โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย

ดัชนี รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย

หมายเลข 4 col-end ทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย มีการกำหนดหมายเลขทางหลวงตามภูมิภาค ซึ่งแบ่งโดยกรมทางหลวง ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง และภาคใต้ โดยจะใช้หมายเลขตัวแรกในการบอกภาคที่ตั้งของเส้นทาง สำหรับบทความรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย จะจำแนกตามระบบหมายเลขทางหลวง ดังนี้.

12 ความสัมพันธ์: กรมทางหลวงภาคกลาง (ประเทศไทย)ภาคอีสาน (ประเทศไทย)ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)ภาคใต้ (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 1รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 4ทางหลวงในประเทศไทย

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและกรมทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)

ตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเท.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและภาคตะวันออก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)

ตะวันตก เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศไทยในระบบการแบ่งแบบ 6 ภูมิภาคตามคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และเป็นภูมิภาคย่อยของภาคกลางของระบบการแบ่งแบบ 4 ภูมิภาค (ซึ่งรวมภาคตะวันออก และภาคตะวันตก) ภาคตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทางทิศตะวันออก และติดต่อกับภาคใต้ทางทิศใต้ ภาคตะวันตกประกอบไปด้วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด แม้ว่าจะจัดรวมอยู่ในภาคตะวันตก แต่ในภูมิภาคนี้ยังมีความหลากหลาย ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ซึ่งแตกต่างกันค่อนข้างมาก.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและภาคตะวันตก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 1

ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วยเลข 1 สำหรับทางหลวงแผ่นดินที่อยู่ในภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลาง และบางส่วนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 1 · ดูเพิ่มเติม »

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2

ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วยเลข 2 สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางส่วนในภาคเหนือ และภาคกลาง.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 3 สำหรับภาคกลาง รวมภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และบางส่วนในภาคใต้.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 4

ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 4 สำหรับภาคใต้.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 4 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงในประเทศไทย

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางหลวงในประเทศไทย เป็นเครือข่ายของทางหลวงที่อยู่ในประเทศไทย โดยปกติมักหมายถึงทางหลวงแผ่นดินซึ่งอยู่ในความควบคุมของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ทางหลวงในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติทางหลวง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ได้แก่ ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงชนบท ทางหลวงท้องถิ่น และทางหลวงสัมปทาน ทั้งนี้ กรมทางหลวงรับผิดชอบดูแล 3 ประเภท คือ ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน นอกจากทางหลวง 5 ประเภทดังกล่าว ยังมี ทางพิเศษ ที่รับผิดชอบในการก่อสร้างและบูรณะทางด่วนโดย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย และการดำเนินการก่อสร้างทางเฉพาะกิจของหน่วยงานต่าง.

ใหม่!!: รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยและทางหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายชื่อทางหลวงแผ่นดินรายชื่อทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยรายชื่อทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยที่มีหมายเลขสี่ตัวทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทยทางหลวงแผ่นดินไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »