โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร

ดัชนี รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร

ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

175 ความสัมพันธ์: บริษัทอินเดียตะวันออกบริติชราชบริติชอเมริกาบักกิงแฮมเชอร์พ.ศ. 2149พ.ศ. 2163พ.ศ. 2192พ.ศ. 2194พ.ศ. 2201พ.ศ. 2250พ.ศ. 2326พ.ศ. 2465พ.ศ. 2491พ.ศ. 2505พ.ศ. 2514พ.ศ. 2521พ.ศ. 2533พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2545พ.ศ. 2549พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษกล้วยกองทัพบกสหราชอาณาจักรกองทัพสหราชอาณาจักรกีฬาเครือจักรภพภาษาอังกฤษมังกรยอร์กเชอร์ยุครัฐในอารักขายูฟ่ายูเนียนแจ็กรัฐมะละการัฐปีนังราชวงศ์ทิวดอร์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรอิรักราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรียราชอาณาจักรเวสเซกซ์ราชนาวีรายชื่อธงในประเทศอังกฤษรายชื่อธงในประเทศไอร์แลนด์ศักราชสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศสหภาพแอฟริกาใต้สหรัฐสหราชอาณาจักร...สัญลักษณ์ดอกลิลลีอาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์อาณานิคมสิงคโปร์อาณานิคมทรานส์วาลอาณานิคมไนจีเรียอาณานิคมเอเดนอาณานิคมเคนยาจันทน์เทศธงธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีธงชาติบาร์เบโดสธงชาติบาฮามาสธงชาติพม่าธงชาติกายอานาธงชาติกานาธงชาติมอลตาธงชาติมอนต์เซอร์รัตธงชาติมาลาวีธงชาติยิบรอลตาร์ธงชาติยูกันดาธงชาติศรีลังกาธงชาติสกอตแลนด์ธงชาติสหพันธรัฐอินเดียตะวันตกธงชาติหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดธงชาติหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ดธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จินธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ธงชาติหมู่เกาะพิตแคร์นธงชาติหมู่เกาะเคย์แมนธงชาติอัลเดิร์นนีย์ธงชาติอังกฤษธงชาติอิรักธงชาติจาเมกาธงชาติดอมินีกาธงชาติคิริบาสธงชาติตรินิแดดและโตเบโกธงชาติตูวาลูธงชาติซามัวธงชาติซาร์กธงชาติปาปัวนิวกินีธงชาติแองกวิลลาธงชาติแอนติกาและบาร์บูดาธงชาติแทนซาเนียธงชาติแคเมอรูนธงชาติไซปรัสธงชาติไนจีเรียธงชาติเบลีซธงชาติเบอร์มิวดาธงชาติเกรเนดาธงชาติเกาะแมนธงชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชธงชาติเกิร์นซีย์ธงชาติเวลส์ธงชาติเฮิร์มธงชาติเจอร์ซีย์ธงชาติเคนยาธงชาติเซียร์ราลีโอนธงชาติเซนต์ลูเชียธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ธงชาติเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลาธงหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสธงตริสตันดากูนยาธงปาเลสไตน์ในอาณัติธงเซนต์เฮเลนาทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงดยุกแห่งคอร์นวอลล์คราวน์โคโลนีคริสต์ศักราชตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรีตราแผ่นดินของมอลตาตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัตตราแผ่นดินของศรีลังกาตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักรตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ดตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จินตราแผ่นดินของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์นตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมนตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสตราแผ่นดินของอังกฤษตราแผ่นดินของจาเมกาตราแผ่นดินของดอมินีกาตราแผ่นดินของคิริบาสตราแผ่นดินของแองกวิลลาตราแผ่นดินของแคนาดาตราแผ่นดินของไอร์แลนด์เหนือตราแผ่นดินของไนจีเรียตราแผ่นดินของเบลีซตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชตราแผ่นดินของเวลส์ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนาประเทศสกอตแลนด์ประเทศอังกฤษประเทศแคนาดาประเทศไอร์แลนด์ประเทศเวลส์นกยูงนิคมช่องแคบนครลอนดอนแฮมป์เชอร์แทนกันยีกาไอร์แลนด์เหนือไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เบดฟอร์ดเชอร์เอสเซกซ์เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวีเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์กเครือจักรภพเซาเทิร์นโรดีเชียเซนต์เฮเลนา ขยายดัชนี (125 มากกว่า) »

บริษัทอินเดียตะวันออก

ริษัทอินเดียตะวันออกอันทรงเกียรติ (Honourable East India Company) หรือในเวลาต่อมาคือ บริษัทอินเดียตะวันออกของบริเตน เป็นบริษัทร่วมทุนสัญชาติอังกฤษในช่วงแรก ซึ่งเดิมถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อแสวงหาการค้ากับภูมิภาคอินเดียตะวันออก แต่ในภายหลังได้ดำเนินการค้าส่วนใหญ่กับอนุทวีปอินเดียและจีน และยังมีหน้าที่ปกครองอาณานิคมในอนุทวีปอินเดีย บริษัทอินเดียตะวันออกถือได้ว่ามีความเก่าแก่ที่สุดเมื่อเทียบกับบริษัทอินเดียตะวันออกของชาติทวีปยุโรปอื่น ๆ เมื่อแรกก่อตั้ง บริษัทได้รับพระราชทานตราตั้งโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1ให้เป็น "ข้าหลวงแลบริษัทพาณิชย์แห่งลอนดอนซึ่งจักทำการค้าไปยังอินเดียตะวันออก" เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและบริษัทอินเดียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและบริติชราช · ดูเพิ่มเติม »

บริติชอเมริกา

อาณานิคมบริติชอเมริกา หมายถึง ดินแดนในอาณัติของอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ (รวมหมู่เกาะเบอร์มิวดา), อเมริกากลาง, กายอานา และ หมู่เกาะแคริบเบียน ระหว่างปี 1607 ถึง 1783 คำว่า บริติชอเมริกา ถูกใช้อยู่จนกระทั่งสิบสามอาณานิคมทำสงครามแยกตัวออกเป็นอิสระ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและบริติชอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

บักกิงแฮมเชอร์

ัคคิงแฮมเชอร์ (Buckinghamshire; ออกเสียง: ˈbʌkɪŋəmʃəˈ หรือ ˈbʌkɪŋəmʃɪəˈ; ย่อ Bucks) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักร ที่มีฐานะเป็นมณฑลภูมิศาสตร์ และมณฑลนอกเมโทรโพลิตัน บัคคิงแฮมเชอร์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ บัคคิงแฮมเชอร์แบ่งการปกครองเป็นห้าแขวง: เซาท์บัคส, ชิลเทิร์น, ไวคูมบ์, อายล์สบรี เวล, และ มิลตัน คีนส์ โดยมีอายล์สบรี เป็นเมืองหลวงของมณฑล และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือมิลตัน คีนส์ บัคคิงแฮมเชอร์มีเนื้อที่ 1,874 ตารางกิโลเมตร และมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 719,000 คน ถัวเฉลี่ย 384 คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร บัคคิงแฮมเชอร์มีเขตแดนติดกับนครลอนดอนและปริมณฑล, มณฑลบาร์คเชอร์, มณฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์, มณฑลนอร์ทแธมป์ตันเชอร์, มณฑลเบดฟอร์ดเชอร์ และมณฑลฮาร์ทฟอร์ดเชอร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและบักกิงแฮมเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2149

ทธศักราช 2149 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2149 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2163

ทธศักราช 2163 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2163 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2192

ทธศักราช 2192 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2192 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2194

ทธศักราช 2194 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2194 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2201

ทธศักราช 2201 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2201 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2250

ทธศักราช 2250 ใกล้เคียงกั..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2250 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2326

ทธศักราช 2326 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2326 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800

งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระราชบัญญัติสห..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ (Edward III of England; Édouard III d'Angleterre; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1377) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์แพลนทาเจเน็ทของราชอาณาจักรอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1327 ถึงปี ค.ศ. 1377 พระองค์นับเป็นกษัตริย์อังกฤษผู้ประสบความสำเร็จที่สุดพระองค์หนึ่งในยุคกลาง โดยทรงฟื้นฟูความมั่นคงของราชบัลลังก์ หลังจากที่เสื่อมโทรมลงไปมากในรัชสมัยของพระราชบิดา พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 และทรงเป็นผู้ที่ทำให้ราชอาณาจักรอังกฤษเป็นรัฐที่มีอำนาจทางทหารมากที่สุดในยุโรป และเป็นรัชสมัยที่มีการวิวัฒนาการทางการปกครองทางนิติบัญญัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิวัฒนาการของระบบรัฐสภา แต่ในสมัยเดียวกันนี้พระองค์ก็ทรงต้องเผชิญกับความหายนะจากกาฬโรคระบาดในยุโรป พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงครองราชย์เป็นเวลานานถึง 50 ปีซึ่งไม่มีพระเจ้าแผ่นดินองค์ใดที่ครองราชย์นานเช่นนั้นตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าเฮนรีที่ 2 และต่อจากนั้นก็ไม่มีพระองค์ใดจนมาถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ในฐานะกษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุได้เพียง 14 พรรษา หลังจากที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 พระราชบิดา ทรงถูกถอดจากการเป็นกษัตริย์ เมื่อพระชนมายุได้ 17 พรรษา พระองค์ก็ทรงเป็นผู้นำในรัฐประหารโค่นล้มโรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลแห่งมาร์ชที่ 1 ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และทรงเริ่มครองราชย์ด้วยพระองค์เอง หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ก็ทรงประกาศอ้างสิทธิ์ของพระองค์ว่าเป็นผู้สืบทอดอันชอบธรรมต่อราชบัลลังก์ฝรั่งเศสในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

กล้วย

กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลำต้น ออกดอกที่ปลายลำต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืชบางชนิดมีลำต้นคล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทำนองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น กล้วยพัด (Ravenala madagascariensis) ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่น ที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกสหราชอาณาจักร

กองทัพบกสหราชอาณาจักร (British Army) เป็นกองกำลังภาคพื้นดินที่สำคัญของสหราชอาณาจักรซึ่งดูแลและควบคุมโดยกองทัพสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและกองทัพบกสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสหราชอาณาจักร

กองทัพบริเตน (British Armed Forces) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพในสมเด็จฯ (Her Majesty's Armed Forces) และ บ้างเรียกว่า กองทัพในพระองค์ (Armed Forces of the Crown) เป็นกองทัพของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ กองทัพนี้ประกอบด้วยหน่วยที่แต่งเครื่องแบบอาชีพสามเหล่า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและกองทัพสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเครือจักรภพ

กีฬาเครือจักรภพ (Commonwealth Games) เป็นการแข่งขันกีฬาที่จัดขึ้นในกลุ่มประเทศเครือจักรภพทุก 4 ปี ดูแลการจัดแข่งขันโดย สหพันธ์กีฬาเครือจักรภพ (Commonwealth Games Federation; CGF) ซึ่งควบคุมกำหนดการแข่งขัน และคัดเลือกเมืองเจ้าภาพ จากเมืองในประเทศเครือจักรภพที่เสนอชื่อ การแข่งขันนี้มีชื่อเดิมว่า กีฬาเครือจักรวรรดิอังกฤษ จัดขึ้นเป็นครั้งแรก ที่เมืองแฮมิลตัน รัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 16 – 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและกีฬาเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มังกร

มังกร มังกร (dragon; จากdraco) เป็นสัตว์วิเศษที่รู้จักกันในวรรณคดีของจีนและตะวันตก แม้จะใช้คำว่ามังกร (dragon) เหมือนกัน แต่มังกรของจีนและตะวันตกนั้นสื่อถึงสัตว์ต่างชนิดกัน มังกรของจีนมีรูปร่างลักษณะจัดอยู่ในประเภทสัตว์เลื้อยคลานหรืองู ไม่มีปีก แต่สามารถบินไปในอากาศได้ ส่วนมังกรของตะวันตกจะมีขา มีปีกและสามารถพ่นไฟได้ ในตำนานยุโรป มังกรเป็นสัตว์อันตรายและน่าสะพรึงกลัวสำหรับมนุษย์ มังกรจึงเป็นศัตรูตัวฉกาจของเหล่าวีรบุรุษทั้งหลาย การฆ่ามังกรและขึ้นเถลิงราชย์เป็นกษัตร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและมังกร · ดูเพิ่มเติม »

ยอร์กเชอร์

อร์กเชอร์ (Yorkshire) เป็นเทศมณฑลในประวัติศาสตร์อังกฤษที่ตั้งอยู่ทางเหนือของอังกฤษและเป็นเทศมณฑลที่ใหญ่ที่สุดในอังกฤษ เพราะความที่มีขนาดใหญ่ยอร์กเชอร์ก็ต้องผ่านการปฏิรูปหลายครั้ง แต่โดยทั่วไปแล้วก็เป็นอาณาบริเวณที่มีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและยอร์กเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุครัฐในอารักขา

รัฐในอารักขา (Protectorate) เป็นช่วงสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์เครือจักรภพอังกฤษซึ่งดินแดนอังกฤษและเวลส์, ไอร์แลนด์, และสกอตแลนด์ มีสถานะเป็นสาธารณรัฐ และมีผู้ปกครองเรียกว่า "เจ้าผู้อารักขา" (Lord Protector) เริ่มขึ้นใน..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและยุครัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่า

หภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (Union of European Football Associations) หรือ ยูฟ่า (UEFA; ในต่างประเทศยกเว้นประเทศไทย เรียกว่า ยูเอฟา หรือ อูเอฟา) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปยุโรป จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล ยูฟ่าเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ยูฟ่าก่อตั้งเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่เมืองบาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและยูฟ่า · ดูเพิ่มเติม »

ยูเนียนแจ็ก

งสหภาพ (Union Flag) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ยูเนียนแจ็ก (Union Jack) เป็นธงชาติสหราชอาณาจักร ทั้งยังได้รับการใช้อย่างเป็นทางการและกึ่งทางการในรัฐสมาชิกเครือจักรภพบางรัฐ เช่น ในประเทศแคนาดาที่ซึ่งธงนี้มีนามตามกฎหมายว่า "ราชธวัชสหภาพ" (Royal Union Flag) ธงสหภาพยังใช้อย่างเป็นทางการในดินแดนโพ้นทะเลบางดินแดนของอังกฤษ ทั้งยังปรากฏในธงของบางประเทศซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นอังกฤษด้วย ธงสหภาพมีกำเนิดย้อนหลังไปถึงปี 1603 เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ เสวยราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ เป็นอันรวมแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์เป็นสหภาพหนึ่งเดียว กระนั้น แต่ละรัฐยังคงดำรงเอกราชอยู่มิได้ขึ้นแก่กัน วันที่ 12 เมษายน 1606 จึงมีการตราพระราชกฤษฎีกาให้มีธงใหม่เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ระหว่างประเทศอังกฤษและประเทศสกอตแลนด์ พระราชกฤษฎีกานี้ให้รวมธงอังกฤษ (ธงพื้นขาวมีกางเขนสีชาดซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญจอร์จ" อยู่ตรงกลาง) เข้ากับธงสกอตแลนด์ (ธงพื้นน้ำเงินมีกางเขนไขว้สีขาวซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญแอนดรูว" อยู่ตรงกลาง) เรียกว่า "ธงแห่งบริเตนใหญ่" ซึ่งก็คือ ธงผืนแรกแห่งสหภาพ รูปแบบปัจจุบันของธงสหภาพมีขึ้นในสหภาพบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เมื่อปี 1801, from the Flag Institute site.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและยูเนียนแจ็ก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมะละกา

มะละกา (Melaka; ยาวี: ملاك; Malacca) เป็นรัฐทางตอนใต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผู้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผู้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตกบนช่องแคบมะละกามากว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมโปรตุเกส ดัตช์ และมลายู ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกาจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและรัฐมะละกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปีนัง

ปูเลาปีนัง (Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมลายูรุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวล.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและรัฐปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิวดอร์

ราชวงศ์ทิวดอร์ (อังกฤษ: Tudor, เวลส์: Tudur) เป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเวลส์ มีกษัตริย์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2028 ถึง พ.ศ. 2146 กษัตริย์สามในหกพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7, สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 เป็นกษัตริย์องค์สำคัญที่ทรงเปลี่ยนแปลงอังกฤษจากชาติที่ค่อนข้างอ่อนแอเมื่อเทียบกับชาติอื่นๆ ในยุคกลางมาสู่ชาติมหาอำนาจในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ซึ่งในศตวรรษต่อมาอังกฤษกลายมาเป็นชาติที่มีอิทธิพลอย่างมากในโลก สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์อังกฤษที่มีชื่อเสียงมากที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและราชวงศ์ทิวดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิรัก

ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย

ราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย (ภาษาอังกฤษ: Northumbria หรือ Northhumbria) เป็นชื่อของอาณาจักรยุคกลางของชาวแองเกิลที่ปัจจุบันตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอังกฤษ และทางใต้ของสกอตแลนด์ และเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ที่เมื่อรวมกับอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนกลายเป็นอังกฤษ ชื่อ “นอร์ทธัมเบรีย” เป็นนัยยะว่าเขตแดนทางใต้ของอาณาจักรปากแม่น้ำฮัมเบอร์ นอร์ทธัมเบรียก่อตั้งกลางบริเตนใหญ่ในสมัยแองโกล-แซ็กซอน เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 อาณาจักรเบอร์นิเซีย และอาณาจักรไดรารวมตัวกันเป็นอาณาจักรเดียว (ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 เฮนรี ฮันทิงดัน (Henry of Huntingdon) บรรยายว่านอร์ทธัมเบรียเป็นอาณาจักรหนึ่งในเจ็ดอาณาจักรของอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอน) ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดเขตแดนของราชอาณาจักรทางใต้จรดปากแม่น้ำฮัมเบอร์, ไปถึงแม่น้ำเมอร์ซีย์ และเฟิร์ธออฟฟอร์ธ (Firth of Forth) (โดยประมาณ จากเชฟฟิลด์ ไปรังคอร์ ไปเอดินบะระ) - และมีหลักฐานว่าเคยมีดินแดนมากกว่านั้น ต่อมานอร์ทธัมเบรียเสียดินแดนทางใต้แก่บริเวณเดนลอว์(Danelaw) ทางด้านเหนือเดิมเป็นอาณาจักรแต่ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรเดนมาร์กที่มีฐานะเท่าเทียมกับเป็นอาณาจักรเอิร์ลและมีฐานะเช่นนั้นเมื่ออังกฤษรวมตัวกันโดยการนำของเวสเซ็กซ์ อาณาจักรเอิร์ลมีเขตแดนติดกับแม่น้ำทีส์ทางด้านใต้และแม่น้ำทวีดทางด้านเหนือ (โดยทั่วไปคล้ายคลึงกับตะวันออกเฉียงเหนืออังกฤษ (North East England) ปัจจุบัน) ดินแดนบริเวณเป็นบริเวณที่พิพาตระหว่างอังกฤษและสกอตแลนด์ แต่อาณาจักรเอิร์ลแห่งนอร์ทธัมเบรียก็ได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของของอังกฤษในสนธิสัญญายอร์คระหว่างอังกฤษกับสกอตแลนด์ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรนอร์ทัมเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวสเซกซ์

ราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ (Wessex หรือ Westseaxe (ภาษาอังกฤษเก่า)) เวสเซ็กซ์ หรือ “แซ็กซอนตะวันตก” เป็นอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนของแซ็กซอนตะวันตกทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 6 จนอังกฤษรวมตัวกันเป็นประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ภายใต้ราชวงศ์เวสเซ็กซ์ หลังจากสมัยสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราชเวสเซ็กซ์ก็มีฐานะเป็นอาณาจักรเอิร์ล (Earldom) ตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและราชนาวี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอังกฤษ

หน้านี้คือรายการธงต่างๆ ที่มีการใช้อยู่ในประเทศอังกฤษ สำหรับธงอื่นๆ ที่มีการใช้ในอังกฤษและสหราชอาณาจักร ดูเพิ่มเติมที่ ธงในสหราชอาณาจักร สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศไอร์แลนด์

ทความนี้ว่าด้วยธงต่าง ๆ ในประเทศไอร์แลนด์โดยสังเขป สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับธงชาติ สามารถศึกษาได้จากบทความธงชาติไอร์แลน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช

ักราช (อังกฤษ: era) ช่วงเวลาที่จัดขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียกของบุคคลทั่วไป.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและศักราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ

หพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (Fédération Internationale de Football Association) หรือ ฟีฟ่า (FIFA) เป็นองค์กรที่ดำเนินการในกีฬาฟุตบอลระหว่างประเทศ และเป็นองค์กรกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกปัจจุบัน สำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพแอฟริกาใต้

Union of South Africa Red Ensign (1912–1928) Union of South Africa Blue Ensign (1912–1928) สหภาพแอฟริกาใต้ คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ในยุคของการถือผิว.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและสหภาพแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์ดอกลิลลี

ตราเฟลอร์เดอลีส์ หรือตราดอกลิลลี สัญลักษณ์ดอกลิลลี หรือ เฟลอร์เดอลี (Fleur-de-lis) เป็นสัญลักษณ์ที่แปลงมาจากดอกลิลลีหรือดอกไอริสที่ใช้ในการตกแต่งและการเป็นสัญลักษณ์ หรืออาจจะเป็นได้ทั้งสัญลักษณ์ทางการเมือง, ทางการสืบเชื้อสาย, ทางศิลปะ, ทางการเป็นตรา และการเป็นสัญลักษณ์ในขณะเดียวกัน โดยเฉพาะในการใช้เป็นตราประจำตระกูล ขณะที่สัญลักษณ์ดอกลิลลีเป็นที่ใช้กันโดยทั่วไปในยุโรปในตราอาร์มและธงมาเป็นเวลาหลายร้อยปี แต่สัญลักษณ์ดอกลิลลีมักจะเป็นสัญลักษณ์ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในทางประวัติศาสตร์ นอกจากนั้นการใช้สัญลักษณ์นี้ก็ยังปรากฏในตราของพระมหากษัตริย์สเปน และในตราของแกรนด์ดยุคแห่งลักเซ็มเบิร์ก และของสมาชิกในราชวงศ์บูร์บอง สัญลักษณ์ดอกลิลลีเป็นตราที่ใช้กันตลอดมาของสัญลักษณ์ของความเป็นฝรั่งเศสและปรากฏบนแสตมป์ แต่ก็ไม่ได้รับให้ใช้เป็นสัญลักษณ์โดยสาธารณรัฐฝรั่งเศส ในทวีปอเมริกาเหนือสัญลักษณ์ดอกลิลลีมักจะใช้กับบริเวณที่เดิมเป็นที่ตั้งถิ่นฐานโดยชาวฝรั่งเศสเช่นในรัฐควิเบกในแคนาดา และรัฐลุยเซียนาในสหรัฐอเมริกา และในจังหวัดที่พูดภาษาฝรั่งเศสในแคนาดา สัญลักษณ์ดอกลิลลีใช้เป็นสัญลักษณ์ของเมืองฟลอเรนซ์และในชลีเร็นในสวิตเซอร์แลนด์ ในสหราชอาณาจักรสัญลักษณ์ดอกลิลลีปรากฏในตราอาร์มอย่างเป็นทางการของนอร์รอยและอัลสเตอร์เป็นเวลาหลายร้อยปี.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและสัญลักษณ์ดอกลิลลี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์

อาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์ (Westminster Cathedral) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่าอาสนวิหารพระโลหิตศักดิ์สิทธิ์ (Cathedral of the Most Precious Blood) ตั้งอยู่ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์แม่ของคริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกในอังกฤษและเวลส์ และยังเป็นโบสถ์มหานคร รวมถึงเป็นอาสนวิหารประจำตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งเวสต์มินสเตอร์ อาสนวิหารตั้งอยู่ที่ SW1 ถนนวิกตอเรีย นครเวสต์มินสเตอร์ โดยเป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่ใหญ่ที่สุดในอังกฤษและเวลส์ ซึ่งชื่อของอาสนวิหารนี้อาจทำให้หลายคนสับสนกับเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ของคริสตจักรแห่งอังกฤษ อาร์ชบิชอปแห่งเวสต์มินสเตอร์องค์ปัจจุบัน คือ อาร์ชบิชอปวินเซนต์ นิโคล.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและอาสนวิหารเวสต์มินสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมสิงคโปร์

อาณานิคมสิงคโปร์ หมายถึง ประวัติศาสตร์สิงคโปร์หลังปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมทรานส์วาล

ทรานส์วาล (Transvaal) (แอฟริคานส์ แปลว่า เหนือลุ่มแม่น้ำวาล) เป็นชื่อของดินแดนแถบเหนือประเทศแอฟริกาใต้ในปัจจุบัน ซึ่งเคยเป็นเขตดินแดนอิสระของผู้สืบเชื้อสายของผู้ตั้งถิ่นฐานชาวดัตช์ หรือเรียกกันว่า "ชาวบูร์" (Boer) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ (South African Republic) ซึ่งก่อตั้งในปีค.ศ. 1856 ท่ามกลางความพยายามของชาวอังกฤษพยายามที่จะยึดครองมีอำนาจเหนือดินแดนแถบนี้ ภายหลังสงครามอังกฤษ-บูร์ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมทรานส์วาล · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมไนจีเรีย

อาณานิคม และ รัฐในอารักขาไนจีเรีย เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษในแอฟริกา ตะวันตก ตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 และ ศตวรรษที่ 20 เริ่มแรกนั้นได้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการค้าทาส ค.ศ. 1807 เพื่อควบคุมดูแลการค้าทาส ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการจัดระเบียบการปกครอง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมเอเดน

อาณานิคมเอเดน (Colony of Aden مستعمرة عدن) เป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมเอเดน · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมเคนยา

อาณานิคม และ รัฐในอารักขาเคนยา เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ ในแอฟริกาตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศ

รื่องเทศสองชนิดจากผลจันทน์เทศ “เม็ดจันทน์เทศ” (เมล็ด) และ “ดอกจันทน์เทศ” (สายสีแดง) เมล็ดจันทน์เทศ ขวดใส่รกจันทน์เทศ ต้นจันทน์เทศหอมในกัว ผลจันทน์เทศในอินเดีย จันทน์เทศ เป็นเครื่องเทศที่ได้จากพืชในวงศ์ Myristicaceae สามชนิด คือจันทน์เทศสามัญหรือจันทน์เทศหอม (M. fragrans) ที่มาจากหมู่เกาะบันดาในหมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย หรือหมู่เกาะเครื่องเทศที่เป็นแหล่งผลิตจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 และมีปลูกในหลายประเทศทั่วโลก เช่น เกาะปีนังในมาเลเซีย และที่แคริบเบียนโดยเฉพาะที่เกรเนดา และเกระละทางตอนใต้ของอินเดีย อีกสองชนิดที่ใช้ผลิตจันทน์เทศเช่นกันแต่มีความสำคัญน้อยกว่าคือ จันทน์เทศปาปัว (M. argentea) จากนิวกินี และจันทน์เทศบอมเบย์ (M. malabarica) จากอินเดีย ต้นจันทน์เทศมีความสำคัญสำหรับการผลิตเครื่องเทศสองอย่าง อย่างหนึ่งคือ “เม็ดจันทน์เทศ” (nutmeg) มาจากตัวเมล็ดของต้นที่มีลักษณะเป็นรูปไข่ขนาดยาวประมาณ 20 ถึง 30 มิลิเมตร (1 นิ้ว) กว้าง 15 ถึง 18 มิลิเมตร (¾ นิ้ว) และหนัก 5 ถึง 10 กรัม (¼ ถึง ½ ออนซ์) เมื่อแห้งและ “ดอกจันทน์เทศ” (mace) คือส่วนที่เป็นรกหุ้มเมล็ด เป็นเส้นสายสีออกแดงที่งอกคลุมอยู่รอบเมล็ดรอบเมล็ด เมล็ดและรกจันทน์เทศใช้ปรุงแต่งรสอาหาร ดับคาวจากเนื้อสัตว์ เครื่องเทศสองชนิดนี้ยังเป็นเครื่องเทศที่มีราคาสูงในปัจจุบัน เช่นในสหราชอาณาจักรอังกฤษเม็ดจันทน์เทศเม็ดหนึ่งตกประมาณ.50-1 ปอนด์ต่อเม็ด และ ดอกจันทน์เทศขายเป็นขวด ๆ ละประมาณ 2.50-3 ปอนด์แต่ละขวดทำมาจากเมล็ดสามสี่เมล็ด (ค.ศ. 2009) นอกจากนั้นจันทน์เทศใช้ผลิตสินค้าประเภทอื่นด้วย เช่น น้ำมันจันทน์เทศ ใช้แต่งกลิ่นสบู่ ผงซักฟอก ทำน้ำหอม ในอินโดนีเซียนำไปทำแยม เยลลี่ ลูกกวาด ในยุโรปใช้ปรุงรสในเค้กน้ำผึ้ง เค้กผลไม้ ทางภาคใต้ของไทยนำผลมาทำแช่อิ่ม หยี หรือจันทน์เทศสามรสนิดดา หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและจันทน์เทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธง

ง เป็นวัตถุใช้เป็นเครื่องหมายเพื่อสื่อสาร เช่น บอกชาติ ตำแหน่งในราชการ โดยมีกำหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ทัพนายกอง ใช้เป็นเครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกที่ตั้งกองบรรเทาทุกข์, ธงขาว บอกความจำนนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้, ธงเหลือง บอกเป็นเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย, ธงแดง บอกเหตุการณ์อันเป็นภัย ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคารการค้า ใช้เป็นอาณัติสัญญาณ ใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ในงานรื่นเริงหรือถือเข้ากระบวนแห่เป็นต้น ส่วนใหญ่ธงจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่ยังมีธงสามเหลี่ยมหรือธงรูปร่างแบบอื่นต่างกันไป.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธง · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

งชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ซึ่งเป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร มีลักษณะทำนองเดียวกันกับธงของบรรดาอาณานิคมต่างๆ ของสหราชอาณาจักร ซึ่งใช้ธงบลูเอนไซน์หรือธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักรเป็นพื้นฐานในการออกแบบ ลักษณะของธงนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นรูปธงชาติสหราชอาณาจักร พื้นธงเป็นลายระลอกคลื่นสีขาวสลับสีฟ้ารวมกับ 12 แถบ แถบสีละ 6 แถบ หมายถึงมหาสมุทรอินเดีย บนพื้นธงทางด้านปลายธงนั้นมีรูปต้นปาล์มอันเป็นพืชเขตร้อนที่ปรากฏในท้องถิ่น ซ้อนทับด้วยมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพแห่งอังกฤษ) สัญลักษณ์ทั้ง 2 อย่างนี้เป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในภาพตราแผ่นดินประจำอาณานิคม เฉพาะรูปมงกุฎนั้น เมื่อแรกใช้ธงปรากฏว่ารูปมงกุฎมีเพียงสีเหลืองสีเดียว ต่อมาจึงได้เปลี่ยนรูปมงกุฎสีเหลืองพื้นแดงในปี ค.ศ. 2003 ธงดังกล่าวนี้สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ปีแห่งการสถาปนาอาณานิคมแห่งนี้.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี

งชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี ธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาว กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ในพื้นธงสีขาวนั้นประดับด้วยภาพตราราชการของบริติชแอนตาร์กติกเทอร์ริทอรี ธงนี้เป็นธงใช้สำหรับดินแดน สถานีวิจัย และธงสำหรับสำนักงานและศูนย์บัญชาการการสำรวจเขตบริติชแอนตาร์กติกเป็นหลัก สำหรับเรือของคณะสำรวจจะใช้ธงลักษณะคล้ายกันแต่มีพื้นสีน้ำเงินตามอย่างธงเรือราชการของสหราชอาณาจักร ส่วนผู้ตรวจการประจำดินแดนแห่งนี้ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรประดับด้วยภาพตราราชการประจำดินแดนที่กลางธงเป็นเครื่องหมายสำคัญ รัฐบาลสหราชอาณาจักรกำหนดให้มีธงนี้ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2506 หลังมีการจัดตั้งเขตการปกครองแห่งนี้ขึ้นเพียง 1 ปี โดยก่อนหน้านี้เขตการปกครองดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ จึงใช้ธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์เป็นสัญลักษณ์ ไฟล์:Government Ensign of the British Antarctic Territory.svg|ธงเรือราชการสำหรับบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี ไฟล์:Flag of the Commissioner of the British Antarctic Territory.svg|ธงผู้ตรวจการแห่งบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี (Commissioner of the British Antarctic Territory).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบาร์เบโดส

งชาติบาร์เบโดส เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 อันเป็นวันประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร ลักษณะสำคัญของธงนี้ประกอบด้วยแถบสีแนวตั้ง 3 แถบ เรียงเป็นแถบสีน้ำเงินเข้ม 2 แถบ ขนาบแถบสีทอง กลางแถบสีเหลืองมีรูปสามง่ามสีดำ ผู้ออกแบบธงชาติบาร์เบโดสคือ นายแกรนท์ลี ดับเบิลยู.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบาฮามาส

งชาติบาฮามาส เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ​พื้นธงภายในแบ่งเป็นแถบแนวนอน 3 แถบ มีแถบสีเหลืองอยู่ตรงกลาง แถบสีฟ้าขนาบที่ตอนบนและตอนล่าง ที่ด้านคันธงมีรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสีดำ ปลายชี้ไปทางด้านปลายธง ธงนี้เป็นแบบธงที่ชนะเลิศการประกวดแบบธงชาติบาฮามาส และประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2516 อันเป็นวันที่ประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร พื้นสีดำ หมายถึงเอกภาพและความเด็ดเดี่ยวของประชาชนชาวบาฮามาส ผู้ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากชาวแอฟริกา รูปสามเหลี่ยมที่หันปลายไปยังแถบสีทั้งสามแถบ หมายถึง ขอบเขตของทรัพยากรธรรมชาติในประเทศ ได้แก่ท้องทะเล ซึ่งแสดงด้วยแถบสีฟ้า 2 แถบ และแสงอาทิตย์ ซึ่งแสดงด้วยแถบสีทองที่ตอนกลาง ธงราชนาวีสำหรับกองทัพเรือบาฮามาสนั้น มีลักษณะคล้ายกับธงราชนาวีสหราชอาณาจักร กล่าวคือ เป็นธงพื้นสีขาวมีรูปกางเขนสีแดง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติ ส่วนธงเรือช่วยรบ มีลักษณะอย่างเดียวกันกับธงราชนาวีบาฮามาส แต่เปลี่ยนจากกางเขนสีแดงเป็นสีนำ้เงิน และ ธงสำหรับเรือพลเรือนนั้น จะใช้พื้ธงสีกลับกัน คือใช้ธงพื้นแดงมีรูปกางเขนขาวประกอบเข้ากับธงชาติฃ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติบาฮามาส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติพม่า

ีเชิญธงชาติใหม่ของสาธารณรัฐสหภาพพม่าขึ้นสู่ยอดเสา ที่หน้าอาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง ประเทศพม่า, 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 (ภาพข่าวจากสำนักข่าวอิรวดี) ธงชาติสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสีเหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ ธงนี้ได้เริ่มชักขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในเวลา 15.00 น. ที่กรุงเนปยีดอ และในเวลา 15.33 น. ที่อาคารศาลาว่าการนครย่างกุ้ง (อ้างอิงตามเวลาท้องถิ่น) อันเป็นเวลา 17 วัน ก่อนหน้าการเลือกตั้งทั่วไปของพม่า ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย สีเขียวหมายถึงสันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า สีเหลืองหมายถึงความสามัคคี สีแดงหมายถึงความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด ดาวสีขาวหมายถึงสหภาพอันมั่นคงเป็นเอก.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกายอานา

งชาติสาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา หรือ ธงหัวลูกศรทอง (The Golden Arrowhead) เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเขียว ลักษณะภายในธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีแดงขอบสีดำซ้อนกับรูปสามเหลี่ยมสีทองขอบสีขาว ซึ่งรูปทั้งหมดนี้อยู่บนฐานเดียวกันที่ด้านติดคันธง ปลายรูปสามเหลี่ยมเหล่านี้ชี้ไปทางด้านปลายธง ธงนี้ออกแบบโดย วิทนีย์ สมิธ นักธัชวิทยาชาวอเมริกัน (โดยแบบเดิมที่สมิธได้ออกแบบไว้ ไม่มีเส้นขอบสามเหลี่ยมสีดำและสีทองอยู่ด้วย) และได้ประกาศใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 ในธงนี้ สีเขียวหมายถึงการเกษตรกรรมและป่าไม้ในกายอานา สีขาวหมายถึงแม่น้ำและผืนน้ำแห่งต่างๆ สีทองหมายถึงแร่ทองคำอันแป็นทรัพยากรสำคัญ สีดำหมายถึงความอดทน และสีแดงหมายถึงความกระตือรือล้นและความขยันขันแข็งในการสร้างชาต.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติกายอานา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกานา

งชาติกานา เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็น 3 ส่วนตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน แถบบนพื้นสีแดง แถบกลางสีทอง และแถบล่างสีเขียว ซึ่งเป็นสีพันธมิตรแอฟริกาตามแบบที่ใช้ในธงชาติเอธิโอเปีย กลางแถบสีเหลืองนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีดำ ธงนี้นับเป็นธงชาติในทวีปแอฟริกาธงแรก ที่ออกแบบโดยใช้สีตามธงชาติเอธิโอเปีย ออกแบบโดยนางธีโอโดเซีย โอโกห์ เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2500 หลังจากกานาได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร ความหมายของสีในธงชาติ คือ สีแดง หมายถึงการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชของชาวกานา สีทอง หมายถึงความมั่งคั่งของทรัพยากรแร่ธาตุต่างๆ สีเขียว หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ และดาวสีดำดวงเดียว หมายถึงดาวที่ส่องนำทางไปสู่เสรีภาพของชาวแอฟริกาทั้งปวง ในช่วงปี พ.ศ. 2502 กานาได้เข้าร่วมกับกินีจัดตั้งเป็นสหรัฐแอฟริกา และ ในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน มาลี ซึ่งดาวดำบนธงชาติในช่วงนั้นมี 2 ดวง และ 3 ดวงตามลำดับ จนมาถึงปี พ.ศ. 2505 สหรัฐแอฟริกาได้ล่มสลายเนื่องจากความขัดแย้งทางการเมืองภายใน และ จากนั้นในปี พ.ศ. 2507 - 2509 ธงนี้ได้มีการเปลี่ยนแถบตรงกลางจากสีทองเป็นสีขาว ก่อนที่จะกลับมาใช้ธงแบบเดิมอีกครั้งจนถึงปัจจุบัน ธรรมเนียมการใช้ธงในประเทศกานานั้น เห็นได้ชัดว่าได้รับอิทธิพลจากประเทศสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นประเทศเจ้าอาณานิคมเดิม ยกตัวอย่างเช่น ธงนาวีกานา ซึ่งใช้ในกองทัพเรือกานานั้น เป็นธงพื้นสีขาวมีกากบาทสีแดงอยู่กลางธง ที่มุมธงด้านคันธงนั้นมีธงชาติกานา ในลักษณะอย่างเดียวกันกับธงแสดงสัญชาติสีขาว ส่วนธงเรือเอกชนกานานั้น ใช้ธงพื้นสีแดง ที่มุมธงด้านคันธงมีธงชาติกานามีขอบสีดำ ลักษณะดังกล่าวนี้เป็นการเลียนแบบจากธงแสดงสัญชาติสีแดง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติกานา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมอลตา

งชาติสาธารณรัฐมอลตา เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งตามแนวตั้ง ครึ่งซ้ายเป็นพื้นสีขาว ครึ่งขวาเป็นพื้นสีแดง ที่มุมซ้ายบนของพื้นสีขาวมีภาพดวงตราเครื่องราชอิสรยาภรณ์จอร์จครอส พื้นสีขาวและสีแดงในธงนี้มาจากสีตราแผ่นดินของมอลตา ซึ่งมีที่มาจากสีธงที่เคานท์โรเจอร์แห่งซิซีลี (Count Roger of Sicily) กำหนดให้เป็นธงของมอลตาในปี พ.ศ. 1634 โดยธงนั้นเป็นธงลายตราหมากรุกสีขาวสลับแดง อย่างไรก็ตาม หลายคนก็กล่าวว่าที่มานี้เป็นเพียงตำนานที่ได้รับการต่อเติมเสริมแต่งมาตามกาลเวลาเท่านั้น ส่วนตราเครื่องราชอิสรยาภรณ์จอร์จครอสที่มุมธงด้านคันธงนั้น หมายถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร ได้พระราชทานแก่ชาวมอลตาทั้งมวลเพื่อแสดงถึงความกล้าหาญจากการเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2486 นับได้ว่ามอลตาเป็นชาติเดียวที่มีภาพดวงตราอิสริยาภรณ์ต่างประเทศประกอบในธงชาติ ซึ่งในที่นี้ได้แก่สหราชอาณาจักร ธงชาติมอลตาที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2507 อันเป็นวันประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร สำหรับธงเรือพลเรือนของมลอตานั้นกำหนดให้ใช้ธงอีกแบบหนึ่งซึ่งต่างจากธงชาติโดยสิ้นเชิง โดยธงนี้เป็นสีแดงมีขอบสีขาว ที่กลางธงมีเครื่องหมายกางเขนมอลต.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมอนต์เซอร์รัต

งชาติมอนต์เซอร์รัต ใช้ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร (Blue Ensign) มีตราแผ่นดินอยู่ที่ด้านชายธง เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ตราแผ่นดินนั้นเป็นรูปหญิงสาวพรหมจารีย์ดีดพิณยืนเกาะไม้กางเขน บนพื้นโล่รูปทะเล โดยมือขวาเกาะไม้กางเขน และมือซ้ายดีดพิณ ตรามีความหมายถึง หญิงพรหมจารีย์ที่ถูกส่งมาจากไอร์แลนด์โดย โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ มีหมู่บ้านที่ตั้งบนเกาะอยู่ 2 แห่ง คือ คินเซลล์และแฮร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติมอนต์เซอร์รัต · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาลาวี

งชาติมาลาวี เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่ไนแอซาแลนด์ประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติยิบรอลตาร์

งชาติยิบรอลตาร์ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ขยายแบบมาจากภาพตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ สัดส่วนธงนั้นกว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ตอนบนเป็นพื้นสีขาวแบ่งตามแนวนอน กว้าง 2 ใน 3 ของความกว้างธงทั้งหมด กลางธงมีรูปปราสาทสามหอคอยสีแดง แต่ละหอคอยนั้นมีประตูและหน้าต่างอย่างละ 1 ช่อง ตอนล่างของธงเป็นแถบสีแดง กว้าง 1 ใน 3 ของความกว้างธงทั้งหมด กลางแถบสีนี้มีรูปกุญแจสีเหลืองซึ่งห้อยต่อมาจากฐานหอคอยสีแดงหอกลาง สมเด็จพระราชินีอิสซาเบลลาแห่งอาณาจักรคาสติลได้มีพระบรมราชเสาวนีย์ให้ใช้ธงนี้เป็นธงประจำดินแดนมาตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2045 แต่ได้ประกาศเป็นธงชาติตามกฎหมายของสหราชอาณาจักรเมื่อปี พ.ศ. 2525 ธงชาติยิบรอลตาร์นี้มีความแตกต่างจากธงชาติของบรรดาดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตรงที่ไม่ได้ใช้ธงพื้นน้ำเงินแบบธงเรือสหราชอาณาจักรเป็นธงชาติ แต่ใช้เป็นเพียงแค่ธงของรัฐบาลเท่านั้น ความหมายของสัญลักษณ์ในธงนี้เกี่ยวข้องกับความเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ของยิบรอลตาร์ กล่าวคือ รูปปราสาทสามหอคอยหมายถึงป้อมปราการแห่งยิบรอลตาร์ ส่วนกุญแจแสดงถึงความสำคัญของป้อมในฐานะที่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่พื้นที่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติยูกันดา

งชาติยูกันดา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในประกอบด้วยแถบแบ่งตามแนวนอน 6 แถบ เรียงเป็นแถบสีดำ-เหลือง-แดง-ดำ-เหลือง-แดง ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางธงมีวงกลมสีขาวความกว้างเท่ากับ 2 ใน 6 ของความกว้างธง ภายในมีรูปนกกระเรียนลำตัวสีเทาดำ หางสีแดง หงอนสีแดง-เหลือง-แดง ซึ่งเป็นนกกระเรียนชนิดที่เรียกว่า Grey Crowned Crane หรือนกกระเรียนมงกุฎเทา นกนี้หันหน้าไปทางด้านคันธง ธงนี้ออกแบบโดยนายเกรซ อิบิงกิรา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของยูกันดาในขณะนั้น และเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2515 อันเป็นวันที่ประเทศได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร สีในธงชาติทั้งสามสี (ดำ-เหลือง-แดง) มาจากสีของธงประจำพรรคคองเกรสประชาชนยูกันดา (Uganda People's Congress) มีความหมายถึงประชาชนชาวแอฟริกา (แทนด้วยสีดำ) แสงอาทิตย์ที่สาดส่องเหนือแผ่นดิน (แทนด้วยสีเหลือง) และภราดรภาพของชาวแอฟริกา (แทนด้วยสีแดง ซึ่งเป็นสีแห่งเลือดที่เชื่องโยงชาวแอฟริกาไว้ด้วยกัน) ส่วนรูปนกกระเรียนนั้นเป็นรูปสัญลักษณ์ถึงธรรมชาติอันอ่อนโยนของยูกันดา ซึ่งใช้เป็นสัญลักษณ์แทนประเทศยูกันดามาตั้งแต่สมัยอาณานิคม.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติยูกันดา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติศรีลังกา

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีทอง ภายในประกอบด้วยแถบสีเขียวและสีแสดแนวตั้งที่ด้านคันธง ส่วนด้านปลายธงเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงเลือดหมู ภายในมีรูปราชสีห์ยืน เท้าหน้าข้างหนึ่งถือดาบ ที่มุมสี่เหลี่ยมแต่ละมุมนั้นมีใบโพธิ์มุมละ 1 ใบ ธงนี้เรียกชืออีกอย่างว่า "ธงราชสิห์" ("Lion Flag") ธงนี้ใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2494 เมื่อประเทศศรีลังกายังใช้ชื่อว่ารัฐอธิราชซีลอน (Dominion of Ceylon) ภายใต้ความปกครองของสหราชอาณาจักรต่อมาจึงได้มีการแก้ไขให้เป็นธงแบบปัจจุบันเมื่อประเทศศรีลังกาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสกอตแลนด์

งชาติสกอตแลนด์ ใช้พื้นธงสีน้ำเงิน มีกากบาทสีขาว เรียกกากบาทนี้ว่า "ธงเซนต์แอนดรูว์" โดยธงนี้มีกำเนิดในศตวรรษที่ 11 และได้ประกาศใช้ธงเซนต์แอนดรู ในศตวรรษที่12 และ ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ได้ประกาศใช้สีน้ำเงินในแบบสีแพนโทน 300.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหพันธรัฐอินเดียตะวันตก

หพันธรัฐอินเดียตะวันตก เป็นอดีตรัฐอธิปไตยในภูมิภาคแคริบเบียน ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2501 - พ.ศ. 2505 ธงชาติของประเทศนี้มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ในพื้นธงมีริ้วคดสีขาวพาดตามแนวนอน ตรงกลางธงนั้นมีรูปวงกลมสีเหลืองทอง ความกว้างเท่ากับระยะขอบนอกสุดของริ้วคดสีขาวสองริ้วตอนใน รูปสัญลักษณ์ดังกล่าวนี้หมายถึงทะเลแคริบเบียนและดวงอาทิตย์ทีฉายแสงเหนือท้องทะเล ธงนี้ออกแบบโดย เอ็ดนา มาร์เลย์ (Edna Manley) คำบรรยายลักษณะของธงอย่างเป็นทางการ ปรากฏในวารสาร West Indies Gazette ดังนี้ คำว่าสีฟ้า (blue) ในเอกสารดังกล่าวนั้นมิได้ระบุว่าเป็นสีฟ้าแบบใด แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงสีฟ้าเข้มอย่างสีน้ำเงินในธงบลูเอนไซน์ (Blue Ensign) ของสหราชอาณาจักร สำเนาของภาพธงที่ยังคงหลงเหลืออยู่นั้นปรากฏว่าใช้สีฟ้าหลากหลายระดับทั้งสีอ่อนและสีแก่ ส่วนธงของกองทัพเรือ ใช้ธงเซนต์จอร์จ (ธงพื้นขาวมีรูปกากบาทแดง) มีรูปธงสหพันธรัฐที่มุมธงบนด้านคันธง เช่นเดียวกับธงราชนาวี วันที่กำหนดให้ประดับธงชาติได้แก่วันที่ 3 มกราคม (วันที่ระลึกแห่งการชักธงชาติบริเตนและธงชาติสหพันธรัฐ) วันที่ 23 กุมภาพันธ์ (วันสหพันธรัฐ) และวันที่ 22 เมษายน (วันที่ระลึกการเปิดประชุมรัฐสภาสหพันธรัฐ) อาคารต่างๆ ซึ่งมีเสาธงสองเสาจะต้องชักธงชาติสหราชอาณาจักรและธงชาติสหพันธรัฐไว้ร่วมกันในวันที่ระลึกและวันสหพันธรัฐ โดยธงชาติสหราชอาณาจักรจะต้องอยู่ทางด้านซ้ายเมื่อผู้ดูหันหน้าเข้าหาอาคาร สำหรับอาคารที่มีเสาธงเสาเดียวจะชักเพียงแต่ธงชาติสหราชอาณาจักรในวันที่ระลึกและวันสหพันธรั.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติสหพันธรัฐอินเดียตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด

งชาติหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด เป็นธงสหพันธรัฐอาณานิคมของหมู่เกาะลีเวิร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด

งชาติหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด เป็นธงสหพันธ์อาณานิคมของหมู่เกาะวินด์เวิร์ด มีลักษณะเป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน ที่ด้านปลายธงมีตราสหพันธรัฐ สหพันธ์อาณานิคมแห่งนี้ได้ประกาศใช้ตราอาณานิคมอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2446 สำหรับธงของผู้ว่าการแห่งบริติชวินด์เวิร์ดใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรมีภาพตราแผ่นดินประจำดินแดนเป็นเครื่องหมายสำคัญ สหพันธ์อาณานิคมแห่งหมู่เกาะวินด์เวิร์ดได้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนโพ้นทะเลอังกฤษเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2499 และยุบเลิกสหพันธ์เมื่อ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

23px ธงชาติบริติชเวอร์จิน สัดส่วนธง 1:2 23px ธงเรือพลเรือน สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นธงพื้นสีน้ำเงินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ในพื้นสีน้ำเงินนั้นมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นนักบุญอูร์ซุลลา (Saint Ursula) ถือตะเกียงล้อมด้วยตะเกียงอื่นอีก 11 ดวง ในพื้นโล่สีเขียว มีข้อความภาษาละติน "VIGILATE" ในแพรแถบสีเหลืองอยู่เบื้องล่าง ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมาตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503 และใช้สำหรับเรือของรัฐบาล หากเป็นเรือพลเรือนจะใช้ธงพื้นสีแดงลักษณะอย่างเดียวกันแทน ส่วนธงประจำตำแหน่งผู้ว่าการหมู่เกาะแห่งนี้ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักร ประดับด้วยภาพตราแผ่นดินที่กลางธงเป็นสัญลักษณ์เช่นเดียวกับอาณานิคมอื่น ๆ ของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์

งชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แบบปัจจุบันเริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2491 ลักษณะเป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แต่แบบธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้จะมีลักษณะต่างจากแบบที่เริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะพิตแคร์น

งชาติหมู่เกาะพิตแคร์น ธงผู้ว่าการหมู่เกาะพิตแคร์น ธงประจำหมู่เกาะพิตแคร์น เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักร แสดงถึงความเป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ที่พื้นสีน้ำเงินนั้นมีรูปตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์น ซึ่งเป็นรูปคัมภีร์ไบเบิลเหนือสมอเรือรบหลวงบาว์นตี (เอชเอ็มเอส บาวน์ตี - HMS Bounty) ภายในโล่พื้นสีฟ้ามีลายคล้ายหัวลูกศรสี้ฟ้าขอบเหลืองที่ท้องโล่ ตอนบนของธงเป็นชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะประดับด้วยพู่ใบต้นมิโร (เป็นชื่อพื้นในท้องถิ่น) และรูปรถเข็นล้อเดียว รูปตราแผ่นดินนี้เป็นการเล่าถึงความเป็นมาของชาวเกาะแห่งนี้ ซึ่งเป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากกะลาสีที่ก่อการจลาจลบนเรือรบหลวงบาวน์ตีในปี พ.ศ. 2332 ธงดังกล่าวนี้ประกาศใช้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2527 สำหรับธงประจำตำแหน่งผู้ว่าการหมู่เกาะพิตแคร์น ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรประดับภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะที่กลางธง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะพิตแคร์น · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติหมู่เกาะเคย์แมน

งชาติหมู่เกาะเคย์แมน เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีน้ำเงิน ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นรูปธงชาติสหราชอาณาจักร ที่พื้นสีน้ำเงินนั้นมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมน ซึ่งเป็นรูปโล่พื้นแดงมีลายคดสีขาวสลับฟ้าที่ส่วนท้องโล่ ตอนบนที่พื้นสีแดงเป็นรูปสิงโตอังกฤษสีทอง ตอนล่างที่ลายคดสองสีมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขอบทองรวม 3 ดวง เบื้องบนของโล่มีรูปเต่าทะเลสีเขียวยืนบนขดเชือกสีขาวสลับฟ้าและช่อสับปะรดสีเหลือง ตอนล่างมีแพรแถบสีเหลืองจารึกคำขวัญประจำชาติว่า He hath founded it upon the seas แบบธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2542 ถ้าใช้เป็นธงเรือพลเรือนจะเปลียนพื้นธงเป็นสีแดง ส่วนธงชาติในสมัยก่อนหน้านั้นรูปตราแผ่นดินที่พื้นธงจะบรรจุอยู่ในวงกลมสีขาวอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งใช้อยู่ในช่วง..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติหมู่เกาะเคย์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัลเดิร์นนีย์

งชาติอัลเดิร์นนีย ธงชาติอัลเดิร์นนีย์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีขาว ภายในมีกางเขนสีแดงสมมาตรปลายจดขอบธงทุกด้าน (ธงเซนต์จอร์จ) กลางธงนั้มีรูปสิงโตสีทองถือกิ่งไม้ขนาดเล็กยืนหันหน้าเข้าเสาธงในกรอบวางกลมสีเขียวขอบสีเหลือง ธงนี้ได้มีพระราชเสาวนีย์จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ให้ใช้ได้เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติอัลเดิร์นนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอังกฤษ

23px ธงเซนต์จอร์จ วิวัฒนาการของธงสหภาพ (ธงยูเนียนแฟลก) ซึ่งมีธงชาติอังกฤษเป็นส่วนประกอบ ธงชาติอังกฤษ มีชื่อเรียกว่า ธงเซนต์จอร์จ มีลักษณะเป็นกากบาทสีแดง ใช้เป็นสัญลักษณ์ของประเทศอังกฤษตั้งแต่ยุคกลาง โดยได้รับสถานะเป็นธงชาติของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อครั้งราชอาณาจักรอังกฤษรวมกับราชอาณาจักรสกอตแลนด์ภายใต้พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (หรือเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์) ธงเซนต์จอร์จก็ได้รวมกับธงเซนต์แอนดรูว์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ และเกิดเป็นธงสหภาพหรือยูเนียนแจ็ครุ่นดั้งเดิม ซึ่งธงนี้ต่อมาก็เป็นธงชาติของสหราชอาณาจักร และรวมกับธงเซนต์แพทริกของไอร์แลนด์ ซึ่งเป็นยูเนียนแจ็กรุ่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิรัก

23x15px สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิรัก (อาหรับ: علم العراق) มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง จากความผันผวนทางการเมืองในประเทศ นับตั้งแต่การก่อตั้งประเทศใน พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ธงชาติแบบที่เปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดนี้ ได้ดัดแปลงจากธงชาติอิรัก พ.ศ. 2457-2551 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง-ขาว-ดำ แบ่งตามแนวนอน มีความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางแถบสีขาวมีอักษรคูฟิก เขียนเป็นข้อความภาษาอาหรับว่า "อัลลอหุ อักบัร" แปลว่า พระอัลเลาะห์เจ้าทรงเป็นผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเอารูปดาวห้าแฉกสีเขียว 3 ดวงออกจากธงเดิมไป ธงดังกล่าวนี้จะใช้เป็นธงชาติอิรักเป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการรับรองแบบธงชาติใหม่ใน พ.ศ. 2552 ควรรู้ด้วยว่า ด้านคันธงของธงที่มีอักษรอาหรับจารึกอย่างธงนี้อยู่ทางด้านขวา ไม่ใช่ทางด้านซ้ายของผู้สังเกตอย่างธงปกติทั่วไป.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจาเมกา

งชาติจาเมกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 4 ส่วนด้วยกากบาททแยงสีทอง ช่องสามเหลี่ยมช่องบนและช่องล่างเป็นสีเขียว ส่วนช่องซ้ายและช่องขาวเป็นพื้นสีดำ แบบธงที่ใช้อยู่นี้เป็น แบบที่ชนะเลิศการประกวดธงชาติจาเมกา และเริ่มใช้อย่างเป็นทางการหลังประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2505 แต่ละสีในธงมีความหมายต่างๆ กล่าวคือ พื้นสีดำในธงหมายถึงกำลังและความคิดสร้างสรรค์ของชาวจาเมกา สีเหลืองทองเป็นตัวแทนของแสงอาทิตย์และความมั่งคั่งด้วยทรัพยากรธรรมชาติ สีเขียวคือความหวังต่ออนาคตกาลและความมั่งคั่งด้วยเกษตรกรรม.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติดอมินีกา

งชาติดอมินีกา มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีเขียว กลางธงมีรูปกางเขน 3 สี ได้แก่ สีเหลือง สีดำ และสีขาว ซ้อนทับกัน ตรงกลางรูปกางเขนนั้น เป็นรูปวงกลมสีแดง ภายในมีรูปนกแก้ว ล้อมรอบด้วยดาวห้าแฉกสีเขียว 10 ดวง ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ต่อมาได้แก้ไขเพิ่มเติมแบบธงอีก 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2524, พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2533 โดยมีข้อแตกต่างที่สำคัญ คือ แบบธงก่อนหน้าปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติดอมินีกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคิริบาส

งชาติคิริบาส เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดงมีรูปนกฟรีเกตใหญ่ (ภาษาอังกฤษ: Great Frigatebird อยู่ในสปีชีส์ Fregata minor, ภาษาคิริบาส: te eitei) บินอยู่เหนือดวงอาทิตย์มีรัศมี 17 แฉกโผล่พ้นน้ำ รูปดังกล่าวนี้เป็นสีทอง ครึ่งล่างของธงเป็นผืนน้ำ มีลักษณะเป็นแถบสีขาวสลับน้ำเงินสีละ 3 แถบ แถบสีดังกล่าวนี้หมายถึงมหาสมุทรแปซิฟิก และหมู่เกาะ 3 หมู่เกาะในประเทศคิริบาส คือ หมู่เกาะกิลเบิร์ต (Gilbert Islands) หมู่เกาะฟีนิกซ์ (Phoenix Islands) และหมู่เกาะไลน์ (Line Islands) รัศมีทั้ง 17 แฉกแทนเกาะทั้ง 16 เกาะของหมู่เกาะกิลเบิร์ตและเกาะบานาบา (เกาะนี้เดิมเรียกว่าเกาะโอเชียน หรือ Ocean Island) ส่วนรูปนกฟรีเกตใหญ่หมายถึงอำนาจและอิสรภาพ ธงนี้มีลักษณะอย่างเดียวกับที่ปรากฏในตราแผ่นดินของคิริบาส ซึ่งออกแบบโดยเซอร์ อาเธอร์ กริมเบิล (Sir Arthur Grimble) ในปี พ.ศ. 2475 เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายของอาณานิคมหมู่เกาะกิลเบิรต์และเอลลิส (Gilbert and Ellice Islands) ของสหราชอาณาจักร ซึ่งปัจจุบันนี้ได้แก่ประเทศคิริบาส และประเทศตูวาลู ตรานี้เริ่มใช้เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2480 และใช้ประกอบเข้ากับธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร (ธงบูลเอนไซน์ - Blue Ensign) เพื่อใช้เป็นธงราชการสำหรับอาณานิคม ภายหลังในปี พ.ศ. 2522 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชของคิริบาสเพียงเล็กน้อย ได้มีการประกวดแบบสำหรับธงชาติและตราของคิริบาสในฐานะรัฐเอกราช แบบตราแผ่นดินในสมัยอาณานิคมก็ได้รับเลือกให้ใช้เป็นตราแผ่นดินและธงชาติของคิริบาสใหม่ โดยมีการดัดแปลงลักษณะบางอย่างให้เป็นอย่างที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงนี้ได้ชักขึ้นครั้งแรกที่กรุงทาวารา เมืองหลวงของประเทศ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติคิริบาส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก

งชาติตรินิแดดและโตเบโก มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในธงมีแถบสีดำขอบสีขาว พาดจากมุมธงบนด้านคันธงไปยังมุมธงล่างด้านปลายธง เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2505 หลังการประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร ความหมายขององค์ประกอบต่างๆ ในธงนั้น สีแดงคือสัญลักษณ์ของความกระปี้กระเปร่าของแผ่นดินและประชาชน และหมายถึงความอบอุ่น ความแข็งแกร่ง และพลังงานจากดวงอาทิตย์ สีขาวหมายถึงทะเลที่ล้อมรอบหมู่เกาะ แหล่งกำเนิดแห่งมรดกของชาติ ความปรารถนาอันบริสุทธิ์ และความเสมอภาคของมวลมนุษย ส่วนสีดำหมายถึงความแข็งแกร่ง เอกภาพ ความปรารถนา ความมั่งคั่งด้วยทรัพยากรในผืนแผ่นดิน สีเหล่านี้ยังได้นำมาใช้เพื่อแสดงถึงธาตุดิน ธาตุน้ำ และธาตุไฟ ซึ่งครอบคุลมทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคตของประเทศ และเป็นแรงบันดาลใจให้ประชาชนหลอมรวมเป็นหนึ่ง มีอิสระ มีความกระตือรือล้นและความเสียสละ สำหรับธงเรือพลเรือนของตรินิแดดและโตเบโกนั้น ใช้ธงลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ แต่สัดส่วนธงนั้นเป็น 1:2 ส่วนธงของกองทัพเรือ ใช้ธงขาวกางเขนแดงมีรูปธงชาติที่มุมธงบนด้านคันธง เช่นเดียวกับธงราชนาวี.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติตูวาลู

งชาติตูวาลู มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีฟ้า ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีรูปดาวสีเหลือง 9 ดวง หมายถีงเกาะทั้ง 9 เกาะ ซึ่งรวมกันเป็นประเทศตูวาลู รูปดาวนี้เรียงเป็นแผนที่ของประเทศตูวาลู ซึ่งจะสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนหากเอาธงแขวนตามแนวตั้ง ลักษณะธงอย่างนี้คล้ายคลึงกับธงของอีกหลายประเทศที่เป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร ซึ่งมักจะมีภาพของธงชาติสหราชอาณาจักรประกอบอยู่ด้วย ธงนี้เริ่มใช้เมื่อประเทศนี้ได้รับเอกราชโดยเป็นประเทศในเครือจักรภพในปี พ.ศ. 2521 โดยก่อนหน้านี้ได้ประกาศแยกตัวจากหมู่เกาะกิลเบิร์ต (ประเทศคิริบาสในปัจจุบัน) เมื่อ พ.ศ. 2519 ในช่วงเวลาก่อนหน้าที่ตูวาลูจะเป็นประเทศในเครือจักรภพนั้น ได้ใช้ธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของหมู่เกาะเอลลิส (ชื่อประเทศในขณะนั้น) ภายในวงกลมสีขาว เป็นธงสำหรับดินแดน ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการเปลี่ยนธงชาติตูวาลูเป็นแบบที่ไม่อิงกับลักษณะของธงเรือสหราชอาณาจักร โดยเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็น 3 แถบใหญ่ แถบกลางสีฟ้า ขนาบด้วยขอบสีขาวขนาดเล็ก แถบบนและแถบล่างเป็นสีแดง ที่แถบสีฟ้าด้านติดคันธงมีรูปสามเหลี่ยมสีขาว ภายในมีภาพตราแผ่นดิน บนพื้นธงนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 9 ดวง พาดผ่านเป็นรูปแผนที่ประเทศตูวาลูดังที่ปรากฏในธงชาติแบบปัจจุบัน ธงนี้ไม่ได้เป็นที่ยอมรับจากประชาชน เนื่องจากเห็นว่าเป็นการนำประเทศออกห่างจากราชวงศ์อังกฤษ ซึ่งเป็นที่นับถือของประชาชน ไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ ธงนี้จึงถูกยกเลิกไปในปี พ.ศ. 2540 และมีการนำธงเดิมกลับมาใช้ โดยมีการปรับปรุงแบบธงเล็กน้อย ดาวสีเหลือง 9 ดวง หมายถีงเกาะทั้ง 9 เกาะของตูวาลู.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติตูวาลู · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซามัว

งชาติซามัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดง ที่มุมบนด้านคันธงมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงินขนาดเล็ก ภายในรูปดังกล่าวมีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นกลุ่มดาวกางเขนใต้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 พื้นสีแดงหมายถึงความกล้าหาญ สีน้ำเงินหมายถึงเสรีภาพ สีขาวหมายถึงความบริสุทธิ์ เดิมดินแดนส่วนนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมนี ต่อมาถูกกองทัพนิวซีแลนด์เข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2457 หลังสิ้นสงคราม ซามัวก็ตกเป็นรัฐในอาณัติของนิวซีแลนด์อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 และได้รับการรับรองจากสันนิบาตชาติเมื่อในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2463 นับแต่นั้นมาจนถึงปี พ.ศ. 2540 ดินแดนนี้เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อซามัวตะวันตก (ซามัวส่วนที่เหลือตกเป็นของสหรัฐอเมริกา เรียกว่า อเมริกันซามัว) ตราแผ่นดินของซามัวนับตั้งแต่ตกเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรผ่านทางนิวซีแลนด์นั้น เป็นรูปต้นปาล์ม 3 ต้นอยู่ในวงกลม ตราดังกล่าวนี้ใช้ประกอบเข้ากับธงเรือของสหราชอาณาจักร (ธงเรือพลเรือนใช้สีแดง ธงเรือราชการใช้สีน้ำเงิน) สำหรับใช้เป็นธงประจำดินแดน จนถึงปี พ.ศ. 2492 อนึ่ง ซามัวได้รับเอกราชจากนิวซีแลนด์ในปี พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติซามัว · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซาร์ก

งชาติซาร์ก สัดส่วนธง 3:5 ธงชาติซาร์ก มีลักษณะเป็นธงกางเขนแห่งเซนต์จอร์จ (ธงพื้นขาวมีกางเขนสมมาตรจดขอบพื้นแดง) ที่ช่องบนของด้านติดมุมธงเป็นพื้นสีแดง ภายในมีภาพสิงโตสีเหลือง 2 ตัว ธงนี้ออกแบบโดยเฮอร์เบิร์ต พิตต์ เมื่อปี พ.ศ. 2481 และได้ประกาศใช้เป็นธงประจำดินแดนอย่างเป็นทางการในปีเดียวกัน รูปสัญลักษณ์ที่ช่องมุมบนด้านคันธงดังกล่าวนี้คล้ายคลึงกับรูปตราประจำแคว้นนอร์ม็องดีในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นรูปสิงโตสีเหลือง 3 ตัวบนพื้นโล่สีแดง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติซาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปาปัวนิวกินี

งชาติปาปัวนิวกินี เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 4 ส่วน ภายในธงแบ่งครึ่งธงตามแนวทแยง จากมุมบนด้านคันธงไปยังมุมล่างด้านปลายธง ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดง มีภาพเงาสีทองของนกปักษาสวรรค์ ครึ่งล่างเป็นพื้นสีดำ มีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ ธงนี้เป็นแบบธงที่ชนะเลิศการประกวดแบบธงชาติในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติปาปัวนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแองกวิลลา

งชาติแองกวิลลา เป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของแองกวิลลา ซึ่งเป็นรูปโล่แบ่งพื้นเป็นสีขาวตอนบน สีฟ้าตอนล่าง มีรูปปลาโลมาสีส้ม 3 ตัวขดกันเป็นกงล้อ โดยปลาแต่ละตัวนั้นหันหน้าเข้าหากัน หมายถึง มิตรภาพ ปัญญา และความเข้มแข็ง รูปตราแผ่นดินดังกล่าวนี้มาจากธงชาติของแองกวิลลาในช่วงประกาศแยกตัวเป็นเอกราชในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแอนติกาและบาร์บูดา

งชาติแอนติกาและบาร์บูดา มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงมีสีแดง ภายในมีรูปสามเหลี่ยมหัวกลับแบ่งพื้นสีแดงออกเป็นสองส่วน ในรูปสามเหลี่ยมนั้นแบ่งออกเป็นสามส่วนใหญ่ๆ ตามแนวนอน ตอนล่างเป็นสีขาว ตอนกลางเป็นสีฟ้า ตอนบนสุดเป็นพื้นสีดำมีรัศมีดวงอาทิตย์สีเหลือง รัศมีดังกล่าวมี 9 แฉก ธงนี้เป็นเป็นแบบที่ชนะเลิศการประกวดธงชาติ ออกแบบโดย เรจินัลด์ ซามูเอลส์ (Reginald Samuels) อาชีพครู และได้รับรองให้เป็นธงชาติแอนติกาและบาร์บูดาอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ในธงชาตินั้น รูปดวงอาทิตย์หมายถึงแสงแห่งวันใหม่ของประเทศแอนติกาและบาร์บูดา สีดำหมายถึงมรดกจากชาวแอฟริกาที่สืบทอดมายังประชาชนผู้เป็นลูกหลาน สีฟ้าหมายถึงความหวัง สีแดงหมายถึงพลังงาน นอกจากนี้ สีเหลือง สีฟ้า และสีขาว ที่เรียงลำดับต่อเนื่องกัน ยังหมายถึง ดวงอาทิตย์ ทะเล (ทะเลแคริบเบียน) และหาดทราย อันเป็นลักษณะของธรรมชาติในประเทศอย่างชัดเจน รูปสามเหลี่ยมหัวกลับนั้น มีลักษณะคล้ายอักษร "V" หมายถึงคำว่า "victory" ในภาษาอังกฤษ แปลว่า ชัยชนะ สำหรับธงราชนาวีของหน่วยรักษาชายฝั่งของแอนติกาและบาร์บูดานั้น ใช้ธงพื้นขาวมีกางเขนสีแดงอยู่กลาง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติ เช่นเดียวกับธงราชนาวี.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติแอนติกาและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแทนซาเนีย

งชาติแทนซาเนีย มีใช้ขึ้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2507 หลังจากการรวมกันของแทนกันยีกาและแซนซิบาร์ เข้าเป็นสหสาธารณรัฐแทนซาเนีย ธงดังกล่าวนี้ได้รวมเอาสีธงของทั้งสองประเทศเดิมไว้ด้วยกัน กล่าวคือ สีเขียวและสีน้ำเงินจากธงแซนซิบาร์ถูกคั่นกลางด้วยแถบสีดำที่ขนาบด้วยแถบสีทองจากธงแทนกันยีกาในรูปแบบทแยงมุม ส่วนธงนาวีของกองทัพเรือ ใช้ตามอย่างธงแสดงสัญชาติสีขาว กล่าวคือ เพิ่มรูปธงชาติแทนซาเนียลงบนมุมบนด้านคันธงของธงเซนต์จอร์จ (ธงพื้นขาวมีรูปกากบาทแดง).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติแทนซาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแคเมอรูน

งชาติแคเมอรูน ที่ใช้ในปัจจุบันมีลักษณะเป็นธงสามสีมีสามแถบแบ่งตามแนวตั้ง แต่ละแถบประกอบด้วยสีเขียว สีแดง และสีเหลือง เรียงลำดับจากด้านคันธงไปด้านปลายธง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน กลางแถบสีเขียวนั้นมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่20 พฤษภาคม พ.ศ. 2518 หลังประเทศแคเมรูนสามารถรวมชาติได้สำเร็จ ก่อนหน้านั้นธงชาติแคเมอรูนก็มีลักษณะที่คล้ายกับธงในปัจจุบัน แต่เริ่มแรกที่มีธงในปี พ.ศ. 2500 นั้นไม่มีรูปดาวในธงชาติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2504 จึงได้เพิ่มรูปดาว 2 ดวงลงในแถบสีเขียว ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้แบบปัจจุบัน แบบธงชาตินแคเมอรูนนี้ดัดแปลงมาจากธงชาติฝรั่งเศส ส่วนสีที่ใช้ในธงชาตินั้นจัดเป็นกลุ่มสีพันธมิตรแอฟริกา โดยแถบสีเหลืองหมายถึงดวงอาทิตย์และทุ่งหญ้าสะวันนาในภาคเหนือของประเทศ สีเขียวหมายถึงป่าไม้ในแถบภาคใต้ของประเทศ แถบกลางสีแดงและดาวสีเหลืองกลางธงหมายถึงเอกภาพ ซึ่งดาวดวงนี้มักเรียกกันด้วยชื่อว่า ดาวแห่งเอกภาพ ("the star of unity") ไฟล์:Flag of Deutsch-Kamerun.svg|เยอรมันแคเมอรูน ไฟล์:British Cameroon Flag.svg|อาณานิคมแคเมอรูน (พ.ศ. 2465 - 2504) ไฟล์:Flag of Cameroon (1957).svg|..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไซปรัส

งชาติไซปรัส (ΣημαίατηςΚύπρου; Kıbrıs bayrağı) ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการนับตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1960 ตามข้อตกลงซูริคและลอนดอน ซึ่งกำหนดให้ไซปรัสมีสถานะเป็นรัฐเอกราชและมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเอง ลักษณะของธงชาติไซปรัสเป็นรูปแผนที่ของเกาะไซปรัสทั้งหมด รองรับด้วยช่อมะกอกสองช่อบนพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาวอันเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ส่วนช่อมะกอกคู่นอกจากจะหมายถึงสันติภาพโดยทั่วไปแล้ว ยังมีความหมายเฉพาะเจาะจงถึงสันติภาพระหว่างชาวเติร์กและชาวกรีก ซึ่งเป็นประชากรสองกลุ่มใหญ่ของประเทศ สีของแผนที่เกาะไซปรัสนั้นเป็นสีเหลืองทองแดง มีความหมายถึงแร่ทองแดงซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีอยู่มากภายในเกาะ (โดยหลักแล้วมักอยู่ในรูปของชาลโคไพไรต์ (chalcopyrite) ซึ่งมีสีเหลือง) อันเป็นที่มาแห่งนามของเกาะนี้ ไซปรัสเดินเป็นดินแดนที่มีชาวกรีกอาศัยอยู่ ต่อมาได้ถูกจักรวรรดิออตโตมาน (ปัจจุบันคือประเทศตุรกี) พิชิตได้ในปี ค.ศ. 1571 นำมาซึ่งการตั้งถิ่นฐานของชาวเติร์กในไซปรัส หลังจากนั้นไซปรัสก็ได้ตกอยู่ในความปกครองของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1878 การออกแบบธงชาติไซปรัสซึ่งได้มีการยอมรับอย่างเป็นทางการเมื่อมีการประกาศเอกราชในปี ค.ศ. 1960 เป็นความพยายามที่จะเลือกใช้สัญลักษณ์ของชาติที่สื่อถึงสันติภาพและความปรองดองระหว่างประชาคมชาวกรีกและชาวเติร์กซึ่งเป็นคู่ขัดแย้งกันมาโดยตลอด ทว่าแนวคิดดังกล่าวก็มิได้เป็นจริง ในปี ค.ศ. 1974 กองทัพตุรกีได้เข้ารุกรานและยึดครองดินแดนภาคเหนือของเกาะไซปรัส พร้อมทั้งจัดตั้งสาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ ซึ่งเป็นรัฐชาติที่มีเพียงตุรกีเพียงชาติเดียวเท่านั้นที่ให้การยอมรับในทางพฤตินัย สาธารณรัฐดังกล่าวได้กำหนดธงชาติของตนเองขึ้นให้คล้ายกับธงชาติตุรกี โดยที่ใช้สีสลับกันกับธงชาติตุรกีและแถบสีแดงพาดบนธง 2 แถบ ในดินแดนไซปรัสเหนือนั้นมักจะชักธงชาติของตนขึนร่วมกับธงชาติตุรกี ในขณะที่ดินแดนที่เหลือทางตอนใตนิยมจะชักธงชาติไซปรัสร่วมกับธงชาติกรีซ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไนจีเรีย

งชาติไนจีเรีย เป็นธงสามแถบแนวตั้งสองสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งเป็นแถบแนวตั้ง 3 แถบ ความกว้างเท่ากัน แถบกลางสีขาว แถบอื่นรอบนอกเป็นสีเขียว ธงนี้เป็นแบบธงที่ชนะเลิศการประกวดธงชาติ ซึ่งออกแบบโดย ไมเคิล ไทโว อาคินคุนมี (Michael Taiwo Akinkunmi) นักเรียนชาวเมืองอิบาดาน เละเริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2503 อันเป็นวันประกาศเอกราชของชาติจากสหราชอาณาจักร ความหมายสำคัญของธงชาติคือ ความอุดมสมบูรณ์ของแผ่นดิน (แทนด้วยสีเขียว) และเอกภาพกับสันติภาพ (แทนด้วยสีขาว).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบลีซ

งชาติเบลีซ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นสีน้ำเงิน ที่ขอบธงตอนบนและตอนล่างมีแถบขนาดเล็กสีแดง กลางธงมีรูปวงกลมสีขาว ภายในมีภาพตราแผ่นดินของเบลีซ ซึ่งล้อมรอบด้วยใบมะฮอกกานีสีเขียวจำนวน 50 ใบ ธงนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 อันเป็นปีที่เริ่มมีการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร โดยขณะนั้นเบลีซใช้ชื่อประเทศว่า บริติชฮอนดูรัส ภายหลังเมื่อเบลีซได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2524 ธงนี้จึงมีฐานะเป็นธงชาติเบลีซอย่างเป็นทางการ ภายในตราแผ่นดินนั้น ประกอบด้วยรูปโล่ซึ่งภายในแบ่งเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วยภาพขวานและไม้พายไขว้ในพื้นสีขาวที่ช่องซ้ายบน รูปขวานกับเลื่อยไขว้กันในพื้นสีเหลืองที่ช่องขวาบน และภาพเรือใบแล่นในทะเลบนพื้นสีฟ้าช่องล่างกลาง เบื้องหลังโล่นี้มีภาพต้นมะฮอกกานี เบื้องซ้ายของโล่เป็นภาพคนงานผิวเหลืองแบกขวาน เบื้องขวาเป็นรูปคนงานผิวดำแบกพาย ทั้งสองคนนี้ยืนประคองรูปโล่ เบื้องล่างของภาพทั้งหมดมีคำขวัญประจำชาติในแพรแถบสีขาว เป็นข้อความภาษาละตินใจความว่า "Sub Umbra Floreo" (อันอาจแปลได้ว่า "เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา") ภาพทั้งหมดมีความหมายถึงอุตสาหกรรมไม้มะฮอกกานี ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของชาติ ตรานี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2450 ส่วนสีของธงชาตินั้น มีที่มาจากสีของพรรคการเมืองที่เป็นแกนสำคัญในการเรียกร้องเอกราชของเบลีซ กล่าวคือ สีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ของพรรคสหภาพประชาชน (People's United Party - PUP) ส่วนสีแดงคือสีของพรรคสหประชาธิปไตย (United Democratic Party - UDP) ใบมะฮอกกานีทั้ง 50 ใบ หมายถึงปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบอร์มิวดา

งชาติเบอร์มิวดา เป็นธงเรือเอกชนสหราชอาณาจักร กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ในพื้นสีแดงด้านปลายธงนั้นมีภาพตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา ซึ่งเป็นภาพโล่สีขาวมีสิงโตหน้าอัดสีแดงยืนอยู่บนพื้นหญ้า ในมือทั้งสองของสิงโตถือโล่ขนาดเล็กเขียนภาพเรือใบล่มหน้าเกาะในท้องทะเลซึ่งกำลังปั่นป่วน ตราดังกล่าวนี้บอกเล่าถึงที่มาของอาณานิคมแห่งนี้ว่าผู้ก่อตั้งอาณานิคมเป็นลูกเรือซีเวนเจอร์ (Sea Venture) ซึ่งจมลงในปี ค.ศ. 1609 (พ.ศ. 2152) ที่เกาะแห่งนี้ ธงดังกล่าวนี้กำหนดให้ใช้ครั้งแรกพร้อมกับตราแผ่นดินในยุคแรกเมื่อปีค.ศ. 1875 (พ.ศ. 2418) โดยตราอาณานิคมที่ใช้ในยุคแรกเป็นรูปเรือสามลำที่แล่นในมหาสมุทร โดยเรือลำใหญ่ที่อยู่ตรงกลางกำลังแล่นเข้าสู่อู่แห้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าในความเป็นจริงที่ว่าเกาะแห่งนี้คือฐานสำหรับการหยุดพักระหว่างการสัญจรทางเรือ โดยตราแผ่นดินที่ใช้ในปัจจุบันนั้นกำหนดให้ใช้พร้อมกับธงประจำอาณานิคมอย่างเป็นทางการเมื่อเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1910 (พ.ศ. 2453) ภายหลังจึงมีการขยายขนาดตราให้ใหญ่ขึ้นดังปรากฏในปัจจุบันเมื่อปี พ.ศ. 2542 ธงนี้ใช้ทั่วไปทั้งเรือของรัฐบาลและเรือพลเรือน ซึ่งค่อนข้างจะต่างจากธงเรือรัฐบาลอาณานิคมของสหราชอาณาจักรที่ใช้ธงพื้นสีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ของรัฐบาล สำหรับธงของผู้ว่าการแห่งเบอร์มิวดา ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรมีภาพตราแผ่นดินประจำดินแดนเป็นเครื่องหมายสำคัญ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกรเนดา

งชาติเกรนาดา ที่ใช้ในปัจจุบัน เริ่มใช้เมื่อประเทศเกรนาดาได้ประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน ตอนในแบ่งเป็นสี่ส่วนตามแนวทแยงที่เรียกว่ากางเขนนักบุญแอนดรูว์ ภายในช่องซ้ายและขวาเป็นพื้นสีเขียว ช่องบนและช่องล่างเป็นพื้นสีเหลือง ตรงกลางเป็นวงกลมสีแดงมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง ที่ช่องสีเขียวฝั่งซ้ายมีภายใบลูกจันทน์เทศ 1 ใบ พื้นธงชั้นนอกเป็นขอบสีแดง ในขอบนั้นมีดาวห้าแฉกสีเหลือง 6 ดวง อยู่ด้านบน 3 ดวง ด้านล่าง 3 ดวง ดาวสีเหลือง 6 ดวงที่ขอบธงหมายถึงเขตการปกครองทั้ง 6 เขตของเกรนาดา (ซึ่งเรียกในภาษาอังกฤษว่า parish) ดาวดวงใหญ่ที่อยู่ในวงกลมสีแดง หมายถึง เมืองเซนต์จอร์เจส ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศ ใบลูกจันทน์หมายถึงสินค้าสำคัญของเกรนาดา (ประเทศนี้ได้ชื่อว่าเป็น "หมู่เกาะเครื่องเทศ") ส่วนสีแดง เหลือง และเขียน เป็นการแสดงถึงอัตลักษณ์ความเป็นแอฟริกันของประเทศ แต่ละสีมีความหมายย่อยลงไปอีกคือ สีแดงหมายถึงความมีชีวิตชีวา สีเหลืองคือความอบอุ่นและปัญญา สีเขียวหมายถึงการเกษตร ธงนี้ออกแบบโดยแอนโทนี่ ซี. จอร์จ ชาวเมืองซูบีส เขตเซนต์แอนดรูว์ ประเทศเกรเน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกาะแมน

งชาติเกาะแมน (Isle of Man) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงเป็นรูปสัญลักษณ์เกราะขาของมนุษย์ 3 ขา ต่อกันในลักษณะเป็นกงจักรที่บริเวณส่วนโคนขา ส่วนเท้าของขาทั้งสามนั้นหมุนไปตามเข็มนาฬิกา สัญลักษณ์ดังกล่าวมานี้มีชื่อเรียกว่า "ไทรสเกเลียน" (triskelion) ถือเป็นภาพตราสัญลักษณ์ประจำเกาะแมน ซึ่งมาจากภาพตราประจำพระองค์ของพระเจ้าแมกนัสที่ 3 (King Magnus III) กษัตริย์ชาวนอร์สเมนองค์สุดท้าย (ปัจจุบันยังปรากฏว่าใช้เป็นตราประจำตระกูล Skanke ในประเทศนอร์เวย์ ซึ่งเป็นเชื้อสายที่สืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน) รูปดังกล่าวนี้ปรากฏอยู่บนธงทั้งสองด้าน สำหรับเรือพลเรือนในบังคับของเกาะแมนนั้น จะใช้ธงเรือพลเรือนสหราชอาณาจักร (ธงพื้นแดงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง) ประดับภาพตราประจำเกาะแมนที่พื้นสีแดงเป็นเครื่องหมายสำคัญ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเกาะแมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

งชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ด้านปลายธงมีภาพตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ซึ่งเป็นรูปโล่ลายตาหมากรุกสีฟ้าสลับขาว ภายในมีรูปสิงโตสีทองถือคบเพลิงล้อมด้วยดาวหกแฉก 2 ดวงในสามเหลี่ยมหัวกลับสีเขียว ด้ายซ้ายของโล่มีรูปแมวน้ำยืนบนโขดหิน ด้านขวามีรูปนกเพนกวินยืนบนพื้นน้ำแข็ง คอยประคองโล่ไว้ทั้งสองด้าน เบื้องบนของโล่มีรูปเกราะนักรบส่วนศีรษะประดับด้วยแพรสีขาวและน้ำเงิน ส่วนศีรษะนั้นเป็นรูปกวางเรนเดียร์ยืนบนภูเขา เบื้องล่างของตรามีแพรแถบสีเหลืองประดับคำขวัญภาษาละตินว่า Leo Terram Propriam Protegat แปลว่า ให้สิงโตพิทักษ์แผ่นดินของตน ธงดังกล่าวนี้ได้มีประกาศให้ใช้ได้ตามกฎหมายเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2528 เมื่อมีการจัดตั้งดินแดนแห่งนี้ขึ้น โดยแยกเขตการปกครองส่วนหนึ่งมาจากหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ ซึ่งภาพของตราแผ่นดินที่ปรากฏในธงเวลานั้นมีขนาดเล็กกว่าในปัจจุบันและบรรจุไว้ในรูปวงกลมสีขาวอีกชั้นหนึ่ง ต่อมาในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2545 จึงได้แก้ให้ขนาดของตราใหญ่ขึ้น และยกเอาวงกลมสีขาวออกเสีย ดังที่ปรากฏการใช้ในปัจจุบันนี้ ธงนี้กำหนดไว้สำหรับใช้ชักบนอาคารทำการของรัฐบาลและฐานสำรวจทางวิทยาศาสตร์ของคณะสำรวจทวีปแอนตาร์กติกาของสหราชอาณาจักร (British Antarctic Survey) สำหรัฐธงของผู้ว่าการเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช ก็มีลักษณะเช่นเดียวกับผู้ว่าการอาณานิคมแห่งอื่นของสหราชอาณาจักร กล่าวคือ ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรประดับด้วยตราแผ่นดินของอาณานิคมเป็นสัญลักษณ์ โดยเมื่อแรกใช้ธงนี้ในปี พ.ศ. 2535 ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชที่ปรากฏในธงมีเฉพาะรูปโล่กลางดวงตราเท่านั้น ต่อมาจึงได้แก้ไขให้ใช้ภาพตราแผ่นดินอย่างเต็มตัวกลางธงในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกิร์นซีย์

23px ธงชาติเกิร์นซีย์ สัดส่วนธง 2:3 23px ธงเรือพลเรือนเกิร์นซีย์ สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติเกิร์นซีย์ ในปัจจุบันเป็นธงพื้นสีขาวมีกางเขนแห่งเซนต์จอร์จสีแดง กลางรูปนั้นมีกางเขนสีทองขนาดเล็กซ้อนทับอีกชั้นหนึ่ง เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 เนื่องจากว่าก่อนหน้านี้อังกฤษกับเกิร์นซีย์ใช้ธงเซนต์จอร์จเป็นสัญลักษณ์ของเหมือนกัน ทำให้เกิดความสับสนในยามที่แสดงธงในพิธีการแข่งขันกีฬาต่างๆ ธงนี้ออกแบบโดยคณะกรรมาธิการตรวจสอบเรื่องธงชาติเกิร์นซีย์ ซึ่งมีเซอร์เกรแฮม ดอเรย์ เป็นประธาน และได้ชักขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 โดยรูปกางเขนสีทองที่เพิ่มลงในธงนั้นหมายถึงพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษ, ดยุคแห่งนอร์ม็องดี ซึ่งกล่าวกันว่าพระองค์ได้ใช้ธงรูปกางเขนทองซึ่งได้รับประทานมาจากสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 2 ในการรบที่เฮสติ้งส์ (Battle of Hastings) สำหรับธงเรือพลเรือนนั้น ใช้ธงเรือแบบสหราชอาณาจักรพื้นแดงมีกางเขนสีทองดังกล่าวเป็นสัญลักษณ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเกิร์นซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเวลส์

23px ธงชาติเวลส์ สัดส่วนธง 3:5 ธงชาติเวลส์ ใช้ธงแถบเขียวขาว เป็นสีประจำชาติของแคว้นเวลส์ซึ่งมาจากลีเวลลินล์ แห่งราชวงศ์ทิวดอร์ โดยเรียงแถบสีดังนี้คือ แถบบน สีขาว และ แถบล่าง สีเขียว ตรงกลางผืนธงมีรูปตรามังกรสีแดง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเฮิร์ม

