองใจ”  มีพี่น้อง  4 คน  ชาย 3  หญิง 1 ทูลคนที่ 3 แต่พ่อมาตายตั้งแต่ลูกๆยังเล็ก แม่จึงได้แต่งงานใหม่กับพนักงานการรถไฟ และย้ายไปอยู่มหาชัย มีลูกอีกคนเป็นผู้หญิง ทูลได้ช่วยเลี้ยงน้อง และได้ช่วยแม่ขายของ และอีกอาชีพนึงคือหาบน้ำขาย ทูลจบการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 3 ชอบการร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก ร้องเพลงประกวดครั้งแรกเมื่ออายุได้ 14 ปี เพลงที่ชื่นชอบเป็นพิเศษในช่วงนั้นคือ “ค่ำแล้วในฤดูหนาว” ของครูล้วน  ควันธรรม  และเพลง “หยาดฟ้ามาดิน”  ของครูสมยศ  ทัศนพันธ์  ประกวดที่ไหนจะนำ 2เพลงนี้ขึ้นประกวดเสมอ และจะชนะเลิศทุกครั้งไป  จนกรรมการขยาด เขาจึงได้รับเกียรติให้เป็นกรรมการตัดสินการประกวดร้องเพลงซ่ะเลย นับเป็นกรรมการที่มีอายุน้อยที่สุดด้วยวัยเพียง 19 ปี ทำให้เขาภูมิใจไม่เคยลืม   หลังจากนั้นครูชาญชัย  บัวบังศร แนะนำให้ไปร้องเพลงอยู่ที่ห้องอาหารจังหวัดภูเก็ต   ทนลำบากอยู่หลายปีเหมือนกัน จึงหวลกลับกรุงเทพฯ อีกครั้งหนึ่ง ความใฝ่ฝันที่จะเป็นนักร้องอาชีพเริ่มเป็นจริง  เมื่อได้เข้ารับราชการเป็นทหาร สังกัด  .ท. ความสามารถในการร้องเพลง  ทำให้เขาได้เป็นนักร้องประจำวง “ลูกมาตุลี” ซึ่งเป็นวงดนตรีชื่อดังของกรมการขนส่งทหารบกในสมัยนั้น เมื่อออกจากวง “ลูกมาตุลี” ของ.ท. ขณะนั้นมียศสิบเอก  ครูสิทธิ์  โมรากรานต์  นำไปพบกับครู “เบญจมินทร์”  ครูเบญจมินทร์แต่งเพลงแรกให้ร้องบันทึกเสียง เมื่อปี..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และทูล ทองใจ · ดูเพิ่มเติม »

ครู

รู คือ ผู้ที่มีความสามารถให้คำแนะนำ เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการเรียน สำหรับนักเรียน หรือ นักศึกษาในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติและแนวทางในการทำงาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคำนึงถึงพื้นฐานความรู้ ความสามารถ และเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน และนอกจากการสอนแล้วครูยังเป็นผู้ยกระดับวิญญาณมนุษย์ ให้รู้จักผิดชอบชั่วดี สอนในคุณงามความดีเพื่อเป็นแม่แบบให้เด็กได้ปฏิบัติตามทั้งต่อหน้าและลับหลัง คำว่า "ครู" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต "คุรุ" และภาษาบาลี "ครุ, คุรุ".

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และครู · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลอัมพวา

ตำบลอัมพวา อยู่ใน อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และตำบลอัมพวา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นักดนตรี

Guy Pratt นักดนตรีมืออาชีพ กำลังเล่นกีตาร์เบส นักดนตรี หมายถึง บุคคลที่เล่นเครื่องดนตรี หรือผู้ที่มีความสามารถทางด้านดนตรี ไม่ว่าจะเป็นนักประพันธ์ วาทยากร หรือนักแสดงดนตรี ก็สามารถเรียกว่านักดนตรีได้ นักดนตรีมีความสามารถเฉพาะบางแนวเพลง หรือบางคนอาจเล่นในแนวเพลงที่แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างทักษะต่าง ๆ ของนักดนตรี ได้แก่ การแสดง การอำนวยเพลง การร้องเพลง องค์ประกอบ การจัดการ และการเรียบเรียงเพลง.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และนักดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง

หมโรงอาจหมายถึง.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และโหมโรง · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง (ภาพยนตร์)

หมโรง (The Overture) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2547 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีไทย เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจมาจากประวัติของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย กำกับโดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ และอำนวยการผลิตโดย นนทรีย์ นิมิบุตร และ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ภาพยนตร์ทำรายได้ 52.72 ล้านบาท นำแสดงโดย อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, อาระตี ตันมหาพราน, สุเมธ องอาจ, ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง และอาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ โตสง่า จากวงบอยไทย รับบทเป็น ขุนอิน ภายหลังดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อ พ.ศ. 2555 และเป็นละครเวทีมิวสิคัลโดยเวิร์คพอยท์-โต๊ะกลมโทรทัศน์ แสดงที่โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ เมื่อ พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง (ละครโทรทัศน์)

หมโรง เป็นละครซีรีส์ทางโทรทัศน์ของ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ซึ่งดัดแปลงจากบทภาพยนตร์เรื่อง โหมโรง ของ อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2547 นำแสดงโดย ธนาวุฒิ ศรีวัฒนะ และ นพพล โกมารชุน รับบท ศร ทวีศักดิ์ อัครวงษ์ รับบท ขุนอิน ร่วมด้วย เกรียงไกร อุณหะนันท์, อรรถพร ธีมากร, ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์, วิทยา เจตะภัย, วุฒิสิทธิ์ สืบสุวรรณ, ปริศนา กล่ำพินิจ, ปานเลขา ว่านม่วง, ณัทธมนกาญจน์ ศรีนิกรโชติ, นันทรัตน์ เชาวราษฎร์, จุฬา ศรีคำมา, สุกุลตา มิตรศรัทธา ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันอังคาร เวลา 20.25 - 21.15 น. เริ่มออกฉายวันแรกทางไทยพีบีเอส วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2555 บทโทรทัศน์โดย ภูเขา และกำกับการแสดงโดย วินัย ปฐมบูรณ.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และโหมโรง (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงไทยเดิม

ลงไทยเดิม หมายถึง เพลงที่มีการขับร้องด้วยวิธีการแบบไทย เช่น การเอื้อน ลงทรวง เป็นต้น พร้อมด้วยการบรรเลงดนตรีไทยไปด้วยในขณะที่กำลังขับร้องหรือบรรเลงเฉพาะดนตรีไม่มีการขับร้อง เครื่องดนตรีที่ใช้เป็นเครื่องดนตรีไทยที่ปรากฏในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีการสันนิษฐานถึงที่มาของเครื่องดนตรีไทยในบางเครื่องว่ากำเนิดมาจากต่างชาติ แต่บรรพบุรุษไทยก็ได้เปลี่ยนแปลงและประยุกต์ให้เข้ากับเพลงไทยเดิม.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และเพลงไทยเดิม · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญดุษฎีมาลา

หรียญดุษฎีมาลา เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นที่ระลึก เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า เหรียญแพรแถบ เป็นเหรียญบำเหน็จความชอบในราชการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และเหรียญดุษฎีมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องดนตรีไทย

รื่องดนตรีไทย คือ เครื่องดนตรี ที่สร้างสรรค์ขึ้นตามศิลปวัฒนธรรมดนตรีของไทย ที่มีรูปแบบเอกลักษณ์ของความเป็นไทย ซึ่งสัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของคนไทย โดยนิยมแบ่งตามอากัปกิริยา ของการบรรเลง คือเครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี เครื่องเป่า เครื่องดนตรีหลัก ๆ ได้แก่ ปี่ ซอ ซออู้ ซอด้วง ระนาด ฆ้อง จะเข้ ฉิ่ง ฉาบ กลองยาว โหม่ง และ กรั.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และเครื่องดนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

8 มีนาคม

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)และ8 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ศร ศิลปบรรเลงหลวงประดิษฐ์ไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะนายศร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »