เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

ดัชนี รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

''N. mirabilis'' × ''N. sumatrana'', ลูกผสมหายากที่พบในสุมาตรา รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นการรวบรวมรายชื่อลูกผสมทางธรรมชาติของพืชกินสัตว์ในสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง ลูกผสมชนิดใดไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันข้างหลังชื่อ.

สารบัญ

  1. 77 ความสัมพันธ์: พืชกินสัตว์รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิงสปีชีส์หม้อข้าวหม้อแกงลิงหม้อแกงลิงอินโดจีนอนุกรมวิธานประเทศฟิลิปปินส์ประเทศสิงคโปร์ประเทศออสเตรเลียประเทศไทยน้ำเต้าพระฤๅษีน้ำเต้าลมโกตากีนาบาลูเกาะบอร์เนียวเกาะสุมาตราเกาะซูลาเวซีเกาะนิวกินีเขนงนายพรานNepenthes alataNepenthes albomarginataNepenthes aristolochioidesNepenthes × ferrugineomarginataNepenthes × hookerianaNepenthes × kuchingensisNepenthes × merrilliataNepenthes × sarawakiensisNepenthes × sharifah-hapsahiiNepenthes × truncalataNepenthes × tsangoyaNepenthes × ventrataNepenthes beccarianaNepenthes bicalcarataNepenthes bongsoNepenthes burbidgeaeNepenthes campanulataNepenthes carunculataNepenthes chanianaNepenthes densifloraNepenthes faizalianaNepenthes fallaxNepenthes flavaNepenthes fuscaNepenthes glabrataNepenthes glanduliferaNepenthes globosaNepenthes gracilisNepenthes gracillimaNepenthes hamataNepenthes hurrelliana... ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »

  2. รายชื่อพืช

พืชกินสัตว์

''Nepenthes mirabilis'' ที่ขึ้นอยู่ริมถนน พืชกินสัตว์ (carnivorous plant) คือ พืชที่ได้สารอาหารบางส่วนหรือส่วนใหญ่ (แต่ไม่รวมถึงพลังงาน) จากการดักและบริโภคสัตว์หรือสัตว์เซลล์เดียวซึ่งปรกติได้แก่แมลงและสัตว์ขาปล้องเหล่าอื่น ๆ โดยเป็นผลจากการปรับตัวให้อยู่รอดในดินที่มีสารอาหารน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน เช่น ดินที่มีสภาพเป็นกรด หิน ฯลฯ ศาสตรนิพนธ์อันเลื่องชื่อฉบับแรกซึ่งว่าด้วยพืชชนิดนี้นั้นเป็นผลงานของชาลส์ ดาร์วิน เมื่อปี..

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและพืชกินสัตว์

รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

การกระจายพันธุ์ของหม้อข้าวหม้อแกงลิง รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง นี้ได้รวมทุกชนิดที่เป็นที่รู้จักในสกุลของพืชกินสัตว์วงศ์หม้อข้าวหม้อแกงลิง โดยจำแจกตามลักษณะภูมิศาสตร์ที่ค้นพบ ถ้าชนิดไหนไม่ใช่พืชถิ่นเดียวจะมีเครื่องหมายดอกจันหลังชื่อนั้น.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและรายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง

สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและสปีชีส์

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและหม้อข้าวหม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและหม้อแกงลิง

อินโดจีน

มุทรอินโดจีน เมื่อปี ค.ศ. 1886 '''อินโดจีน''': สีเขียวเข้ม: นับรวมเสมอ, สีเขียวอ่อน: นับรวมเป็นส่วนใหญ่, สีแดง: นับรวมเป็นบางครั้ง'''ภูมิภาคอินโดจีน''' (ชีววิทยา): สีเขียวเข้มและอ่อน อินโดจีน (Indochina) หรือ คาบสมุทรอินโดจีน (Indochinese Peninsula) เป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกมาจากแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย และเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มาของชื่อว่าอินโดจีนนั้น ก็เพราะว่าคาบสมุทรนี้ตั้งอยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และทางตะวันออกของประเทศอินเดีย คำว่า "Indochina" มีที่มาจากคำว่า Indochine ในภาษาฝรั่งเศส และถูกใช้ในระหว่างยุคล่าอาณานิคม ในทางประวัติศาสตร์แล้ว ประเทศในอินโดจีนส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน ซึ่งแต่ละประเทศต่างก็รับเอาวัฒนธรรมจากทั้งสองชาตินี้เข้ามาระดับที่แตกต่างกัน อย่างเช่น ไทยและลาวได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ส่วนเวียดนามได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากจีนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในยุคล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ชาติส่วนใหญ่ในอินโดจีนก็รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาเช่นกัน.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและอินโดจีน

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานวิทยา (อังกฤษ: Taxonomy) เป็นการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ตามสายวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ในการศึกษาอนุกรมวิธานจะมีศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันออกไป ถ้าหากการศึกษาเป็นไปในทางรวบรวมตัวอย่าง (specimen) บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยา คือ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและอนุกรมวิธาน

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและประเทศสิงคโปร์

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและประเทศออสเตรเลีย

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและประเทศไทย

น้ำเต้าพระฤๅษี

น้ำเต้าพระฤๅษี (Nepenthes smilesii; ได้ชื่อตามสไมลซ์ (Smiles), นักพฤกษศาสตร์) เป็นชนิดที่แพร่กระจายอย่างกว้างขวางในอินโดจีน น้ำเต้าพระฤๅษีถูกบันทึกไว้ว่าพบในพื้นที่ชื้นแฉะ เปิดโล่ง ดินเป็นแบบดินปนทราย สามารถทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีเยี่ยม.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและน้ำเต้าพระฤๅษี

น้ำเต้าลม

น้ำเต้าลม (Nepenthes thorelii) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของอินโดจีน เรารู้น้อยมากเกี่ยวกับมัน แม้แต่นักอนุกรมวิธานยังติดป้ายชื่อของ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและน้ำเต้าลม

โกตากีนาบาลู

กตากีนาบาลู (Kota Kinabalu, کوتا کينا بالو) มีชื่อเดิมว่า เจสเซลตัน (Jesselton) และเป็นที่รู้จักในชื่อย่อว่า เคเค (KK) เป็นเมืองเอกของรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลจีนใต้ทางตะวันตกของรัฐซาบะฮ์ และตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว มีประชากรราว 452,058 คน ปัจจุบันโกตากีนาบาลูเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเปรียบเสมือนประตูสำหรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยือนซาบะฮ์และบอร์เนียว นอกจากนี้โกตากีนาบาลูยังเป็นเมืองสำคัญทางอุตสาหกรรมและพาณิชย์ของมาเลเซียตะวันออก ทำให้ที่นี่เป็นหนึ่งในเมืองที่โตเร็วที่สุดของมาเลเซี.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและโกตากีนาบาลู

เกาะบอร์เนียว

อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและเกาะบอร์เนียว

เกาะสุมาตรา

มาตรา หรือ ซูมาเตอรา (Sumatra; Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.&sup2) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซี.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและเกาะสุมาตรา

เกาะซูลาเวซี

ซูลาเวซี (Sulawesi) หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส (Celebes) ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและเกาะซูลาเวซี

เกาะนิวกินี

นิวกินี (New Guinea) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของประเทศออสเตรเลีย เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของโลก ซึ่งถูกแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใหญ่ออสเตรเลีย เมื่อบริเวณที่ที่ปัจจุบันคือช่องแคบทอร์เรส (Torres Strait) จมลงในช่วง 5000 ปีก่อนคริสตกาล โดยพื้นที่ส่วนตะวันตกของตัวเกาะเป็นดินแดนจังหวัดปาปัวและจังหวัดปาปัวตะวันตก (อดีตอีเรียนจายาตะวันตก) ของประเทศอินโดนีเซีย ส่วนพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะมีฐานะเป็นแผ่นดินใหญ่ของรัฐเอกราชปาปัวนิวกินี ด้วยความสูง 4,884 เมตร ยอดเขาปุนจะก์จายา (Puncak Jaya) ซึ่งบางครั้งเรียกว่ายอดเขาการ์สเตินส์ (Carstensz) ทำให้เกาะนิวกินีได้รับการจัดให้เป็นพื้นแผ่นดินขนาดใหญ่ที่สูงเป็นอันดับที่ 4 ของโลก นิวกินี เกาะนิวกินี หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:เกาะนิวกินี หมวดหมู่:เกาะนานาชาติ หมวดหมู่:เกาะในประเทศปาปัวนิวกินี.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและเกาะนิวกินี

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและเขนงนายพราน

Nepenthes alata

Nepenthes alata (มาจากภาษาละติน: alatus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes alata

Nepenthes albomarginata

Nepenthes albomarginata หรือ White-Collared Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes albomarginata

Nepenthes aristolochioides

Nepenthes aristolochioides เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา พบที่ระดับความสูง 800-2500 ม.จากระดับน้ำทะเล มีลักษณะหม้อที่ผิดธรรมดา ปากหม้อเกือบจะตั้งตรง ชื่อ aristolochioides เป็นรูปแบบจากสกุลที่ชื่อ Aristolochia และเติมภาษาละตินในตอนท้าย -oides แปลว่า "เหมือน" ซึ่งหมายถึงความคล้ายคลึงของหม้อกับดอกของ AristolochiaJebb, M.H.P.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes aristolochioides

Nepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × ferrugineomarginata (มาจากภาษาละติน: ferrugineus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × hookeriana

Nepenthes × hookeriana (ได้ชื่อตามโยเซพ ดาลตัน ฮุคเกอร์), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Hooker's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × hookeriana

Nepenthes × kuchingensis

Nepenthes × kuchingensis (ได้ชื่อตามเมืองกูชิง รัฐซาราวะก์) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. ampullaria และ N. mirabilis ถึงแม้ว่าจะได้ชื่อตามชื่อเมืองกูชิง แต่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้กลับกระจายตัวเป็นวงกว้าง พบได้ในเกาะบอร์เนียว, เกาะนิวกินี, มาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, และประเทศไท.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × kuchingensis

Nepenthes × merrilliata

Nepenthes × merrilliata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง merrilliana และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติของ N. alata และ N. merrilliana มันก็เหมือนกับพ่อและแม่ที่เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของประเทศฟิลิปปินส์ แต่จำกัดการแพร่กระจายตัวในธรรมชาติตามการกระจายตัวของ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × merrilliata

Nepenthes × sarawakiensis

Nepenthes × sarawakiensis (ได้ชื่อตามรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. muluensis และ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × sarawakiensis

Nepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × sharifah-hapsahii หรือ Nepenthes × ghazallyana (ได้ชื่อตาม Ghazally Ismail) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. gracilis และ N. mirabilis ถูกบันทึกว่าพบในบอร์เนียว, สุมาตรา และ เพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × truncalata

Nepenthes × truncalata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง truncata และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. alata และ N. truncata เป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์เหมือนกับพ่อและแม่ แต่จำกัดการกระจายตัวตามธรรมชาติตามการกระจายตัวของ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × truncalata

Nepenthes × tsangoya

Nepenthes × tsangoya (ได้ชื่อตาม Peter Tsang) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในเขตร้อนชื้น มันเป็นลูกผสมซ้อนทางธรรมชาติคือ (N. alata × N. merrilliana) × N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × tsangoya

Nepenthes × ventrata

Nepenthes × ventrata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง ventricosa และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. alata และ N. ventricosa มันเป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์เหมือนกับพ่อแม่ของมัน ชื่อของมันถูกใช้ครั้งแรกใน Carnivorous Plant Newsletter ในปี..

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes × ventrata

Nepenthes beccariana

Nepenthes beccariana (ได้ชื่อตามโอโดอาร์โด เบคคารี (Odoardo Beccari), นักพฤกษศาสตร์) เป็นพืชเขตร้อนชื้นในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มันถูกจัดจำแนกโดยจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane) ในปี..

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes beccariana

Nepenthes bicalcarata

Nepenthes bicalcarata (มาจากคำในภาษาละติน: bi "สอง", calcaratus "เดือย, เขี้ยว")หรือ Fanged Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes bicalcarata

Nepenthes bongso

Nepenthes bongso (จากภาษาอินโดนีเซีย: Putri Bungsu.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes bongso

Nepenthes burbidgeae

Nepenthes burbidgeae หรือที่รู้จักกันในชื่อ painted pitcher plantKurata, S. 1976.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes burbidgeae

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes campanulata

Nepenthes carunculata

Nepenthes carunculata (caruncula เล็ก/แคระ caro.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes carunculata

Nepenthes chaniana

Nepenthes chaniana (ได้ชื่อตาม ซี.แอล. เชน (C.L. Chan), กรรมการผู้จัดการของโรงพิมพ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ (บอร์เนียว)) เป็นพืชที่สูง ที่อยู่ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มีขนสีขาวหนาและยาว หม้อรูปทรงกระบอกมีสีขาวถึงเหลือง เป็นเวลานานมากที่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ถูกระบุผิดเป็น N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes chaniana

Nepenthes densiflora

Nepenthes densiflora (มาจากภาษาละติน: densus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes densiflora

Nepenthes faizaliana

Nepenthes faizaliana เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวที่พบบนผาหินปูนของอุทยานแห่งชาติกูนุงมูลูในรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว คาดกันว่ามันเป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes faizaliana

Nepenthes fallax

Nepenthes fallax (มาจากภาษาละติน: fallax.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes fallax

Nepenthes flava

Nepenthes flava มาจากภาษาละติน flava แปลว่า "สีเหลือง" เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวทางด้านเหนือของสุมาตรา หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดรู้จักกันมานานในชื่อ "Nepenthes spec.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes flava

Nepenthes fusca

Nepenthes fusca (มาจากภาษาละติน: fuscus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes fusca

Nepenthes glabrata

Nepenthes glabrata (ภาษาละติน: glaber.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes glabrata

Nepenthes glandulifera

Nepenthes glandulifera (จากภาษาละติน: glandis.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes glandulifera

Nepenthes globosa

Nepenthes globosa มาจากภาษาละติน globosus แปลว่า "กลมคล้ายผลส้ม" เป็นพืชถิ่นเดียวพบได้ตามหมู่เกาะทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย เช่นเกาะพระทองเป็นต้น มันมีบางส่วนที่คล้ายกับ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes globosa

Nepenthes gracilis

Nepenthes gracilis (มาจากภาษาละติน: gracilis.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes gracilis

Nepenthes gracillima

Nepenthes gracillima (มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาละติน: เป็นขั้นสุดของ gracilis "ยาว, เรียว") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของเพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes gracillima

Nepenthes hamata

Nepenthes hamata (มาจากภาษาละติน: hamatus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes hamata

Nepenthes hurrelliana

Nepenthes hurrelliana (ได้ชื่อตามแอนดริว เฮอร์เรลล์ (Andrew Hurrell), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงจากบอร์เนียว พบได้ในตอนเหนือของรัฐซาราวะก์, บรูไน และตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาบะฮ์ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes hurrelliana

Nepenthes izumiae

? ''N. izumiae'' × ''N. jacquelineae'' Nepenthes izumiae เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของสุมาตรา และเป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes izumiae

Nepenthes macfarlanei

Nepenthes macfarlanei (ได้ชื่อตามจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเพนนิซูล่า มาเลเซีย มันมีหม้อเป็นจุด สีแดง หม้อล่างเป็นรูปไข่ถึงรูปทรงกระบอก สูงประมาณ 20 เซนติเมตร ผิวล่างของฝาปกคลุมด้วยขนสีขาว สั้น อย่างหนาแน่น นี่คือรูปล่างลักษณะของหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ แต่เรายังไม่รู้ว่าขนนั้น มีไว้ทำอะไร.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes macfarlanei

Nepenthes maxima

Nepenthes maxima (มาจากภาษาละติน: maximus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes maxima

Nepenthes merrilliana

Nepenthes merrilliana (ได้ชื่อตาม Elmer Drew Merrill) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นราบ (lowland) ที่พบได้ในประเทศฟิลิปปินส์ มันอาจมีหม้อขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลซึ่งเป็นคู่แข่งกับ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes merrilliana

Nepenthes northiana

Nepenthes northiana หรือ Miss North's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes northiana

Nepenthes pectinata

Nepenthes pectinata (จากภาษาละติน: pectinata.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes pectinata

Nepenthes platychila

Nepenthes platychila (มาจากภาษากรีก: platus "แบนราบ", cheilos "กลีบปาก") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของภูเขาฮอส (Hose) รัฐซาราวะก์ตอนกลาง มีเพอริสโตมเรียบลื่น หม้อบนทรงกรว.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes platychila

Nepenthes rafflesiana

Nepenthes rafflesiana (ได้ชื่อตามโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Raffles' Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes rafflesiana

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes rajah

Nepenthes sanguinea

Nepenthes sanguinea (จากภาษาละติน: sanguineus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes sanguinea

Nepenthes singalana

Nepenthes singalana (ได้ชื่อตามภูเขา Singgalang, สุมาตราตะวันตก) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงของสุมาตรา มีญาติใกล้ชิดคือ N. diatas และ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes singalana

Nepenthes spathulata

Nepenthes spathulata เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองของเกาะชวาและเกาะสุมาตรา ขึ้นที่ระดับความสูง 1100 ถึง 2900 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spathulata มาจากภาษาละตินจากคำว่า spathulatus หมายถึง "มีรูปร่างเหมือนช้อนปากแบนกว้าง" ซึ่งหมายถึงรูปทรงของแผ่นใบClarke, C.M.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes spathulata

Nepenthes spectabilis

Nepenthes spectabilis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา เติบโตที่ระดับความสูง 1400 ถึง 2200 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spectabilis มาจากภาษาละตินแปลว่า "เด่น" หรือ "สะดุดตา"Clarke, C.M.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes spectabilis

Nepenthes stenophylla

Nepenthes stenophylla หรือ Narrow-Leaved Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes stenophylla

Nepenthes sumatrana

Nepenthes sumatrana เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ถูกตั้งชื่อตามแหล่งที่อยู.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes sumatrana

Nepenthes talangensis

Nepenthes talangensis (มาจากภาษาละติน: Talang.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes talangensis

Nepenthes tenax

Nepenthes tenax (ภาษาละติน: tenax.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes tenax

Nepenthes tentaculata

Nepenthes tentaculata (ภาษาละติน: tentacula.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes tentaculata

Nepenthes tenuis

Nepenthes tenuis (มาจากภาษาละติน: tenuis.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes tenuis

Nepenthes tobaica

Nepenthes tobaica เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งรอบทะเลสาบตูบา (Toba) จึงถูกตั้งชื่อตามทะเลสาบ Nepenthes tobaica เป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes tobaica

Nepenthes tomoriana

Nepenthes tomoriana (ได้ชื่อตาม Tomori Bay, จากตัวอย่างแรกเริ่ม) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะซูลาเวซี.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes tomoriana

Nepenthes truncata

Nepenthes truncata (มาจากภาษาละติน: truncatus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes truncata

Nepenthes veitchii

Nepenthes veitchii (ถูกตั้งชื่อตาม George Veitch, ผู้เป็นเจ้าของ Veitch Nurseries), หรือ Veitch's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes veitchii

Nepenthes ventricosa

Nepenthes ventricosa (มาจากภาษาละตินใหม่: ventricosus.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes ventricosa

Nepenthes villosa

Nepenthes villosa หรือ Villose Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes villosa

Nepenthes vogelii

Nepenthes vogelii (ได้ชื่อตาม Art Vogel, นักพฤกษศาสตร์และผู้จัดการเรือนกระจกของ Hortus Botanicus Leiden) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของรัฐซาราวะก์, เกาะบอร์เนียว ปรากฏความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ N.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes vogelii

Nepenthes xiphioides

Nepenthes xiphioides (จากภาษากรีก/ภาษาละติน: xiphos.

ดู รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิงและNepenthes xiphioides

ดูเพิ่มเติม

รายชื่อพืช

Nepenthes izumiaeNepenthes macfarlaneiNepenthes maximaNepenthes merrillianaNepenthes northianaNepenthes pectinataNepenthes platychilaNepenthes rafflesianaNepenthes rajahNepenthes sanguineaNepenthes singalanaNepenthes spathulataNepenthes spectabilisNepenthes stenophyllaNepenthes sumatranaNepenthes talangensisNepenthes tenaxNepenthes tentaculataNepenthes tenuisNepenthes tobaicaNepenthes tomorianaNepenthes truncataNepenthes veitchiiNepenthes ventricosaNepenthes villosaNepenthes vogeliiNepenthes xiphioides