เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ

ดัชนี ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ

งสหภาพ ธงเรือของปาเลสไตน์ในอาณัติ ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ ค.ศ. 1920 จนถึง ค.ศ. 1948 ในทางพฤตินัย ธงชาติสหราชอาณาจักร หรือ ธงสหภาพ สำหรับใช้ในหน่วยราชการอย่างเป็นทางการ.

สารบัญ

  1. 12 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2463พ.ศ. 2470พ.ศ. 2491ยิวยูเนียนแจ็กอาหรับธงชาติอิสราเอลธงชาติจอร์แดนธงชาติปาเลสไตน์ทวีปแอฟริกาทวีปเอเชียปาเลสไตน์ในอาณัติ

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและพ.ศ. 2463

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและพ.ศ. 2470

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและพ.ศ. 2491

ยิว

ว อาจหมายถึง.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและยิว

ยูเนียนแจ็ก

งสหภาพ (Union Flag) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ยูเนียนแจ็ก (Union Jack) เป็นธงชาติสหราชอาณาจักร ทั้งยังได้รับการใช้อย่างเป็นทางการและกึ่งทางการในรัฐสมาชิกเครือจักรภพบางรัฐ เช่น ในประเทศแคนาดาที่ซึ่งธงนี้มีนามตามกฎหมายว่า "ราชธวัชสหภาพ" (Royal Union Flag) ธงสหภาพยังใช้อย่างเป็นทางการในดินแดนโพ้นทะเลบางดินแดนของอังกฤษ ทั้งยังปรากฏในธงของบางประเทศซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นอังกฤษด้วย ธงสหภาพมีกำเนิดย้อนหลังไปถึงปี 1603 เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ เสวยราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ เป็นอันรวมแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์เป็นสหภาพหนึ่งเดียว กระนั้น แต่ละรัฐยังคงดำรงเอกราชอยู่มิได้ขึ้นแก่กัน วันที่ 12 เมษายน 1606 จึงมีการตราพระราชกฤษฎีกาให้มีธงใหม่เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ระหว่างประเทศอังกฤษและประเทศสกอตแลนด์ พระราชกฤษฎีกานี้ให้รวมธงอังกฤษ (ธงพื้นขาวมีกางเขนสีชาดซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญจอร์จ" อยู่ตรงกลาง) เข้ากับธงสกอตแลนด์ (ธงพื้นน้ำเงินมีกางเขนไขว้สีขาวซึ่งเรียก "กางเขนนักบุญแอนดรูว" อยู่ตรงกลาง) เรียกว่า "ธงแห่งบริเตนใหญ่" ซึ่งก็คือ ธงผืนแรกแห่งสหภาพ รูปแบบปัจจุบันของธงสหภาพมีขึ้นในสหภาพบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เมื่อปี 1801, from the Flag Institute site.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและยูเนียนแจ็ก

อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและอาหรับ

ธงชาติอิสราเอล

งชาติอิสราเอล เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2491 หลังจากการประกาศสถาปนาประเทศได้ 5 เดือน ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีขาว กว้าง 8 ส่วน ยาว 11 ส่วน กลางธงมีรูปดาวหกแฉกสีฟ้า อยู่ระหว่างแถบสีฟ้า 2 แถบ ที่พาดผ่านตอนบนและตอนล่างของธง โดยสีฟ้าหรือสีน้ำเงินในธงชาติและธงต่างๆ ของอิสราเอลนั้น มีระดับความเข้มที่แตกต่างกันออกไป เฉพาะสีฟ้าในธงชาตินั้น เป็นชนิดที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "dark sky-blue"Israel Ministry of Foreign Affairs publication by art historian Alec Mishory, wherein he quotes "The Provisional Council of State Proclamation of the Flag of the State of Israel" made on October 28, 1948 by Joseph Sprinzak, Speaker.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและธงชาติอิสราเอล

ธงชาติจอร์แดน

งชาติจอร์แดน (علم الأردن) เป็นธงที่ดัดแปลงลักษณะมาจากธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ซึ่งใช้เป็นสัญลักษณ์ในการต่อต้านจักรวรรดิออตโตมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีดำ สีเขียว และสีขาว แบ่งตามแนวนอนของธง ความกว้างเท่ากันทุกแถบ ที่ด้านคันธงนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีแดง ภายในรูปนั้นมีดาวเจ็ดแฉกสีขาว 1 ดวง สีของธงนี้ทั้งหมดเป็นสีพันธมิตรอาหรับ ในธงนี้ แถบสีดำหมายถึงแคว้นกาหลิบอับบาซิด (Abbasid Caliphate) แถบสีเขียวหมายถึงแคว้นกาหลิบอูมายยัด (Umayyad Caliphate) แถบสีขาว หมายถึง แคว้นกาหลิบฟาติมิด (Fatimid Caliphate) รูปสามเหลี่ยมสีแดงหมายถึงอาณาจักรฮัชไมต์ (Hashemite) และการปฏิวัติอาหรับ ดาวเจ็ดแฉกสีขาว ซึ่งเป็นสิ่งเดียวที่ทำให้แยกความแตกต่างของธงนี้จากธงชาติปาเลสไตน์ได้ มีความหมายอยู่ 2 นัย นัยหนึ่งหมายถึงบทสวดในซูเราะฮ์ 7 บทแรกในพระคัมภีร์อัลกุรอาน อีกนัยหนึ่งหมายถึงความสามัคคีของชนชาวอาหรับ ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งยังเชื่อกันว่าดาวนี้หมายถึงเนินเขา 7 ลูกซึ่งอยู่ในที่ตั้งของกรุงอัมมาน เมืองหลวงของประเทศ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและธงชาติจอร์แดน

ธงชาติปาเลสไตน์

23px ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ (พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2501) สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ (علم فلسطين) มีที่มาจากธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ และ ใช้แทนประชาชนชาวปาเลสไตน์ในทาง (พฤตินัย) ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและธงชาติปาเลสไตน์

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและทวีปแอฟริกา

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและทวีปเอเชีย

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (Mandatory Palestine; فلسطين; פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י), where "EY" indicates "Eretz Yisrael") เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขต จักรวรรดิออตโตมัน และ ซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ.

ดู ธงปาเลสไตน์ในอาณัติและปาเลสไตน์ในอาณัติ