งชาติเฮิร์ม สัดส่วนธง 3:5 ธงชาติเฮิร์ม เป็นธงกางเขนแห่งนักบุญจอร์จ ธงพื้นขาวมีรูปกางเขนสมมาตรสีแดงปลายจดขอบธงทุกด้าน ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน มีช่องมุมบนด้านค้นธงเป็นรูปตามลวดลายของตราราชการของดินแดนเฮิร์ม กล่าวคือ พื้นตรามีสีน้ำเงินมีแถบสีเหลืองพาดจากมุมซ้ายบนมายังมุมขวาล่าง ภายในมีรูปนักบวชสวมชุดดำยืนเรียงตามแนวแถบสีเหลือง 3 คน ที่ช่องขวาบนและซ้ายล่างซึ่งเกิดจากการแบ่งพื้นตรานั้น เป็นรูปปลาโลมาสีขาว 2 ตัว ตราดังกล่าวนี้ออกแบบเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2496 จึงประมาณการว่าธงนี้น่าจะเริ่มใช้ในช่วงเวลาเดียวกัน ส่วนผลงานการออกแบบธงนั้นเป็นของ "วิลเลียม แครมตัน" (William Crampton) นักธัชวิทยาชาวบริเตน ก่อนหน้านี้ประมาณปี พ.ศ. 2494 เกาะแห่งนี้ใช้ธงพื้นสีน้ำเงินมีตราแผ่นดินของเกิร์นซีย์เป็นสัญลักษณ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเฮิร์ม · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเจอร์ซีย์

งชาติเจอร์ซีย์ ได้มีการรับรองโดยรัฐเจอร์ซีย์เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2522 ได้รับพระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระบรมราชินีนาถแห่งสหราชอาณาจักรให้ใช้ได้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2523 และมีการใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2524 ธงนี้เป็นธงสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีขาว กลางมีรูปกากบาทแนวทแยงมุมสีแดง ปลายของกากบาทนั้นจดกับขอบธงทุกด้าน เหนือกากบาทนั้นมีตรามงกุฎแห่งแพลนตาเจอเนตสีเหลือง กับตราอาร์มรูปสิงโตสามตัวแห่งนอร์ม็องดี ซึ่งเป็นตราแผ่นดินของประเทศนี้.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเคนยา

งชาติเคนยา มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นพื้นสีดำ-แดง-เขียว ตามแนวนอน โดยที่แถบสีแดงนั้น มีเส้นขอบสีขาวขนาบอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง ที่กลางธงนั้นมีรูปโล่แบบชนเผ่ามาซาย ซ้อนทับบนหอกไขว้ 2 เล่ม.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซียร์ราลีโอน

งชาติเซียร์ราลีโอน เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2504 อันเป็นวันประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร มีลักษณะตามที่กำหนดในรัฐธรรมนูญไว้ว่า ธงนี้เป็นธงสามสีแบ่งตามแนวนอน ประกอบด้วยแถบสีเขียว สีขาว และสีฟ้า สัดส่วนธงโดยรวมกว้าง 6 ส่วน ยาว 9 ส่วน ความหมายของสีต่างๆ ในธงชาติ ประกอบด้วย สีเขียวซึ่งหมายถึงภูเขา เกษตรกรรม และทรัพยากรธรรมชาติ สีฟ้าซึ่งได้แก่ความหวังต่อสันติภาพ และสีขาวอันเป็นสัญลักษณ์ของความยุติธรรมและความสามัคคี.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเซียร์ราลีโอน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซนต์ลูเชีย

งชาติเซนต์ลูเชีย เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเซนต์ลูเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

งชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 7 ส่วน ยาว 11 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามแถบ โดยแถบด้านคันธงเป็นสีฟ้า ด้านชายธงเป็นสีเขียว แถบกลางธงเป็นสีทอง โดยมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบด้านคันธงและด้านชายธง กลางแถบสีทองนั้นมีรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนสีเขียว 3 รูป เรียงกันเป็นรูปอักษรละติน "V" ธงนี้เป็นธงที่ประกาศใช้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2528 สีฟ้าในธง หมายถึงผืนฟ้าและท้องทะเลสีคราม สีทองหมายถึงความอบอุ่น จิตวิญญาณอันเจิดจ้าของปวงชน และผืนทรายสีทองในหมู่เกาะเกรนาดีนส์ สีเขียวหมายถึงพืชพรรณที่เขียวชอุ่มจากการเกษตรกรรมทั่วเกาะเซนต์วินเซนต์ และพลังแห่งความอดทนของประชาชน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน 3 รูป ซึ่งเรียงกันเป็นรูปตัว "V" คืออักษรตัวแรกของคำว่าเซนต์วินเซนต์ (St. Vincent) หมายถึง ความหลากหลายทางธรรมชาติในหมู่เกาะนี้ จนประเทศนี้ได้ชื่อว่าเป็นอัญมณีแห่งหมู่เกาะแอนทิลลิส (the Antilles) โดยเหตุดังกล่าว ทำให้ธงนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า "ธงอัญมณี" ("The gems").

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา

งชาติเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา อดีตอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร (พ.ศ. 2501 - 2526) มีลักษณะเป็นธงสามสีสามแถบแนวตั้ง พื้นเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งเป็นสามแถบตามแนวตั้ง เรียงเป็นแถบสีเขียว สีเหลือง และสีฟ้า ตามลำดับจากด้านคันธง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน ที่กลางแถบสีเหลืองนั้นมีภาพต้นปาล์มสีดำมีกิ่งก้านแผ่ออกไป 3 ด้าน หมายถึงดินแดน 3 ส่วนที่ประกอบเข้าเป็นอาณานิคมแห่งนี้ ได้แก่ แองกวิลลา เกาะเซนต์คริสโตเฟอร์ และเกาะเนวิส ธงดังกล่าวนี้ใช้อยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2510 - พ.ศ. 2526 ส่วนธงที่ใช้ในช่วงก่อนหน้า (พ.ศ. 2501 - 2510) ใช้ธงตามแบบอาณานิคมของสหราชอาณาจักรทั่วไป กล่าวคือ ธงเรือแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน มีภาพตราแผ่นดินของเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา ซึ่งตราแผ่นดินประจำดินแดนในกรอบวงกลมสีขาว ตรานี้มีลักษณะเป็นตราอาร์มรูปโล่ ภายในโล่แบ่งเป็นสามส่วน โดยช่องซ้ายบนมีภาพกะลาสี (เป็นสัญลักษณ์แทนตัวคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส) ยืนบนหัวเรือเพื่อส่องกล้องสำรวจแผ่นดินใหม่ หมายถึงเกาะเซนต์คริสโตเฟอร์ (ปัจจุบันเรียกว่าเกาะเซนต์คิตส์) ที่ช่องขวาบนเป็นภาพสตรี 3 คนกำลังชำระกายในน้ำตก หมายถึงเกาะเนวิส ช่องกลางล่างเป็นภาพชาวประมงกับเรือแคนูบนชายหาด หมายถึงแองกวิลลา ที่ตอนบนของโล่มีภาพปลาโลมา 3 ตัวหันตัวตามแนวตั้งแหงนหน้าขึ้นด้านบน มีเกี้ยวรัดรอบตัวปลาโลมาทั้งสามนั้นรวมกัน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงชาติเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส

งชาติหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส มีลักษณะเช่นเดียวกับธงชาติของประเทศที่เป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักรหลาย ๆ ประเทศ กล่าวคือ เป็นธงแสดงสัญชาติสีน้ำเงิน (Blue Ensign) กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านปลายธงมีเครื่องหมายตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส ซึ่งเป็นรูปของหอยสังข์ กุ้งมังกร และต้นตะบองเพชรในโล่อาร์มสีเหลือง ธงนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ส่วนเรือพลเรือนนั้น ใช้ธงแสดงสัญชาติสีแดง (Red Ensign) สัดส่วนเดียวกับธงชาติเป็นเครื่องหมายในเวลาเดินเรือ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

ธงตริสตันดากูนยา

งชาติตริสตันดากูนยา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ตอนปลายธงมีตราราชการของตริสตันดากูนยา เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามประกาศของผู้ว่าการแห่งเซนต์เฮเลนาภายใต้พระปรมาภิไธยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สิ่งสำคัญที่ควรกล่าวถึงก็คือรายละเอียดของตราราชการที่ปรากฏในธงนี้ ตราดังกล่าวเป็นตราโล่ ภายในมีรูปนกอัลบาทรอสสีขาว 2 ตัวบนพื้นครึ่งบนสีฟ้า และนกอย่างเดียวกันอีก 2 ตัวสีฟ้าบนพื้ขาวครึ่งล่าง กลางโล่มีรูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแบ่งครึ่งตอนบนเป็นสีขาว ตอนล่างเป็นสีฟ้า เบื้องบนของโล่มีรูปชุดเกราะส่วนศีรษะมีริ้วสะบัดประดับมงกุฎนาวีรูปเรือทริสตัน ซ้ายขวาของโล่ขนาบด้วยรูปกุ้งมังกรข้างละ 1 ตัว ตอนล่างสุดเป็นม้วนแพรแถบสีขาว จารึกคำขวัญประจำดินแดนของตนเองไว้ว่า "Our faith is our strength" แปลว่า "ความศรัทธาคือกำลังแห่งเรา" ธงนี้ออกแบบโดย เกรแฮม บาร์แทรม (Graham Bartram) นักธัชวิทยาชาวสกอต อนึ่ง ก่อนหน้านี้ตริสตันดากูนยาใช้ธงชาติเซนต์เฮเลนาประจำดินแดนของตน เพราะเป็นดินแดนภายใต้การปกครองของเซนต์เฮเลน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงตริสตันดากูนยา · ดูเพิ่มเติม »

ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ

งสหภาพ ธงเรือของปาเลสไตน์ในอาณัติ ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ ค.ศ. 1920 จนถึง ค.ศ. 1948 ในทางพฤตินัย ธงชาติสหราชอาณาจักร หรือ ธงสหภาพ สำหรับใช้ในหน่วยราชการอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

ธงเซนต์เฮเลนา

งชาติเซนต์เฮเลนา ธงชาติเซนต์เฮเลนา ใช้ตราแผ่นดินประกอบเข้ากับธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักร (Blue Ensign) ที่ด้านปลายธง (เนื่องจากว่าดินแดนแห่งนี้เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร) ซึ่งตราแผ่นดินดังกล่าวนั้น ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดให้ใช้ตราแผ่นดินในแต่ละครั้ง ธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2527 สำหรับธงเรือพลเรือนนั้นใช้ธงเรือพลเรือนสหราชอาณาจักร (Red Ensign) ซึ่งมีพื้นสีแดง ส่วนเครื่องหมายในธงเป็นรูปตราแผ่นดินอย่างเดียวกับธงชาติ สำหรับธงประจำตำแหน่งผู่ว่าการแห่งเซนต์เฮเลนา ใช้ธงชาติสหราชอาณาจักรประดับด้วยตราแผ่นดินที่กลางธง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและธงเซนต์เฮเลนา · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งคอร์นวอลล์

กแห่งคอร์นวอลล์ (Duke of Cornwall) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกบรรดาศักดิ์แรกที่ได้มีการสถาปนาในอังกฤษ โดยตามธรรมเนียมแล้วจะสงวนไว้เพื่อเป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะสำหรับมกุฎราชกุมารของอังกฤษในอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ดัชชีแห่งคอร์นวอลล์ (Duchy of Cornwall) ถือเป็นดัชชีแห่งแรกในอังกฤษ โดยสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

คราวน์โคโลนี

ราวน์โคโลนี (Crown colony) หรือ อาณานิคมในพระองค์ เป็นประเภทหนึ่งของการบริการอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ คราวน์โคโลนีถูกปกครองโดยข้าหลวงซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ (และ ในภายหลัง รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม) ถึงแม้ว่าคำดังกล่าวจะไม่ถูกใช้ตั้งแต่แรกก็ตาม อาณานิคมแห่งแรกซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าคราวน์โคโลนี คือ อาณานิคมเวอร์จิเนีย ในสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน ในภายหลังจึงได้ถูกควบคุมโดยบริษัทเวอร์จิเนีย ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและคราวน์โคโลนี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศักราช

ริสต์ศักราช (Anno Domini Nostri Iesu Christi Anno Domini: AD หรือ A.D. ส: คฺฤสฺตศกฺราช ป: คิตฺถสกฺกาช) เขียนย่อว.. หมายถึง ปีของพระเยซูคริสต์ โดยเริ่มนับจากปีที่เชื่อว่าพระเยซูทรงประสูติ เป็น..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและคริสต์ศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี

ตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี มีลักษณะเป็นตราอาร์ม รูปโล่พื้นสีขาว มีแถบขวางรูปคลื่นสีฟ้า 3 แถบที่ตอนบนของโล่ บนพื้นโล่นั้นแบ่งเป็นช่องสามเหลี่ยมหัวกลับพื้นสีแดง ภายในมีรูปคบเพลิง ถัดจากโล่ขึ้นไปเป็นหมวกเกราะอัศวินโบราณ ประดับด้วยพู่ประดับสีขาว-น้ำเงิน คาดด้วยผ้าโพกสีเดียวกัน ตอนบนสุดนั้นเป็นเครื่องยอดรูปเรือสำรวจชื่อ อาร์เอสเอส ดิสคัฟเวอรี (RRS Discovery) ซึ่งเป็นเรือที่ โรเบิร์ต ฟอลคอน สก็อตต์ และเออร์เนสต์ แชคเคิลตัน นักสำรวจชาวอังกฤษ ใช้เดินทางมาสำรวจขั้วโลกใต้ในปี ค.ศ. 1901 (พ.ศ. 2444) ตราดังกล่าวนี้ตั้งอยู่บนพื้นรองรูปพื้นหญ้าสีเขียว (ครึ่งซ้าย) และพื้นน้ำแข็งสีขาว (ครึ่งขวา) มีราชสีห์สีทองยืนผงาดประคองข้างตราด้านซ้าย หมายถึงสหราชอาณาจักร ส่วนด้านขวาประคองด้วยนกเพนกวินจักรพรรดิ อันเป็นสัตว์ที่สามารถพบได้ทั่วไปในขั้วโลกใต้ เบื้องล่างสุดมีแพรแถบสีเหลือง จารึกคำขวัญเป็นอักษรสีแดงใจความ "Research and Discovery" แปลความได้ว่า "สำรวจและค้นพบ" ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสำคัญของดินแดนส่วนนี้ ตราดังกล่าวนี้ ทางการสหราชอาณาจักรเริ่มกำหนดให้ใช้ได้เมื่อปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ขณะที่ดินแดนส่วนนี้ยังจัดให้อยู่ในความดูแลของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (พร้อมกันกับตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมอลตา

ตราแผ่นดินของมอลตา เริ่มใช้เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัต

ตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัต มีลักษณะเป็นตราโล่อาร์ม พื้นโล่แบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน โดยส่วนบนเป็นพื้นสีฟ้าน้ำทะเล ส่วนล่างพื้นสีน้ำตาล กลางโล่เป็นรูปหญิงพรหมจารีย์จับพิณยืนเกาะไม้กางเขนบน โดยมือขวาของรูปหญิงพรหมจารีย์นั้นเกาะไม้กางเขน ส่วนมือข้างซ้ายจับส่วนหัวของพิณ ดวงตราดังกล่าวนี้ มีความหมายถึงหญิงพรหมจารีที่ถูกส่งมาจากไอร์แลนด์โดย โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ซึ่งตั้งถิ่นฐานบนเกาะอยู่ 2 แห่ง คือ หมู่บ้านคินเซลล์ และหมู่บ้านแฮริส ตรานี้มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2452 ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัต · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของศรีลังกา

ตราแผ่นดินของศรีลังกา เริ่มใช้วันที่ พ.ศ. 2515 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสกอตแลนด์

ตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ มีกำเนิดในศตวรรษที่15 คือ รูปสิงโตโบราณแห่งสกอต มีลำตัวสีแดง ล้อมรอบด้วยลวดลายกรอบแบบสกอตขอบสีแดง บนพื้นโล่สีเหลือง ส่วนธงประจำราชวงศ์ของสกอตแลนด์ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นเหลือง มีตราสิงโตโบราณแห่งสกอต มีลำตัวสีแดง อยู่ตรงกลางที่ผืนธง ล้อมรอบด้วยลวดลายกรอบแบบสกอตขอบสีแดง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร (Royal coat of arms of the United Kingdom) เป็นตราอาร์มของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรที่ในปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ตรานี้ใช้โดยสมเด็จพระราชินีนาถในโอกาสทางราชการในฐานะพระมหากษัตรีย์แห่งสหราชอาณาจักร และ รู้จักอย่างเป็นทางการว่า “ตราอาร์มแห่งราชอาณาจักร” (Arms of Dominion) ตราอาร์มที่แปลงจากตรานี้ใช้โดยสมาชิกอื่นๆ ในพระราชวงศ์อังกฤษ และ โดยรัฐบาลบริเตนในกิจการที่เกี่ยวกับการบริหารและการปกครองประเทศ ในสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถทรงมีตราที่แปลงจากตรานี้ ซึ่งเป็นตราเดียวกับที่ใช้โดยรัฐบาลสกอตแลนด์ (Scotland Office) โล่ในตราแบ่งสี่ ในช่องที่หนึ่งหรือช่องบนซ้าย และช่องที่สี่หรือล่างขวาเป็นตราสิงห์สามตัวที่เป็นสัญลักษณ์ของอังกฤษ ในช่องที่สองหรือบนขวาเป็นสิงห์ยืนในกรอบล้อมด้วยสัญลักษณ์ดอกลิลลี ที่เป็นสัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ และในช่องที่สามหรือช่องล่างซ้ายเป็นฮาร์พเกลลิค (Clàrsach) ที่เป็นสัญลักษณ์ของไอร์แลนด์เหนือ (การบรรยายเป็นไปตามหลักการให้คำนิยามของตรา) เครื่องยอด (crest) เป็นสิงห์ยืนหันหน้าหน้าสวมมงกุฎอิมพีเรียลสเตทบนหัวและยืนบนสัญลักษณ์ของมงกุฎเดียวกัน ประคองข้าง (Supporters) ด้านซ้ายเป็นสิงห์ยืนผงาดสวมมงกุฎ ประคองข้างด้านขวาเป็นยูนิคอร์นเงินแห่งสกอตแลนด์ ตามตำนานยูนิคอร์นที่เป็นอิสระเป็นสัตว์ที่อันตราย ฉะนั้นยูนิคอร์นที่ใช้ในอิสริยาภรณ์จึงเป็นยูนิคอร์นที่ล่ามโซ่ เช่นเดียวกับยูนิคอร์นสองตัวที่ประคองข้างตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ ตรามีคำขวัญของทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (Dieu et Mon Droit) “พระเจ้าและสิทธิแห่งข้า” และ คำขวัญของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ “ความละอายจงมาสู่ผู้คิดร้าย” (Honi soit qui mal y pense) บนแถบอยู่รอบโล่หลังตร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด

ตราแผ่นดินหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด พ.ศ. 2452 ตราแผ่นดินหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดแบบที่ปรากฏในธงชาติ เริ่มมีการใช้ในช่วงพ.ศ. 2413 จนถึง พ.ศ. 2499 ออกแบบโดย เซอร์ เบนจามิน ไพน์ (Sir Benjamin Pine) ข้าหลวงคนแรกของหมู่เกาะแห่งนี้ ลักษณะเป็นตราวงกลม ภายในเป็นรูปชายฝั่งทะเลมีผลสับปะรดขนาดใหญ่อยู่างกลางชายฝั่งนั้น 1 ลูก และมีผลสับปะรดขนาดเล็กอีก 3 ลูก อยู่ทางขวาของลูกใหญ่ ในทะเลนั้นมีเรือใบ 2 ลอยลำอยู่หน้าเกาะขนาดใหญ่ เหนือรูปเกาะนั้นมีรูปตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักรอย่างย่อ ส่วนตราแผ่นดินที่ใช้สำหรับเอกสารของทางราชการนั้น เริ่มมีการใช้เมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2452 ลักษณะเป็นตราโล่อาร์มขนาดใหญ่พื้นเป็นลายคด 8 แถวตามแนวนอน ภายในมีตราอาร์มของดินแดนต่างๆ ภายใต้การปกครองของหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด ทั้ง 5 แห่ง ดังนี้.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด มีลักษณะเป็นตราอาร์มในพื้นวงกลมสีฟ้า ภายในโล่แบ่งเป็น 4 ส่วน โดยมุมซ้ายบนเป็นพื้นสีแดง มุมขวาบนพื้นสีเหลือง มุมซ้ายล่างพื้นสีเขียว และมุมขวาล่างพื้นสีเทา รอบวงกลมสีฟ้านั้นล้อมรอบด้วยหนังรัดถุงเท้ายาวในเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ ในแถบหนังรัดถุงเท้ายาวมีข้อความอยู่ด้านบนสุด เขียนเป็นภาษาอังกฤษ อักษรโรมันว่า "GOVERNOR-IN-CHIEF" ด้านซ้ายของข้อความดังกล่าวมีอักษร "WINDWARD" ส่วนด้านขวาเป็นอักษร "ISLANDS" เบื้องล่างของตราเป็นแพรแถบสีขาว จารึกข้อความอักษรโรมัน ภาษาลาตินไว้ว่า "I PEDE FAUSTO" (แปลว่า "Go with a lucky foot") รูปดังกล่าวทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้มงกุฎราชินี มงกุฎราชินีที่ปรากฏในตรานี้ เดิมใช้ใช้มงกุฎอิมพีเรียลสเตตเมื่อ พ.ศ. 2429 ต่อมาจึงเปลี่ยนป็นใช้มงกุฎทิวดอร์เมื่อ พ.ศ. 2446.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นตราอาร์มประจำหมู่เกาะบริติชเวอร์จินซึ่งประกาศใช้โดยพระบรมราชานุญาตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) มีลักษณะเป็นตราโล่อาร์มพื้นสีเขียว ภายในเป็นรูปหญิงพรหมจารีย์นุ่งผ้าสีขาวยืนถือตะเกียง 1 ดวง ล้อมรอบด้วยตะเกียงอื่นอีก 11 ดวง เบื้องล่างของโล่มีแพรแถบสีเหลืองจารึกคำขวัญเป็นภาษาละตินใจความ "VIGILATE" แปลว่า "จงตื่นตัวเสมอ" รูปหญิงพรหมจารีย์ถือตะเกียงและและตะเกียงทั้ง 11 ดวง หมายถึงนักบุญอูร์ซุลลา (Saint Ursula) ซึ่งเป็นนักบุญหญิงในคริสต์ศาสนา ซึ่งกล่าวกันว่าได้นำหญิงพรหมจารี 11,000 คน จาริกแสวงบุญไปทั่วทวีปยุโรป กล่าวกันว่าเมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ได้พบหมู่เกาะแห่งนี้ในปี ค.ศ. 1493 ทำให้โคลัมบัสนึกถึงตำนานของนักบุญอูร์ซุลลาข้างต้น และกลายเป็นต้นเหตุแห่งนามหมู่เกาะนี้ในปัจจุบัน จากเรื่องราวดังกล่าว ทางการสหราชอาณาจักรจึงได้เลือกเอารูปดังกล่าวมาใช้เป็นตราแผ่นดินประจำอาณานิคม ดังที่ปรากฏอยู่ในเวลานี้.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์

ตราแผ่นดินหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ แบบปัจจุบัน ประกาศใช้เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2491 ลักษณะเป็นตราโล่อาร์ม ภายในโล่มีรูปแกะกำลังยืนบนหมู่เกาะ เป็นการแสดงถึงปัจจัยหลักทางเศรษฐกิจของหมู่เกาะ ใต้ภาพมีรูปเรือโบราณกำลังแล่นบนแถบคลื่นลายขาว นำเงิน ถัดลงมามีแถบโบว์สีนำตาลพร้อมเขียนคำขวัญว่า"Desire the Right" หมายถึง "ปรารถนาความยุติธรรม" คนที่กล่าวคำอ้างนี้คืออังกฤษ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์น

ตราแผ่นดินหมู่เกาะพิตแคร์น เป็นภาพตราโล่อาร์มพื้นสีฟ้า ส่วนท้องโล่แบ่งมีสีเขียว ซึ่งถูกแบ่งด้วยแนวเส้นทแยงสีเหลือง 2 เส้นที่บรรจบกับส่วนบนสุดของโล่ มีลักษณะคล้ายหัวลูกศรที่เอาปลายขึ้นทางด้านบน ภายในพื้นสีเขียวมีภาพคัมภีร์ไบเบิลสีขาวเหนือสมอสีเหลือง ซึ่งหมายถึงเรือรบหลวงบาว์นตี (เอชเอ็มเอส บาวน์ตี - HMS Bounty) ตอนบนของโล่ประดับด้วยชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะ ประดับด้วยช่อใบมิโล (ชื่อพื้นในท้องถิ่น) มีริ้วสะบัด และรูปรถเข็นล้อเดียว สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้บอกเล่าถึงความเป็นมาของชาวหมู่เกาะพิตแคร์นว่า เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากกะลาสีที่ก่อการจลาจลบนเรือรบหลวงบาวน์ตีในปี พ.ศ. 2332 ตรานี้ประกาศใช้เป็นตราประจำหมู่เกาะพิตต์แคร์นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2512 และใช้ประดับเป็นสัญลักษณ์ในธงชาติปละธงประจำตำแหน่งผู้ว่าการด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์น · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมน

ตราแผ่นดินหมู่เกาะเคย์แมน เป็น ตราแผ่นดินประจำหมู่เกาะเคย์แมน ซึ่งอนุญาตให้ใช้ได้ในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) อยู่ภายในวงกลมสีขาว มีรูปตราโล่ซึ่งแถบสีแดงด้านบนของตรามีรูปสิงโตอังกฤษโบราณอยู่ภายในแถบสีแดง มีคลื่นสี นำเงินและขาวเรียงแถบสลับกันอยู่ด้านล่างมีความหมายถึงเป็นคลื่นทะเล และรูปดาวสีเขียวขอบเหลือง3ดวงทาบอยู่บนคลื่น หมายถึงหมู่เกาะของเคย์แมนมี3แห่ง ได้แก่ หมู่เกาะเคย์แมนใหญ่ หมู่เกาะเคย์แมนเล็ก หมู่เกาะเคย์แมนปราช เหนือตราโล่คือสับปะรด เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์อันดีกับประเทศจาเมกา ส่วนรูปเต่าคือ สัตว์ที่มีมากในหมู๋เกาะนี้ ด้านล่างโล่มีอักษรเขียนจารึกว่า"เขาได้พบมันอยู่เหนือทะเล".

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส

ตราแผ่นดินหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส มีลักษณะเป็นตราอาร์ม พื้นตราเป็นรูปโล่พื้นสีเหลืองขอบสีขาว ภายในดวงตรามีรูปวัตถุ 3 อย่าง ได้แก่ รูปหอยสังข์ที่ด้านซ้ายบน รูปกุ้งมังกรที่ด้านขวาบน และรูปต้นตะบองเพชรที่ตอนกลางล่าง เบื้องซ้ายและเบื้อวขวาของโล่มีรูปนกฟลามิงโกประคองข้าง เหนือโล่นั้นมีรูปนกกระทุงยืนท่ามกลางต้นป่าน 2 ต้น อันเป็นสัญลักษณ์สื่อถึงอุตาสาหกรรมการทำเชือกของประเทศนี้ ดวงตราดังกล่าวนี้เป็นตราอย่างใหญ่ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ได้จากสหราชอาณาจักรเมื่อ ค.ศ. 1965 สำหรับตราย่อของตรานี้ซึ่งใช้อยู่ในธงชาติจะยกเครื่องประกอบอื่นๆ ออกไปทั้งหมด คงไว้เพียงเฉพาะตราโล่เท่านั้น.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอังกฤษ

ตราแผ่นดินของอังกฤษ เป็นรูปสิงโตอังกฤษโบราณ มีลำตัวสีเหลืองทองมีจำนวน 3 ตัวบนพื้นโล่สีแดงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติและทีมนักกีฬาของอังกฤษ ตราแผ่นดินมีลักษณะเป็นโล่มีรูปสิงโตอังกฤษโบราณ3ตัวเรียงบนโล่พื้นสีแดง แต่ตราของทีมนักกีฬาอังกฤษ ใช้ตราแผ่นดินแบบเดียวกันแต่จะดัดแปลงไปตามสมาคมกีฬา อังกฤษ หมวดหมู่:อังกฤษ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของจาเมกา

ตราอาร์มแห่งจาเมกา เป็นตราอาร์มที่สืบทอดมาจากตราอาร์มสมัยภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร โดยตราแบบดั้งเดิมที่สุดนั้นเริ่มใช้เมื่อ ค.ศ. 1661 (พ.ศ. 2204) ภายใต้พระบรมราชานุญาตของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ออกแบบตราโดย วิลเลียม แซนครอฟท์ (William Sancroft) ซึ่งต่อมาได้เป็นที่อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี ส่วนตราที่ใช้ในปัจจุบันนี้เป็นแบบที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) ลักษณะของดวงตรานั้นเป็นรูปโล่อาร์มพื้นขาว มีกากเขนตั้งสีแดงตามอย่างธงชาติอังกฤษ ในกางเขนนั้นมีรูปสับปะรด 5 ลูก แต่ละลูกอยู่ตามกิ่งแต่ละกิ่งของกางเขน 4 ลูก และที่ใจกลางกางเขน 1 ลูก เหนือโล่นั้นเป็นหมวกเกราะ (helmet) สีเหลืองหน้าตรง ประดับด้วยพู่ประดับสีขาว-เหลือง คาดผ้าโพกสีขาว-แดง มีรูปจระเข้หันหน้าไปทางซ้ายเป็นเครื่องยอด ซ้ายขวาของตราทั้งสองข้าวเป็นรูปคนพื้นเมืองยืนประคอง โดยด้านซ้ายเป็นรูปสตรีพื้นเมืองยืนเปลือยอก มือซ้ายประคองตรา มือขวาถือตะกร้าผลไม้ ด้านขวาของตราเป็นรูปบุรุษพื้นเมืองยืนเปลือยอก มือซ้ายถือคันเบ็ด มือขวาประคองตรา เบื้องล่างของรูปเหล่านี้เป็นแพรแถบด้านหน้าสีขาว ด้านหลังสีแดง จารึกภาษิตประจำชาติในแพรแถบเป็นภาษาอังกฤษ "OUT OF MANY, ONE PEOPLE" แปลความว่า "จากหลากหลายรวมเป็นหนึ่ง".

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของดอมินีกา

ตราแผ่นดินของดอมินีกา ในสมัยอาณานิคมอังกฤษ ใช้ตราอาร์มแผ่นดินในยุคเมืองขึ้นมี 2 แบบ ดังนี้คือ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของดอมินีกา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของคิริบาส

ตราแผ่นดินของคิริบาส เป็นโล่อาร์มรูปคลื่นน้ำทะเล บนพื้นโล่คือท้องฟ้าสีแดง มีดวงอาทิตย์สีเหลืองตกลงน้ำ หมายถึง มหาสมุทรแปซิฟิก ในเวลาที่ดวงอาทิตย์ส่องแสงก่อนตกดิน กลางท้องฟ้าสีแดงมีนกชนิดหนึ่งชื่อนกไฟรเกตสีเหลือง (นกไฟรเกตคือ นกทะเลชนิดหนึ่ง บินเร็ว ขาสั้น) กำลังบิน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของคิริบาส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของแองกวิลลา

ตราแผ่นดินของแองกวิลลา เป็นรูปโลมาสีส้ม 3 ตัว ขดกันเป็นวงกลม หมายถึงความแข็งแกร่ง การร่วมมือร่วมใจเป็นนำหนึ่งใจเดียวกัน อยู่บนพื้นท้องฟ้าสีขาวในสัญลักษณ์และพื้นธง หมายถึงความสงบและสันติภาพ ส่วนแถบสีฟ้าแทนท้องน้ำทะเล หมายถึงความเยาว์วัยและความหวัง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของแคนาดา

ตราแผ่นดินของแคนาดา (มีชื่อเรียกอย่าไม่เป็นทางการว่า ตราอาร์มแห่งแคนาดา หรือมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ตราแผ่นดินของแคนาดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร) และ ใช้เป็นตราประจำพระประมุขสูงสุดแห่งแคนาดา ประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยได้รับแรงบันดาลใจจากการออกแบบตราจากตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร พร้อมกับมีการปรับแก้ไขลักษณะบางอย่างของตราให้เหมาะสม.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไอร์แลนด์เหนือ

ตราแผ่นดินของนอร์เทิร์นไอร์แลนด์ เป็นตรามือสีแดงแห่งอูลสเตอร์อยู่ในดาวสีขาวมี 6 แฉกอยู่ใต้มงกุฎราชินี โดยตราแผ่นดินนี้ได้รับพระราชทานจากพระเจ้าจอร์จที่ 5 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไนจีเรีย

ห ตราแผ่นดินของไนจีเรีย ประกอบด้วยแถบวายลูกคลื่นสีขาวบนอาร์มพื้นสีดำ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบลีซ

ตราแผ่นดินของเบลีซ ประกอบด้วยรูปโล่ซึ่งภายในแบ่งเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วยภาพขวานและไม้พายไขว้ในพื้นสีขาวที่ช่องซ้ายบน รูปขวานกับเลื่อยไขว้กันในพื้นสีเหลืองที่ช่องขวาบน และภาพเรือใบแล่นในทะเลบนพื้นสีฟ้าช่องล่างกลาง เบื้องหลังโล่นี้มีภาพต้นมะฮอกกานี เบื้องซ้ายของโล่เป็นภาพคนงานผิวเหลืองแบกขวาน เบื้องขวาเป็นรูปคนงานผิวดำแบกพาย ทั้งสองคนนี้ยืนประคองรูปโล่ เบื้องล่างของภาพทั้งหมดมีคำขวัญประจำชาติในแพรแถบสีขาว เป็นข้อความภาษาละตินใจความว่า "Sub Umbra Floreo" (อันอาจแปลได้ว่า "เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา") ภาพทั้งหมดมีความหมายถึงอุตสาหกรรมไม้มะฮอกกานี ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของชาติ ตรานี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2450.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2453 โดยมีที่มาจากเหตุการณ์ที่เรือของอังกฤษที่นำโดยเซอร์จอร์จ ซอมเมอร์แตกอยู่ นอกชายฝั่งเบอร์มิวดาระหว่างทางมุ่งสู่เวอร์จิเนีย ภาพทีอยู๋ในโล่ที่สิงห์โตคาลีบานถือโล่อันเล็ก (สิงห์โตคาลีบาน คือสัตว์ในตำนานเป็นมนุษย์ที่มีอุปนิสัยคล้ายสัตว์ตัวหนึ่ง) โล่แสดงภาพเรือเดินสมุทรชนโขดหินโสโครกจนล่มลงท้องทะเล ในมหาสมุทรมีเกลียวคลื่นเกิดจากฟองของแก๊สมีเทน โดยแก๊สดังกล่าวอยู่ใต้ท้องทะเลในบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา โดยเมื่อแก๊สเหล่านี้ขึ้นสู่พื้นผิว มันจะทะยานสู่อากาศ และขยายตัวเป็นวงกว้างและก่อตัวเป็นฟองแก๊สขนาดใหญ่ เมื่อเรือลำใดผ่านเข้าไปในบริเวณนั้น ก็จะเข้าไปสู่ฟองแก๊สมีเทนขนาดยักษ์ จนทำให้เรือเหล่านี้สูญเสียการควบคุม และจมลงในที่สุด ซึ่งตราอาณานิคมดังที่ได้กล่าวมาข้า่งต้น โดยมูลเหตุของการออกแบบตราดังกล่าวนี้ บอกเล่าถึงที่มาของอาณานิคมแห่งนี้ว่าผู้ก่อตั้งอาณานิคมเป็นลูกเรือซีเวนเจอร์ (Sea Venture) ซึ่งจมลงในปี ค.ศ. 1609 (พ.ศ. 2152) โดยมาจากวรรณกรรมของ วิลเลียม เชคสเปียร์ ที่ประพันธ์บทละครเรื่องหนึ่ง ชื่อเรื่อง The Thempest ขึ้นในปี พ.ศ. 2154 สิงห์โตคาลีบานถือโล่ที่บรรจุภาพดังกล่าว อันเล็ก อยู่ในโล่ใหญ่พื้นสีขาวโดย สิงห์โตคาลีบานยืนถือโล่อันเล็กบนแถบสีเขียวขนาดเล็ก ที่บนผืนหญ้า ตราแผ่นดิน (ตราอาณานิคม) ในยุคแรกเมื่อปีค.ศ. 1875 (พ.ศ. 2418) โดยมีลักษณะเป็นรูปเรือสามลำที่แล่นในมหาสมุทร โดยเรือลำใหญ่ที่อยู่ตรงกลางกำลังแล่นเข้าสู่อู่แห้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าในความเป็นจริงที่ว่าเกาะแห่งนี้คือฐานสำหรับการหยุดพักระหว่างการสัญจรทางเรือ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2528 ก่อนหน้านี้เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชขึ้นอยู่กับหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ และใช้ตราแผ่นดินเดียวกัน ก่อนหน้..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเวลส์

ตราแผ่นดินของเวลส์ มีต้นกำเนิดในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เป็นตราอาร์มที่สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราประจำอาณานิคมเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ของสหราชอาณาจักรตั้งแต่พ.ศ. 2420 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ลักษณะของที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เป็นรูปหญิงพรหมจารีย์ 2 คน นุ่งผ้าแบบโบราณ หันหน้าเข้าหากัน ระหว่างรูปหญิงทั้งสองนั้นมีแท่นขนาดเล็กสีทอง คนหนึ่งทางซ้ายยืนถือช่อมะกอก ส่วนอีกคนหนึ่งทางขวานั่งคุกเข่า มือถือจานชั่งอยู่เหนือแท่นทอง รูปดังกล่าวอยู่ในกรอบโล่พื้นขาว ตอนล่างเป็นสีเขียว เหนือโล่นั้นเป็นผ้าโพกสีน้ำเงิน-เหลือง-เขียว (สีธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์) ประดับด้วยช่อดอกฝ้ายเป็นเครื่องยอด เบื้องล่างของตราเป็นแพรแถบสีขาว ด้านหลังเป็นสีแดง จารึกคำขวัญประจำชาติเป็นภาษาละตินว่า "Pax et justitia" หมายถึง "สันติภาพและความยุติธรรม".

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนา

ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนนา ตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนา แบบปัจจุบัน ประกาศใช้เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2527 ลักษณะเป็นตราโล่อาร์ม แบ่งภายในโล่ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนหัวโล่นั้น เป็นรูปนกกางเขนยืนผินหน้าไปทางซ้ายบนพื้นสีเหลือง เบื้องล่างอันเป็นส่วนท้องโล่ เป็นภาพเรือรบสามเสา ซึ่งชักธงกางเขนแห่งเซนต์จอร์จไว้ที่ท้ายเรือ ลอยลำอยู่ในท้องทะเล เบื้องหน้าของเรือลำนั้น มีรูปภูเขาโผล่พ้นน้ำอยู่ 2 ลูก คือ เกาะเซนต์เฮเลนา เดิมเซนต์เฮเลนา ใช้ตราแผ่นดินแบบเก่าเมื่อ พ.ศ. 2482 ลักษณะเป็นตราโล่อาร์ม แต่กรอบของโล่เป็นลวดลายแบบคลาสสิก ภายในเป็นภาพเรือรบสามเสา ลอยลำอยู่ในท้องทะเล ซึ่งรายละเอียดของตราแผ่นดิน ได้กล่าวไว้ข้างต้น.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเซนต์เฮเลนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวลส์

วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 1825 (ค.ศ. 1282) โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษทรงเข้ายึดครอง ต่อมาเมืองหลวงของเวลส์ถูกย้ายจากคายร์นาร์วอน (ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าชายเวลส์) มาที่คาร์ดิฟฟ์ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

นกยูง

นกยูง (Peacock, Peafowl) เป็นสัตว์ปีกจำพวกไก่ฟ้าขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ มีจุดเด่นคือ เพศผู้มีขนหางยาวที่มีสีสันสวยงาม ที่เมื่อแผ่ขยายออกเพื่ออวดเพศเมียจะมีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง ที่เรียกว่า "รำแพน" นกยูงใช้ชื่อสกุลว่า Pavo ชอบอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบผสมตามริมลำธารในป่า มีพฤติกรรมมักร้องตอนเช้าหรือพลบค่ำ กินอาหารจำพวกเมล็ดพืช แมลง และสัตว์เล็ก ๆ มีการกระจายพันธุ์อยู่ทางเหนือของประเทศอินเดียไปทางทิศตะวันออกผ่านพม่า, ตอนใต้ของประเทศจีน, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซียและชวา นกยูงแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ นกยูงไทยตัวผู้ขณะรำแพน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและนกยูง · ดูเพิ่มเติม »

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2369 โดยในตอนแรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดินแดนที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2410 ได้กลายเป็นอาณานิคมอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลสหราชอาณาจักรอย่างเต็มตัว และได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและนิคมช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

นครลอนดอน

นาคารกลางอังกฤษ, ธนาคารกลางของสหราชอาณาจักร นครลอนดอน (City of London) ในทางภูมิศาสตร์เป็นพื้นที่ตอนกลางของลอนดอน ประเทศอังกฤษ นครแห่งนี้ในอดีตเป็นหัวใจสำคัญของลอนดอน เขตแดนของตัวเมืองแทบจะไม่เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ยุคกลาง และดังนั้นมันจึงเป็นส่วนเล็ก ๆ ในเกรเทอร์ลอนดอนซึ่งใหญ่กว่ามาก ในภาษาอังกฤษ นครลอนดอนถูกเรียกย่อ ๆ ว่า พระนคร (The City - เดอะ ซิตี้) หรือ Square Mile (สแควร์ไมล์) เนื่องจากพื้นที่ในนครแทบจะเท่ากับหนึ่งตารางไมล์ (สแควร์ไมล์ แปลว่า ตารางไมล์ ประมาณ 2.6 กม.²) นครลอนดอนไม่ใช่หนึ่งใน 32 ลอนดอนบุรี มีฐานะเป็นมณฑลในประเทศอังกฤษ เทียบเท่ากับเกรเทอร์ลอนดอน เพียงแค่อยู่ในขอบเขตของเกรเทอร์ลอนดอนเท่านั้น จึงไม่ได้หมายความว่ามณฑลแห่งนี้จะเป็นหนึ่งในลอนดอนบุรี ในยุคกลาง นครเต็มเป็นขอบเขตการขยายอย่างเต็มที่ของลอนดอน หลังจากนั้น ได้มีการแยกเขตเวสต์มินสเตอร์ออกมา ซึ่งต่อมากลายเป็นนครเวสต์มินสเตอร์ ขณะนี้คำว่า ลอนดอน ส่วนใหญ่หมายถึงบริเวณตัวเมืองที่ขยายออกแต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของลอนดอน ซึ่งรวม 'นคร' ทั้งสองเอาไว้ด้วย นครหลวงลอนดอนยังคงเป็นส่วนหนึ่งของใจกลางเมืองลอนดอน ทุกวันนี้ นครลอนดอนเป็นศูนย์กลางทางการค้าขาย การลงทุน และธุรกิจ ซึ่งอยู่ในระดับเดียวกับนิวยอร์กซิตีในฐานะศูนย์กลางผู้นำของการลงทุนทั่วโลก นครถูกปกครองโดยบรรษัทนครลอนดอน ที่มีความรับผิดชอบแปลก ๆ บางอย่างสำหรับหน่วยงานปกครองท้องถิ่น เช่น เป็นหน่วยงานตำรวจสำหรับนครหลวง นอกจากนี้มันยังมีความรับผิดชอบและการเป็นเจ้าของที่วางอยู่บนขอบเขตนครหลวง คำขวัญภาษาละตินของนครลอนดอน คือ "Domine dirige nos" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "พระเจ้าทรงนำทางพวกเรา".

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและนครลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

แฮมป์เชอร์

ที่ตั้งของมณฑลแฮมป์เชอร์ แฮมป์เชอร์ หรือ แฮมป์เชียร์ (Hampshire,; ย่อ Hants) หรือ “มณฑลเซาท์แธมพ์ตัน” บางครั้งก็เคยเรียกว่า “เซาท์แธมป์ตันเชอร์” หรือ “แฮมป์ตันเชอร์” แฮมป์เชอร์เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางฝั่งทะเลด้านใต้ของอังกฤษโดยมีวินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวง แฮมป์เชอร์มีเขตแดนติดกับดอร์เซ็ท, วิลท์เชอร์, บาร์คเชอร์, เซอร์รีย์ และ เวสต์ซัสเซ็กซ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและแฮมป์เชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนกันยีกา

แทนกันยีกา (Tanganyika) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในภายหลัง สาธารณรัฐแทนกันยีกา เป็นรัฐเอกราชในแอฟริกาตะวันออกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบดฟอร์ดเชอร์

อกกล้วยไม้ผึ้งดอกไม้ประจำเทศมณฑลเบดฟอร์ดเชอร์ เบดฟอร์ดเชอร์ (Bedfordshire) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักร ที่มีฐานะเป็นมณฑลภูมิศาสตร์และมณฑลในประวัติศาสตร์ที่เป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันออกของอังกฤษ เบดฟอร์ดเชอร์มีเขตแดนติดกับเคมบริดจ์เชอร์, นอร์ทแธมป์ตันเชอร์, บัคคิงแฮมเชอร์ และ ฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ จุดที่สูงที่สุดอยู่ที่ดันสตเบิลดาวน์สในชิลเทิร์นสที่สูง 243 เมตร ส่วนหนึ่งของการส่งเสริมเบดฟอร์ดเชอร์ทางการตลาดในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเบดฟอร์ดเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสเซกซ์

อสเซ็กซ์ (Essex) เป็นมณฑลหนึ่งทางตะวันออกของอังกฤษ เมืองเอกคือ เชล์มสฟอร์ด (Chelmsford) จุดที่สูงที่สุดของมณฑลนี้คือที่ Chrishall Common ใกล้กับหมู่บ้านแลงลีย์ (Langley) ซึ่งมีความสูง 144.6 เมตร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเอสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ

้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ. 2490.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์

้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ (ริชาร์ด อเล็กซานเดอร์ วอลเตอร์ จอร์จ; ประสูติ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2487) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งกลอสเตอร์ตั้งแต่พระบิดาสิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2525) เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์และเลดีไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ทรงอยู่อันดับที่สองของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและประเทศต่าง ๆ ในเครือจักรภพอังกฤษอีก 16 ประเทศ แม้พระองค์จะประทับอยู่ในสหราชอาณาจักรเป็นส่วนใหญ่ก็ตาม ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก

รอยัลไฮเนส เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก (HRH The Prince Andrew, Duke of York) (แอนดรูว์ อัลเบิร์ต คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด เมานต์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งยอร์กมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และทรงอยู่ในอันดับที่เจ็ดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์

ตราประจำเจ้าฟ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ เจ้าฟ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ (ไมเคิล จอร์จ ชาร์ลส์ แฟรงกลิน; ประสูติ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ พระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ เจ้าชายไมเคิล ไม่ดำเนินการอย่างเป็นทางการดีเลิศหน้าที่เพื่อประโยชน์ของลูกพี่ลูกน้อง สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ถึงแม้ว่าพระองค์ได้แสดงสมเด็จพระราชินีนาถในฟังก์ชันจำนวนหนึ่งแพร่หลายพระองค์จัดการธุรกิจด้วยตัวพระองค์เองและเข้าทำงานธุรกิจต่างๆรอบโลก พระองค์ได้แสดงโทรทัศน์จำนวนหนึ่งบนพระบรมราชวงศ์ยุโรป พระองค์ตั้งชื่อเดียวกันกับแกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานดรอฟวิชแห่งรัสเซีย พระอัยกาของพระอง.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์

อมพล เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเคนต์ (His Royal Highness Prince Edward, Duke of Kent) (เอ็ดเวิร์ด จอร์จ นิโคลัส พอล แพทริค; ประสูติ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2478) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงฐานันดรศักดิ์เป็น ดยุกแห่งเคนต์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2485 ดยุคแห่งเคนต์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจแทนสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระญาติชั้นที่หนึ่ง บางครั้งทรงเป็นที่รู้จักอย่างดีที่สุดในฐานะประธานสโมสรคร็อกเก็ตและเทนนิสแห่งอังกฤษ (All England Lawn Tennis and Croquet Club) โดยทรงมอบรางวัลเป็นโล่เกียรติยศแก่ผู้ชนะเลิศการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดันชาย อีกทั้งยังทรงเป็นผู้แทนพิเศษด้านการค้าและการลงทุนแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งทรงเกษียณในปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์

้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี ริชาร์ด หลุยส์ (HRH Prince Edward, Earl of Wessex; ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ. 2507) ทรงเป็นพระบรมวงศ์ในราชวงศ์อังกฤษ โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ (Earl of Wessex) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 และในปัจจุบันทรงอยู่ในอันดับที่สิบของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์

้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ (Prince Harry, Duke of Sussex) หรือ เจ้าชายเฮนรี ชาลส์ อัลเบิร์ต เดวิด (Prince Henry Charles Albert David; ประสูติ 15 กันยายน พ.ศ. 2527) ทรงเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าชายแฮร์รี (Prince Harry) เป็นพระโอรสพระองค์เล็กในเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์และไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ พระองค์ทรงอยู่ในอันดับที่ 6 ของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและดินแดนในเครือจักรภพอังกฤษ ในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์ทรงดำรงยศทหารชั้นร้อยตรี (ซึ่งรู้จักกันในกองพันว่า Cornet) ในกองพันทหาร Blues and Royals ของกรมทหารม้ารักษาวังแห่งกองทัพบกอังกฤษ พระองค์ทรงเป็นผู้บัญชาการรถถัง ซึ่งได้รับการฝึกมาให้นำกลุ่มทหาร 12 นายในหน่วยยานพาหนะลาดตระเวนหุ้มเกราะ พระอิสริยยศเดิมในแบบเต็มของเจ้าชายแฮร์รีคือ เจ้าชายเฮนรีแห่งเวลส์ (His Royal Highness Prince Henry of Wales) แม้ว่ามีพระนามเรียกโดยทั่วไปว่า เจ้าชายแฮร์รี พระองค์ทรงใช้นามสกุล "เวลส์" เช่นเดียวกับพระเชษฐา เมื่อทรงเข้ารับการฝึกอบรมทางทหาร ราชสกุลแบบทางการของพระองค์คือ "วินด์เซอร์" ตามพระบรมราชโองการของพระอัยยิกาในปี..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี

้าหญิงอเล็กซานดรา เดอะฮอนอเรเบิล เลดีโอกิลวี (อเล็กซานดรา เฮเลน เอลิซาเบธ โอลกา คริสตาเบล; ประสูติ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2479) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเซอร์ แองกุส โอกิลวี โดยก่อนการอภิเษกสมรส พระองค์มีพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเคนต์ และมีพระนามเรียกเล่นในหมู่พระประยูรญาติว่า "อเล็กซ์" เจ้าหญิงอเล็กซานดราได้ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจมากมายในนามสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระญาติชั้นที่หนึ่ง พระองค์ทรงอยู่ในอันดับที่สามสิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและเมื่อตอนประสูติในปี พ.ศ. 2479 ทรงอยู่ในอันดับที่หก เมื่อพระองค์เสด็จเยือนประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2502 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เพลงระหว่างรอรับเสด็จ เพื่อเป็นการต้อนรับ ซึ่งเพลงนี้มีชื่อว่า Alexandra ซึ่งต่อมานำมาใส่คำร้องภาษาไทย เป็นเพลง แผ่นดินของเร.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี

้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ. 2503 พระราชกุมารีทรงเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีจากการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจการกุศลนานาประการ และทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์พระองค์เดียวที่ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก

้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก (Princess Beatrice of York หรือ เบียทริซ เอลิซาเบท แมรี (Beatrice Elizabeth Mary (ประสูติ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กกับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เจ้าหญิงทรงอยู่ในอันดับที่แปดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และทรงเป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกที่ประสูติในพระราชวงศ์นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2493.

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพ

รือจักรภพ (commonwealth) เป็นคำภาษาอังกฤษเดิมใช้กับชุมชนการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในอดีต บางครั้งคำนี้สมนัยกับ "สาธารณรัฐนิยม" ภายหลังคำนี้ใช้กับสมาคมรัฐเอกราช ที่โดดเด่นที่สุด คือ เครือจักรภพแห่งชาติ สมาคมสำหรับอดีตสมาชิกจักรวรรดิอังกฤษเป็นหลัก มักเรียกย่อเป็น "เครือจักรภพ".

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

เซาเทิร์นโรดีเชีย

ซาเทิร์นโรดีเชีย (Southern Rhodesia) เป็นชื่อของอาณานิคมปกครองตนเองของอังกฤษ ตั้งอยู่ทางเหนือของแม่น้ำลิมโปโปกับสหภาพแอฟริกาใต้ พื้นที่ซึ่งเซาเทิร์นโรดีเชียครอบครองอยู่ถูกเรียกว่า "ซิมบับเว" มาตั้งแต..

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเซาเทิร์นโรดีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์เฮเลนา

ซนต์เฮเลนา เป็นเกาะภูเขาไฟและอยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร อยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะใกล้เคียงก็อยู่ในเครือจักรภพเช่นกัน ทั้งเกาะแอสเซนซันและตริสตัน ดา กุนญา เซนต์เฮเลนาเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่จักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ตแห่งฝรั่งเศส ถูกเนรเทศไปที่เกาะนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2358 จนสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2364 สถานที่สำคัญคือ ลองวู้ด เฮาส์ (Longwood House) อันเป็นสถานที่ที่นโปเลียนพำนักระหว่างการเนรเทศอยู่ และแซน แวลลี (Sane Valley) ซึ่งที่ฝังพระศพ เกาะนี้เคยเป็นของฝรั่งเศสจนกระทั่งกลายมาเป็นของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2401 เซนต์เฮเลนาเป็นสมาชิกของสมาคมการกีฬาหมู่เกาะนานาชาติ (International Island Games Associetion).

ใหม่!!: รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรและเซนต์เฮเลนา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อธงชาติอดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักรธงชาติอดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักรธงต่าง ๆ ในสหราชอาณาจักรธงต่าง ๆ ในประเทศสหราชอาณาจักรธงต่างๆ ในประเทศสหราชอาณาจักรธงในสหราชอาณาจักร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »