สารบัญ
157 ความสัมพันธ์: ชมพู่ชมพู่มะเหมี่ยวชมพู่ออสเตรเลียชมพู่ป่าชมพู่น้ำดอกไม้ชมพู่แก้มแหม่มบลูเบอร์รีฟิลิปปินส์บาวบาบชำมะเลียงชินชี่บ๊วยพลองเหมือดพลับพลับจีนพลัมพลัมยุโรปพุทราอินเดียพุทราจีนพุทราทะเลพูมารีพีแคนกระจับกระท้อนกล้วยฤๅษีกล้วยหกกล้วยหอมกล้วยหอมทองกล้วยหอมดอกไม้กล้วยหักมุกกล้วยหินกล้วยงาช้างกล้วยเฟอีกะทกรกกะตังใบกัดลิ้นกีวี (พืช)ฝรั่งมะพร้าวมะพร้าวแฝดมะพลับมะพูดมะกอกมะกอกฝรั่งมะกอกออลิฟมะกอกน้ำมะกอกแดงมะกอกไทยมะก่อมะม่วงมะม่วงกะเลิง... ขยายดัชนี (107 มากกว่า) »
- รายชื่อพืช
ชมพู่
มพู่ (Syzygium) เป็นสกุลพืชดอกชนิดหนึ่ง ที่สามารถนำผลมารับประทานได้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 1,100 สปีชี.
ชมพู่มะเหมี่ยว
อกซึ่งเห็นเกสรตัวผู้ชัดเจน ชมพู่มะเหมี่ยว เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae ลำต้นตรง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบหนาและเหนียว เมื่ออ่อนเป็นสีแดง ก้านใบยาว ดอกดอกเฉพาะกิ่งที่ไม่มีใบ ดอกสีแดง กลีบเลี้ยงเป็นหลอดบวมพอง เกสรตัวผู้สีแดงจำนวนมาก ผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด ผลคล้ายลูกแพร์ มีกลีบเลี้ยงติดที่ปลายผล ผลสีแดงเข้มหรือเหลืองอมม่วงหรือขาวอมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ สีขาว มีกลิ่นหอม เมล็ดกลม สีน้ำตาล การกระจายพันธุ์พบมากในคาบสมุทรมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ผลใช้รับประทานสด ทำอาหารคาวเช่นยำโดยใช้เกสร เมื่อ แก่แล้วยังมีรสเปรี้ยว นิยมนำไปต้มรวมกับผลไม้อื่น ๆ ให้มีรสเปรี้ยวน้อยลง เปลือกลำต้น ใบและรากมีสรรพคุณเป็นยา รสชุ่มคอ มีวิตามินซี และแคลเซียมสูง เสริมสร้างกระดูกและฟัน ไฟล์:Starr 070321-6134 Syzygium malaccense.jpg|ผล ไฟล์:Syzygium malaccense at Kadavoor.jpg|ตา ไฟล์:Pommerac01.JPG|ผล ไฟล์:Pommerac.whole.jpg|ผลสุกทั้งผล ไฟล์:Pommerac.cut.jpg|ผลสุกผ่าครึ่ง.
ดู รายการผลไม้และชมพู่มะเหมี่ยว
ชมพู่ออสเตรเลีย
มพู่ออสเตรเลีย เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นเรียบสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบหนาและแข็ง เขียวสดเป็นมัน ดอกช่อ พู่ของเกสรตัวผู้เป็นพู่สีขาวชัดเจน ผลกลมรีหรือหลมแป้น สุกแล้วเป็นสีชมพูหรือแดงเข้ม ผลรับประทานได้.
ดู รายการผลไม้และชมพู่ออสเตรเลีย
ชมพู่ป่า
มพู่ป่า เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นมักโค้งงอ ใบเดี่ยว ขยี้แล้วไม่มีกลิ่นหรือมีกลิ่นเล็กน้อย ก้านยาว ดอกช่อออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปหลอด กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลสด ทรงคล้ายลูกข่าง มีหลายเมล็ด กลีบเลี้ยงติดที่ส่วนปลายของผล ผลสีขาวหรือแดง ฉ่ำน้ำ ผิวเป็นมันวาว ไม่มีกลิ่น เมล็ดขนาดเล็ก รูปกลม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลคล้ายชมพู่แก้มแหม่ม แก่แล้วยังมีรสฝาด ในอินโดนีเซียใช้ใบอ่อนห่ออาหารว่างที่ทำจากข้าวเหนียวหมัก รสฝาดในผลเกิดจากแทนนิน.
ชมพู่น้ำดอกไม้
มพู่น้ำดอกไม้ เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..
ดู รายการผลไม้และชมพู่น้ำดอกไม้
ชมพู่แก้มแหม่ม
'ผลชมพู่แก้มแหม่มผ่าครึ่ง ชมพู่แก้มแหม่ม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Myrtaceae กิ่งก้านโค้งงอ ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ใบเหนียวคล้ายหนัง มีจุดใสบนใบ ก้านใบใหญ่ ดอกดอกตามยอดและซอกใบของใบที่ร่วงไปแล้ว ดอกช่อ กลีบเลี้ยงเป็นหลอดยาว กลีบดอกสีขาวอมเหลือง เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด ผลคล้ายลูกแพร์ มีปลายของกลีบเลี้ยงที่โค้งเข้าข้างในติดที่ปลายผล ผลสีแดงอ่อนจนถึงขาว เนื้อสีขาวคล้ายฟองน้ำ ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแบนหรือกลม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิยมปลูกไปทั้งภูมิภาค ในอินโดนีเซียนิยมนำไปทำโรยักหรือนำไปดองที่เรียกอาซีนัน เปลือกผลมีลักษณะคล้ายไขเคลือบ เนื้อค่อนข้างแห้ง มีกลิ่นหอม ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียใช้ใบรักษาโรคผิวหนัง.
ดู รายการผลไม้และชมพู่แก้มแหม่ม
บลูเบอร์รีฟิลิปปินส์
ลูเบอร์รีฟิลิปปินส์ เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่ม ดอกช่อ กลีบดอกโค้งเข้าด้านใน สีแดงอมชมพูไปจนถึงขาวอมเหลือง ผลสด รูปกลม สีน้ำเงินเข้ม กระจายพันธุ์เฉพาะในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ผลรับประทานได้ นิยมนำไปแปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี่ และเป็นอาหารนก.
ดู รายการผลไม้และบลูเบอร์รีฟิลิปปินส์
บาวบาบ
ผลบาวบาบใช้ทำเครื่องดื่มได้ บาวบาบ หรือ บาวแบบ (Kremetart, Hausa: Kuka, Seboi, Mowana, Shimuwu, Muvhuyu)เป็นพืชในสกุล Adansoniaที่แพร่หลายมากที่สุด พบในทวีปแอฟริกา ในบริเวณที่ร้อนแล้งหรือทุ่งหญ้าสะวันนา ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษของบาวบาบมีหลายชื่อ เช่น dead-rat tree (จากลักษณะของผล), monkey-bread tree (ผลที่นุ่ม แห้งและรับประทานได้) upside-down tree (กิ่งที่แตกทรงพุ่มคล้ายราก) และ cream of tartar tree เป็นไม้ผลัดใบ ไม่มีหนาม ลำต้นโป่งพองคล้ายขวด ผลเป็นแคปซูลแห้ง รูปร่างยาวหรือกระบอง ไม่แตก เนื้อมีลักษณะเป็นเยื่อ รสเปรี้ยวเล็กน้อย บาวบาบเป็นไม้ยืนต้นที่โคนบวมพองออก มองคล้ายขวดแชมเปญ ใช้สะสมน้ำ กิ่งก้านสาขาบิดเบี้ยวไปมา ทรงคล้ายราก ชาวแอฟริกาเชื่อว่าต้นไม้ชนิดนี้ถูกพระเจ้าสาปแช่ง จึงต้องเอารากชี้ฟ้ามีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของแอฟริกา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกในเกาะชวาและฟิลิปปินส์ บาวบาบเป็นพืชสมุนไพรในแอฟริกา ผลมีแคลเซียมมากกว่าผักโขม มีสารต้านอนุมูลอิสระ และมีวิตามินซีมากกว่าส้ม.
ชำมะเลียง
ำมะเลียง (Luna nut) หรือพุมเรียง ภาคเหนือเรียกผักเต้า มะเถ้า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกมะเกียง หวดข้าใหญ่ จังหวัดตราดเรียกโคมเรียง เป็นไม้ยืนต้นที่พบได้ทั่วประเทศไทยและเป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียวยาว มีสีเขียวตลอดทั้งปี ดอกออกเป็นช่อที่กิ่งและต้น ดอกสีม่วง ติดผลช่วงกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ผลกลมออกเป็นช่อ เมื่ออ่อนสีม่วง รสฝาด พอแก่เปลี่ยนเป็นสีดำ รสหวานอ่อน.
ชินชี่
นชี่หรือดันรอกหรือน้าม เป็นพืชในวงศ์ Rhamnaceae เป็นไม้เลื้อยมีหนามโค้งงอจำนวนมาก ผลรูปไข่หรือกลม มีขนสั้นนุ่มหนาสีน้ำตาลเล็กน้อย ผลมีรสหวาน รับประทานได้ กระจายพันธุ์ในเกาะสุมาตรา คาบสมุทรมลายูและไท.
บ๊วย
วย เป็นสำเนียงฮกเกี้ยนของคำภาษาจีนว่า "梅" สำเนียงกลางว่า เหมย์ (méi) และอาจหมายถึง.
พลองเหมือด
ลองเหมือด หรือเหมือดแอ่ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Memecylaceae แตกเป็นร่องตามยาวของลำต้น สีน้ำตาลถึงดำ ใบเดี่ยว เนื้อใบหนา ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ มีฐานรองดอกรูปถ้วย กลีบดอกสีม่วงหรือน้ำเงินเข้ม อับเรณูโค้งคล้ายอักษร J ผลกลมเมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีม่วงเข้ม ผลมีรสฝาดหวาน รับประทานเป็นผลไม้ รากหรือลำต้นใช้ต้มรักษาโรคกระเพาะอาหาร หรือต้มผสมกับยาอื่น รักษาโรคหืด ใบเมื่อนำมาเคล้ากับพริกแล้วตากแดดช่วยให้พริกสีสด ป้องกันไม่ให้แมลงมาเจาะพริกแห้ง กิ่งและลำต้นทำเป็นน้ำด่างใช้แช่ไหมและฝ้ายก่อนย้อม สามารถสกัดสีเหลืองออกมาได้.
พลับ
ลับ (Persimmon) เป็นพืชในสกุล Diospyros ซึ่งมีอยู่หลายสปีชีส์ด้วยกัน สปีชีส์ที่นิยมปลูกในประเทศไทยมากที่สุดคือ D.kaki ญี่ปุ่นเรียกว่าคาขิ ถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคเหนือของจีน มีการรับประทานพลับตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นและถือเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า ต่อมาได้กระจายพันธุ์เข้าไปในญี่ปุ่น และกลายเป็นผลไม้ยอดนิยม พลับพันธุ์ที่นิยมปลูกในยุโรปเป็นสปีชีส์ D.
พลับจีน
ลับจีน หรือพลับญี่ปุ่น เป็นไม้พุ่มผลัดใบในวงศ์ Ebenaceae ดอกแยกเพศ แยกต้นหรือร่วมต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง เขียวเข้มเป็นมัน ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุกขนาดเล็ก ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ดอกสีเหลืองอมเขียว ผลเนื้อนุ่มกลมแบน สีเขียวอมเหลืองจนถึงสีแดง กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล พลับจีนพันธุ์ "Koushu-Hyakume" พันธุ์ที่ใช้ทำพลับแห้ง พลับจีนเป็นพืชที่เป็นเอกลักษณ์ของจีนในสมัยโบราณ นำไปปลูกในญี่ปุ่น ส่วนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกบ้างเล็กน้อยในเกาะสุมาตรา มาเลเซีย และภาคเหนือของไทย ผลรับประทานได้ ใช้ทำไอศกรีม เยลลี่ พันธุ์ที่มีรสฝาดใช้ทำพลับแห้ง แทนนินจากพลับจีนใช้เป็นสีทาผ้าหรือกระดาษ ความฝาดในผลพลับจีนเกิดจากแทนนินในเนื้อผล การแช่แข็งทำให้ความฝาดหมดไปเพราะเซลล์จะปล่อยแทนนินมาจับกับโปรตีนในผล เมื่อรับประทานผลดิบจะรู้สึกแห้งในปากเพราะแทนนินจะจับกับโปรตีนในปาก พลับจีนมีโพแทสเซียมและวิตามินเอสูง ผลพลับผ่าแสดงภายในผล.
พลัม
ลัม หรือ ไหน เป็นไม้ผลที่มีผลแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง อยู่ในสกุล Prunus สกุลย่อย Prunus ซึ่งเป็นสกุลย่อยที่ต่างจากสกุลย่อยอื่นๆ (ลูกท้อ, เชอร์รี่, อื่นๆ) ตรงหน่อมีตายอดและตาข้างเดี่ยว (ไม่เป็นกลุ่ม) ดอกออกเป็นกลุ่ม 1-5 ดอกบนก้านสั้นๆ ผลมีร่องยาวด้านข้าง และเมล็ดเรียบ เมื่อผลโตเต็มที่มีมีนวลสีขาวปกคลุม สามารถถูกออกได้ง่าย สารเคลือบนั้นรู้จักกันดีในชื่อ "wax bloom" เมื่อสุกเปลือกสีม่วงอมดำ เนื้อสีเหลือง รสหวานหรือหวานอมเปรี้ยว.
พลัมยุโรป
ลัมยุโรป (Prunus domestica บางครั้งเป็น Prunus × domestica) เป็นพืชในสกุล Prunus ที่มีหลากหลายพันธุ์ บ่อยครั้งมักเรียกว่า "พลัม"เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..
พุทราอินเดีย
ทราอินเดีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ziziphus mauritiana Lam.) หรือ เบอร์ (ber) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhamnaceae มีถิ่นกำเนิดในแถบประเทศอินเดี.
พุทราจีน
พุทราจีนแห้ง พุทราจีน (jujube; พันธุ์ที่มีเปลือกสีน้ำตาลเข้มเรียก red date; Chinese date) ภาคอีสานเรียก บักทันหรือหมากกะทัน ภาคเหนือเรียกมะตัน มะตันหลวง นางต้มต้น ภาษาจีนเรียก เป้กเลี้ยบ อินเดียเรียก เบอร์.
พุทราทะเล
ทราทะเล เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Olacaceae ไม่ผลัดใบ ลำต้นมีสีเทาอมแดง ผิวแตกตามความยาวของลำต้น มีหนามแต่ไม่มาก ใบเดี่ยว ดอกช่อ ออกตามง่ามใบ ผลเดี่ยว กลมยาวเล็กน้อย เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผิวของผลไม่เรียบมีปุ่มเล็กน้อย ผลใช้รับประทานได้ เนื้อผลมีรสเปรี้ยว ใบใช้รับประทานเป็นผักได้ แต่เนื่องจากมีไซยาไนด์ จึงต้องปรุงสุกก่อนและไม่ควรรับประทานครั้งละมากๆ ในอินเดียใช้น้ำมันในเมล็ดปรุงอาหาร เมล็ดรับประทานได้มีฤทธิ์เป็นยาระบาย ในอินโดนีเซียใช้ใบปรุงรสชาติอาหาร เปลือกลำต้นมีแทนนิน เนื้อไม้แข็ง มีกลิ่นหอม.
พูมารี
ูมารีหรือกระอวม เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rutaceae ยอดและกิ่งอ่อนมีขนประปรายใบประกอบเนื้อใบหนา มีต่อมน้ำมันกระจาย ขยี้จะมีกลิ่น ดอกช่อ สีขาวแกมเหลืองหรือแกมเขียว ผลเดี่ยว เมล็ดแข็ง เปลือกลำต้นเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคผิวหนัง ใบภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางพื้นที่ นำใบไปรับประทานกับหมากแทนพลู ยังมีที่ใช้เป็นยาแก้ปวด และระงับการติดเชื้อในลำไส้ ผลดิบรับประทานไม่ได้ ผลสุกรับประทานได้ รสเปรี้ยวอมหวาน ในเวียดนามใช้รากเป็นยาเบือปลา ในอินเดียนำไม้ไปเผาถ่าน นำใบไปใส่สลั.
พีแคน
ีแคน (pecan) เป็นพืชในวงศ์ค่าหด (Juglandaceae) มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโกและทางตอนใต้ของสหรัฐฯFlora of North America: คำว่า pecan ในภาษาอัลกอนควิน (Algonquin) แปลว่า "ผลไม้ที่ต้องใช้หินกะเทาะเปลือก" พีแคนเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูงประมาณ 20-40 เมตร ใบเรียงสลับแบบขนนก มีใบย่อย 9-17 ใบ ผลเป็นผลแบบดรุป (ผลที่มีเมล็ดแข็ง) ซึ่งสามารถรับประทานได้ทั้งแบบสดและนำไปแปรรูป.
กระจับ
กระจับมวยไทยกระจับ (กระจับนักมวย) คืออุปกรณ์ป้องกันตัวอย่างหนึ่งในกีฬาชกมวยหรือรวมถึงศิลปะต่อสู้ชนิดอื่น ที่นักมวยจะต้องสวมใส่เพื่อให้เกิดความกระชับและป้องกันแรงกระแทกที่จะเกิดบริเวณอวัยวะเพศ เนื่องจากในกีฬาประเภทนี้มีความเสี่ยงที่จะพลาดพลั้งทำให้บาดเจ็บบริเวณท้องน้อยและช่วงขาหนีบได้ง่าย แม้จะมีกติกากำหนดห้ามไว้แล้วก็ตาม เช่น กีฬามวยมีกติกาห้ามชกใต้เข็มขัด เป็นต้น.
กระท้อน
กระท้อน เป็นไม้ผลเขตร้อนยืนต้นในวงศ์กระท้อน (Meliaceae) ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี.
กล้วยฤๅษี
กล้วยฤๅษี อยู่ในวงศ์ Ebenaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ กลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล ผลกลมแป้นสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง ผลสุกรับประทานได้.
กล้วยหก
กล้วยหก หรือกล้วยยูนนาน เป็นพืชพื้นเมืองในจีนและเป็นอาหารที่สำคัญของช้างเอเชีย เป็นกล้วยที่สูงที่สุดในประเทศไทย พบมากทางภาคเหนือ หัวปลีเป็นสีม่วงเข้มหัวปลีนำมาทำอาหาร ผลกินได้มีเมล็ดมาก.
กล้วยหอม
กล้วยหอม เป็นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง มีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ เช่น กล้วยหอมจันท์ กล้วยหอมทอง กล้วยหอมเขียว โดยกล้วยหอมเขียวหรือกล้วยหอมคาเวนดิชเป็นกล้วยหอมที่นิยมปลูกกันโดยทั่วไป จัดเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยคุณค่าสารอาหารครบถ้วนตามหลักทางโภชนาการ เช่น มีวิตามิน ใยอาหารที่ช่วยในการขับถ่าย มีสารแทนนิน ซึ่งช่วยยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ Escherichia coli เป็นต้น กล้วยหอมถูกจัดเป็นผลไม้เมืองร้อน สามารถปลูกได้เกือบทุกประเทศที่มีภูมิอากาศร้อนชื้นหลายแห่ง สำหรับประเทศไทย สามารถปลูกกล้วยหอมได้ทั่วทุก.
กล้วยหอมทอง
กล้วยหอมทอง หรือกล้วยหอมกรอสมิเชล เป็นสายพันธุ์ที่เป็นทริปพลอยด์ของกล้วยป่า Musa acuminata จัดอยู่ในกลุ่ม AAA เป็นกล้วยราคาแพง ผลขนาดกลางถึงใหญ่ เปลือกหนา สีเหลือง เนื้อละเอียด หวาน สีครีม มีกลิ่นหอม Nicolas Baudin นักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศสได้นำหน่อกล้วยชนิดนี้ไปจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปปลูกที่สวนพฤกษศาสตร์ที่ Martinique ต่อมาได้นำไปขยายพันธุ์ที่จาเมกา ต่อมา ประมาณ..
กล้วยหอมดอกไม้
กล้วยหอมดอกไม้ AAA groupหรือปีซัง เอิมบุน เป็นสายพันธุ์ที่มีความสำคัญในอินโดนีเซีย ผลใหญ่ เปลือกสีเหลือง เนื้อสีครีม รสหวาน มีกลิ่นหอมเล็กน้อ.
ดู รายการผลไม้และกล้วยหอมดอกไม้
กล้วยหักมุก
กล้วยหักมุก ABB group ผลขนาดใหญ่ เปลือกหยาบหนา ผลสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมน้ำตาล เนื้อสีส้มแกมสีครีม มีลักษณะเป็นแป้ง ในไทยนิยมใช้ทำกล้วยปิ้ง.
กล้วยหิน
กล้วยหิน หรือ กล้วยซาบา (Saba banana) เป็นกล้วยลูกผสมกลุ่ม (ABB) ต้นกำเนิดอยู่ที่ฟิลิปปินส์ ผลขนาดกลางถึงใหญ่ ป้อมสั้น เป็นเหลี่ยม เปลือกหนา สีเหลือง เนื้อผลสีขาวครีม เนื้อละเอียด ผลมีแกนกลาง รสหวาน เป็นกล้วยที่ใช้ทำอาหารแม้ว่าจะรับประทานดิบได้ เป็นกล้วยที่สำคัญในการปรุงอาหารฟิลิปปินส์ บางครั้งเรียกกล้วยการ์ดาบา (cardaba banana) ซึ่งอาจจะเป็นสายพันธุ์คล้ายกันที่เป็นกลุ่มย่อยของกล้วยหิน.
กล้วยงาช้าง
กล้วยงาช้าง ABB group เป็นกล้วยที่มีขายทางการค้าเฉพาะเกาะชวา ผลขนาดใหญ่ เปลือกสีเหลือง เนื้อสีส้มอมครีม เนื้อเป็นแป้งเก็บไว้ได้นาน.
กล้วยเฟอี
กล้วยเฟอี Fe'i bananas เป็นกล้วยปลูกในสกุลกล้วย ใช้รับประทานเป็นผลไม้ พบในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะเฟรนซ์โพลินีเซีย ต้นมียางสีแดงอมม่วงซึ่งใช้ทำสีย้อมและหมึกเขียนหนังสือได้ ผิวมัน เนื้อผลสีส้ม ความกว้างและความยาวของผลใกล้เคียงกัน เป็นอาหารหลักในบริเวณหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก มีเบตาแคโรทีนสูง ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Musa × troglodytarum L.
กะทกรก
''Passiflora foetida'' กะทกรก (Fetid passionflower, Scarletfruit passionflower, Stinking passionflower) ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ รก กระโปรงทอง ละพุบาบี หญ้ารกช้าง (ใต้) ตำลึงฝรั่ง เป็นไม้เถาเลื้อยคล้ายตำลึง เถาค่อนข้างคดไปงอมา เถามีหนามเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ห่าง ๆ โดยทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบมนโค้งผิวเรียบปลายใบแหลมโดยแยกเป็นสามแฉก ใบและเส้นใบบริเวณที่ติดต่อกันมีสีแดงเรื่อ บริเวณใกล้โคนก้านใบมีแฉกแหลมเล็กเรียงตรงกันข้ามสลับกัน ก้านใบ มีขนาดก้านไม้ขีด ยาว 5 –6 เซนติเมตร มีขนอ่อนเป็นฝอยขนาดเล็ก ดอกมีลักษณะก้านดอกยาวกว่าใบ ดอกบานออกกลมกว้าง กลีบดอกสีขาวแซมด้วยริ้วสีม่วง ผลค่อนข้างกลมขนาดปลายนิ้วมือ และห่อหุ้มด้วย “รก” ผลสุกมีสีเหลือง ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณป่าพื้นราบ โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น.
กะตังใบ
กะตังใบ อยู่ในวงศ์ Vitaceae กระจายพันธุ์ในเขตอินโดมลายู, อินโดจีน, ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และในเทือกเขาฆาตตะวันตกในอินเดีย http://www.biotik.org/india/species/l/leeaindi/leeaindi_en.html เป็นไม้พุ่ม ลำต้นมีขนปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตั้ง ออกดอกตามซอกใบ ผลกลมแป้น เนื้อนุ่ม เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแดงเข้มถึงม่วงดำ.
กัดลิ้น
กัดลิ้น เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Meliaceae ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดบางๆ สัน้ำตาลอมเหลือง ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีขาวกลีบดอกเชื่อมกันที่โคน ปลายแยก ผลเดี่ยว สุกแล้วเป็นสีเหลืองแกมน้ำตาล ผลใช้รับประทานเป็นผลไม้ หรือทำเป็นส้มตำร่วมกับผลตะโก ถ้ารับประทานมากจะกัดลิ้น ชาวไทยอีสานนำพืชชนืดนี้เป็นส่วนผสมในยารักษาโรคริดสีดวงทวาร.
กีวี (พืช)
กีวี กีวี ภาษาจีนเรียกหมีโหวเถา เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน บริเวณลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
ฝรั่ง
ปลือกต้นฝรั่ง ดอกฝรั่ง ฝรั่ง (Linn.) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ในวงศ์ Myrtaceae ฝรั่งเป็นพืชที่มีจุดกำเนิดอยู่ในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสต์ตะวันตก หลักฐานทางโบราณคดีในเปรูชี้ให้เห็นว่า มีฝรั่งมาตั้งแต่ 800 ปีก่อนครืสตกาล พ่อค้าชาวสเปนและโปรตุเกสเป็นผู้นำผลไม้ชนิดนี้ไปยังถิ่นต่างๆทั่วโลก เข้ามาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 ส่วนในประเทศไทย คาดว่าเข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คำว่าฝรั่งในภาษาอังกฤษคือ Guava ซึ่งมาจากภาษาสเปน คำว่า Guayaba และ ภาษาโปรตุเกส คำว่า Goiaba ฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ ย่าหมู (สุราษฎร์ธานี) ชมพู่ (ตรัง, ปัตตานี) มะก้วย (เชียงใหม่,เหนือ) มะก้วยกา (เหนือ) มะกา (กลาง,แม่ฮ่องสอน) มะจีน (ตาก) มะมั่น (เหนือ) ยะมูบุเตบันยา (มลายู นราธิวาส) ยะริง (ละว้า เชียงใหม่) ยามุ หรือ ย่าหมู หรือ ย่าหวัน (ใต้) และ สีดา (นครพนม,นราธิวาส).
มะพร้าว
มะพร้าว เป็นพืชยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูลปาล์ม มะพร้าว เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นพรรณไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล.
มะพร้าวแฝด
มะพร้าวแฝด, ตาลทะเล, มะพร้าวตูดนิโกร หรือ มะพร้าวทะเล มีชื่อในภาษาฝรั่งเศสว่า Coco de mer แปลว่า "มะพร้าวทะเล" สาเหตุที่ถูกขนานอย่างนี้ก็เพราะว่า พวกเดินเรือในอดีตจะพบลูกมะพร้าวทะเลอยู่ในมหาสมุทร แต่ไม่มีใครเห็นพบเห็นต้นของมัน จึงสันนิษฐานว่าคงมีต้นอยู่ใต้ทะเล บ้างก็ไปไกลยิ่งกว่านั้น คือเชื่อว่าคงเป็นผลไม้จากสวรรค์แน่ ๆ และอาจจะเป็นผลไม้แห่งความอมตะที่อีฟ ภรรยาอาดัม ถูกหลอกให้กินก็ได้ นาน ๆ ครั้งจะมีผู้พบเห็นมะพร้าวทะเลถูกคลื่นซัดเข้าฝั่ง มะพร้าวทะเลจึงกลายเป็นของแปลกและหายากยิ่งกว่าเพชรพลอย และแน่นอนผลไม้พิสดารนี้ก็จะถูกนำไปถวายให้แก่คนที่สำคัญที่สุดในแผ่นดิน นั่นคือกษัตริย์หรือสุลต่าน ไว้ประดับบารมีหรือเป็นยาวิเศษรักษาสารพัดโร.
มะพลับ
มะพลับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros malabarica (Desr.) Kostel) เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Ebenaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับต้นตะโก ต้นมะพลับนั้นมีดอกขนาดเล็กและก็มีผลที่ค่อนข้างกลมแต่ถ้าสุกแล้วสามารถกินได้มีรสชาติอร่อย ต้นมะพลับนอกจากมีผลที่กินได้แล้วยังมีคุณค่าในทางสมุนไพรสูงมากด้วย มะพลับเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งของคนไทย กำหนดปลูกไว้ทางทิศใต้ เชื่อกันว่าการปลูกต้นมะพลับในบริเวณบ้านจะทำให้ร่ำรวยยิ่งขึ้น.
มะพูด
มะพูด เป็นไม้ท้องถิ่นในอินโดนีเซียและหมู่เกาะอันดามัน ภาษาอินโดนีเซียเรียกมุนดู ภาษาเขมรเรียกประโฮด ภาคอีสานเรียกมะหูด เป็นไม้ยืนต้นเกิดในป่าดงดิบแล้งและป่าโปร่ง ต้นมีรอยบาดแผลมีน้ำยางสีขาวไหลออกมาแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ใบหนาเป็นมัน ดอกสีเหลืองอมเขียว ผลดิบสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เนื้อสีเหลือง รสอมเปรี้ยวอมหวาน ผลมะพูดกินเป็นผลไม้มีรสเปรี้ยว หรือใช้ทำน้ำผลไม้ ทำแยม ทางยา ใช้น้ำคั้นจากผลแก้เลือดออกตามไรฟัน ขับเสมหะ รากต้มน้ำดื่มแก้ไข้ ถอนพิษ เปลือกนำไปต้ม กรองเอาแต่น้ำ ใช้ล้างแผล ในชวาและสิงคโปร์ใช้เมล็ดตำละเอียดรักษาอาการบวม ใช้ย้อมสีเสื่อ.
มะกอก
มะกอก หรือ มะกอกป่า ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กอกกุก, กูก (เชียงราย); กอกหมอง (เงี้ยว – ภาคเหนือ); ไพแซ (กะเหรี่ยง – เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย ตั้งแต่อินเดีย มาเลเซียจนถึงอินโดนีเซีย เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูงถึง 25 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านเลี้ยงไม่มีขน เปลือกเรียบสีเทาแตกเป็นร่องเล็กน้อย เปลือกข้างในมีริ้วสีชมพูสลับขาว ใบประกอบ มีใบย่อย 3 – 5คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรุปขอบขนาน หรือรูปหอก ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบแหลมหรือเบี้ยว ดอกออกเป็นช่อสีขาวตามปลายกิ่ง แต่ละดอกมีขนาดเล็ก มี 5 กลีบเกสรมีตัวเมียแยกเป็นสี่แฉก ผลสดมีเนื้อฉ่ำน้ำ ลักษณะรูปไข่หรือรูปรี เมื่อสุกผลสีเหลืองหม่น มีรอยแต้มสีน้ำตาลทั่วผล มะกอกเป็นพืชที่ให้ผลตลอดปี ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค เป็นไม้กลางแจ้ง สามารถขึ้นได้โดยทั่วไป พบในป่าเบญจพรรณและป่าแดงทั่วไป ขึ้นได้ดินแทบทุกชนิด และเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุยที่ชุมชื่น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ซึ่งอาจปลุกลงหลุมได้.
มะกอกฝรั่ง
มะกอกฝรั่ง, มะกอกหวาน หรือ มะกอกดง เป็นไม้ยืนต้นเขตร้อนขนาดกลาง ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน มีขนาดเล็ก ผลกลมรี สีเขียวเข้ม พอแก่สีจะอ่อนลง เนื้อมีรสมัน เปรียวอมหวาน ติดผลตลอดปี มีชื่อเรียกแตกต่างกันมากมาย เช่น พอมซิเทย์ (pomsitay) ในตรินิแดดและโตเบโก,Davidson, Alan, and Tom Jaine.
มะกอกออลิฟ
ผลมะกอกสีดำ ต้นมะกอกโบราณในกรีซ การเก็บเกี่ยวมะกอกในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มะกอกออลิฟ (olive) เป็นมะกอกชนิดที่นำมาทำน้ำมันมะกอก เป็นพืชท้องถิ่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นออกสีเทาออกขาวนวล ต้นโค้งงอ ดอกสีขาวครีมขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลเล็กเท่านิ้วหัวแม่มือ ผลดิบสีเขียว ผลสุกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงหรือสีม่วง.
มะกอกน้ำ
มะกอกน้ำหรือสมอพิพ่าย เป็นผลไม้พื้นบ้านของไทย ทนน้ำท่วม เป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อ ผลรูปไข่ สีเขียว เปลือกบาง รสเปรี้ยวอมฝาด มะกอกชนิดนี้ นิยมนำผลดิบมากินกับน้ำปลาหวาน หรือนำไปดอง แช่อิ่ม พันธุ์ที่ปลูกทางการค้ามี 3 พันธุ์คือ.
มะกอกแดง
มะกอกแดง เป็นพืชในสกุลมะกอก วงศ์มะม่วง เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกา โดยทั่วไปรู้จักในชื่อสามัญว่า Jocote ซึ่งมาจากคำในภาษานาฮวต xocotl หมายถึงผลไม้ ชื่อสามัญอื่นๆคือ Red Mombin Purple Mombin Hog Plum Sineguela และ Siriguela เป็นไม้พื้นเมืองในเขตร้อนของทวีปอเมริกา ชาวสเปนนำมาปลูกที่ฟิลิปปินส์ ผลมะกอกแดง มะกอกแดงเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ เปลือกต้นสีเทาหรือสีน้ำตาล กิ่งขนาดใหญ่ เปราะหักง่าย ใบประกอบ ใบบางคล้ายกระดาษ ดอกช่อดอกสีแดงหรือม่วง ผลสดมีเมล็ดเดียวแข็ง เปลือกสีแดง ม่วง หรือเหลือง เนื้อสีเหลืองมีกลิ่นหอม รับประทานผลสุกเป็นผลไม้ ในเอลซัลวาดอร์นำไปเป็นส่วนผสมในการทำไซรับ ผลสุกนำไปเชื่อมหรือทำเยลลี่ ผลดิบนำไปดอง ใช้เป็นอาหารสัตว์ เนื้อไม้เบาเหมาะแก่การทำกระดาษ เปลือกลำต้นใช้รับประทานแก้ท้องเสีย มะกอกแดงในฟิลิปปิน.
มะกอกไทย
มะกอกไทย เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ ผิวของลำต้นมีเลนติเซลมาก ใบประกอบ ฐานใบบวม ผิวใบเรียบ หนาและมัน ดอกช่อออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดเล็ก สีขาว ก้านช่อดอกย่อยสั้นมากหรือไม่มี กลีบดอกสีเหลืองอ่อน ผลแบบเมล็ดเดียว แก่แล้วเป็นสีเหลืองน้ำตาล เปลือกเหนียว เนื้อผลมีเส้นใย ผลรับประทานได้ มีรสเปรี้ยว ยอดและใบอ่อนกินกับลาบ ผลสุกใส่น้ำพริก ชาวกะเหรี่ยงใช้ย้อมผ้าให้สีน้ำตาลแดง.
มะก่อ
มะก่อ เป็นไม้ในวงศ์ก่อ ขึ้นตามป่าดิบเขา เป็นไม้ผลัดใบไม่มียาง เปลือกต้นหนา ติดผลเป็นกลุ่มใกล้ปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีครีมอมเหลือง เปลือกนอกสีเขียวมีหนามแหลม กะลาสีน้ำตาล เนื้อในสีขาวครีม รสมัน นำเมล็ดมาคั่วหรือต้มให้สุก เพื่อรับประทานเนื้อในเมล็ด มีกรดไขมันโอเมกา 3 ที่ช่วยบำรุงสมอง.
มะม่วง
มะม่วงเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Mangifera ซึ่งเป็นไม้ผลเมืองร้อนในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับถั่วพิสตาชีโอและมะม่วงหิมพานต์) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เพราะการที่ภูมิภาคนั้นมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและร่องรอยฟอสซิลที่หลากหลาย นับย้อนไปได้ถึง 25-30 ล้านปีก่อน มะม่วงมีความแตกต่างประมาณ 49 สายพันธุ์กระจายอยู่ตามประเทศในเขตร้อนตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ จากนั้นจึงแพร่หลายไปทั่วโลก เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบโต ยาว ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบอ่อนสีแดง ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เมล็ดแบน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง มะม่วงเป็นผลไม้เศรษฐกิจ ปลูกเป็นพืชสวน ประเทศไทยส่งออกมะม่วงเป็นอันดับ 3 รองจากฟิลิปปินส์ และเม็กซิโก เป็นผลไม้ประจำชาติของอินเดีย ปากีสถาน และฟิลิปปินส์ รวมทั้งบังกลาเท.
มะม่วงกะเลิง
มะม่วงกะเลิงหรือมะม่วงขี้กวาง เป็นพืชในวงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบบางคล้ายกระดาษ ดอกช่อออกตามปลายกิ่ง ดอกสีเขียวอมขาวหรือเหลืองอ่อน ก้านดอกยาว ดอกย่อยขนาดเล็ก กลิ่นหอม ผลคล้ายมะม่วงขนาดเล็ก สุกแล้วสีเหลืองอ่อน เนื้อสีเหลือง นุ่มมีเส้นใยมากและฉ่ำน้ำ พบทั่วไปในภาคใต้ของไทยไปจนถึงปาปัวนิวกินี ผลเมื่อสุกเนื้อเหลวเป็นน้ำ รับประทานโดยการเจาะผลแล้วดูด ผลดิบกินกับน้ำปลาหวาน ไฟล์:Mangga pari 071209-2355 plrtu.jpg ไฟล์:Mangga pari 071210-2455 plrtu.jpg ไฟล์:Mango ManggaAer Asit ftg.jpg.
มะม่วงหัวแมงวัน
มะม่วงหัวแมงวัน หรือรักหมู (चारोली; चिरौन्जी; चारोळी) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง เมื่อแก่จะเกลี้ยง ใบเดี่ยว ก้านใบยาว ดอกช่อ ออกตามปลายกิ่ง สีขาวหรือสีเหลืองอ่อน เกสรตัวผู้มี 10 อัน ผลเดี่ยว ขนาดเล็ก ค่อนข้างกลม เมื่ออ่อนเป็นสีเขียว แก่แล้วเป็นสีดำ เนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง ทำเครื่องใช้ต่างๆ ผลรับประทานได้ทั้งอ่อนและสุก แต่ยางของผลอาจทำให้ระคายเคืองในลำคอได้ ในอินเดียนำเมล็ดไปคั่ว ทำเป็นขนมกะเหรี่ยงเรียกสะโก่เร เปลือกต้นใช้ย้อมผ้าได้สีน้ำตาลอ่อนหรือชมพู.
ดู รายการผลไม้และมะม่วงหัวแมงวัน
มะม่วงหิมพานต์
มะม่วงหิมพานต์ เป็นไม้ดอกยืนต้น ในวงศ์ Anacardiaceae กลุ่มเดียวกับมะม่วง (mango) และถั่วพิสตาชีโอ มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล ซึ่งเรียกเป็นภาษาโปรตุเกสว่า "กาฌู" (caju - ผล) หรือ "กาฌูเอย์รู" (cajueiro - ต้น) ปัจจุบันเติบโตแพร่หลายทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน เพื่อใช้ประโยชน์จากเมล็ด และผล นำเข้ามาปลูกครั้งแรกที่ภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อปี..
ดู รายการผลไม้และมะม่วงหิมพานต์
มะม่วงจิ้งหรีด
มะม่วงจิ้งหรีด ภาคกลางเรียกมะม่วงป่า นราธิวาสเรียกกินนิง มาเลเซียเรียกกุยนี เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae พบในกวม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม มะม่วงจิ้งหรีดเป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทา มีน้ำยางทำให้ระคายเคือง ใบเหนียวคล้ายหนัง โคนก้านใบโป่งพอง ดอกช่อ ดอกย่อยสีออกเหลืองอมชมพูอ่อน ผลแบบเมล็ดเดียวแข็ง เนื้อหนา สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง ผลของมะม่วงจิ้งหรีดเมื่อสุกเป็นสีส้มอ่อน รสหวาน ออกดอกตลอดปี เนื้อผลสีเหลืองอมส้ม แน่น มีเส้นใย รสหวานอมเปรี้ยว ฉ่ำน้ำ มีกลิ่นฉุนและกลิ่นขี้ไต้ เป็นพืชที่พบตามธรรมชาติน้อย มักพบเป็นพืชปลูก คาดว่าเป็นลูกผสมระหว่างมะม่วงกับส้มมุด ผลสุกรับประทานได้ ผลดิบใช้ดองเกลือหรือตำน้ำพริก ในชวานำเมล็ดไปผลิตเป็นแป้ง เปลือกลำต้นใช้แก้โรคลมบ้าหมู ยางของผลดิบมีพิษ ต้นผลิตเรซินที่มีกลิ่น ดอกกลิ่นแรง.
ดู รายการผลไม้และมะม่วงจิ้งหรีด
มะม่วงขี้ยา
มะม่วงขี้ยา var.
มะม่วงป่า
มะม่วงป่า เป็นพืชในสกุลมะม่วง วงศ์ Anacardiaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบเหนียวคล้ายหนัง เห็นเส้นใบชัดเจนทั้งสองด้าน ใบแห้งสีออกแดง ผลสดคล้ายมะม่วงลูกเล็ก สีเขียวอมเหลือง ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาวอมเหลืองหรือขาวครีม เนื้อผลนุ่ม ฉ่ำน้ำ สีส้ม รสหวานพบการแพร่กระจายในมาเลเซีย สิงคโปร์ และภาคใต้ของไทย เมื่อสุก เนื้อเหลวเป็นน้ำ รับประทานโดยการเจาะผลดูด ผลดิบกินกับน้ำปลาหวาน.
มะยม
มะยม ภาคอีสานเรียกว่า หมากยม ภาคใต้เรียกว่า ยม เป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง เปลือกต้นขรุขระสีเทาปนน้ำตาล แตกกิ่งที่ปลายยอด กิ่งก้านจะเปราะและแตกง่าย ใบประกอบ มีใบย่อยออกเรียงแบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้านมีใบย่อย 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลมหรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาลเรื่อๆ ติดผลเป็นพวง ผลมีสามพูชัดเจน เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปร่างกลม แข็ง สีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด มีทั้งพันธุ์เปรี้ยวและพันธุ์หวาน ซึ่งมีรสหวานอมฝาดนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
มะยมฝรั่ง
มะยมฝรั่ง เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ใบเกลี้ยงเป็นมัน มีตุ่มใสบนผิวใบ ใบจะเป็นสีแดง ดอกหอม สีขาวครีม กลีบเลี้ยงเป็นหลอด กลีบดอกสีขาว ผลสดแบบมีเนื้อหลายเมล็ด ห้อยลง ทรงกลมแบน ผลอ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีส้ม แก่สีแดงสดหรือค่อนข้างดำ ฉ่ำน้ำ รสเปรี้ยวอมหวาน เป็นไม้พื้นเมืองในบริเวณสุรินัมในอเมริกาใต้ ไปจนถึงกายอานาและปารากวัย ปัจจุบันมีปลูกทั่วไป ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีปลูกที่เกาะชวา ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย แต่ไม่มากนัก รับประทานผลสดหรือแปรรูปเป็นแยม เยลลี่ หรือดอง ในบราซิลใช้ผลิตน้ำส้มสายชูหรือไวน์ ใช้เป็นไม้ประดับ ใบมีน้ำมันเมื่อขยี้จะมีกลิ่นฉุน ใช้ไล่แมลง เปลือกลำต้นมีแทนนินใช้ฟอกหนัง ในสุรินัมและบราซิลใช้ใบบดละเอียดเป็นยาเจริญอาหาร ในชวาใช้ผลเป็นยาลดความดันโลหิต.
มะริด (พืช)
มะริด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae ผลัดใบ แยกเพศ ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือออกสีชมพู มีขนเป็นมันปกคลุม ดอกตัวผู้ออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยงรูปท่อ ปลายเว้าเป็นสี่กลีบ กลีบดอกสีขาวอมเหลือง ดอกตัวเมียเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกสั้นมากดอกใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผลเปลือกบางมีขนสั้นๆสีน้ำตาลแดงปกคลุม กลิ่นคล้ายเนยแข็ง เนื้อสีขาว รสหวานฝาด ผลมะริด มะริดเป็นไม้พื้นเมือง ขึ้นได้ทั่วไปในฟิลิปปินส์ ผลสุกรับประทานได้ รสหวาน เนื้อไม้สีดำ ผิวเรียบทนทาน ในฟิลิปปินส์นิยมใช้ในงานหัตถกรรม.
มะละกอ
มะละกอ เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง สูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง ถูกนำเข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ ฯลฯ หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้.
มะละกอภูเขา
มะละกอภูเขา เป็นพืชในวงศ์ Caricaceae มีลักษณะเช่นดียวกับมะละกอแต่มีขนาดเล็กกว่า ก้านดอกสั้นมาก ผลรูปไข่กลับ เนื้อสีเหลืองอมส้ม ไม่เละ รสเปรี้ยว กลิ่นหอม เป็นพืชพื้นเมืองในแถบเทือกเขาแอนดีส ตั้งแต่โคลัมเบียจนถึงชิลีตอนกลาง นำมาปลูกในสหรัฐ ศรีลังกา และอินโดนีเซีย รับประทานผลสุก หรือนำไปต้มกับน้ำตาล ในอเมริกาใต้ใช้ทำน้ำผลไม้และแยม พืชชนิดนี้มีความต้านทานต่อไวรัสใบด่างวงแหวนมากกว่ามะละกอ.
มะสัง
มะสัง หรือ หมากกะสัง ((Scheff.) Swingle) เป็นพืชในวงศ์ Rutaceae เป็นไม้ยืนต้นแผ่กิ่งก้านจำนวนมาก ลำต้นและกิ่งก้าน มีหนามแหลมยาว แข็ง ใบประกอบแบบขนนก แผ่นใบโค้งขึ้นด้านบนเล็กน้อย สีเขียวเข้ม เป็นมันวาว ตามผิวใบมีต่อมน้ำมัน ดอกออกเป็นช่อแยกแขนงที่ซอกใบ คล้ายดอกกระถิน เป็นปุย ๆ มีสีขาว ผลทรงกลมสีเขียวคล้ายผลมะนาว ผิวเปลือกมีลายเป็นคลื่น เปลือกแข็งและหนามาก ผลอ่อนเปลือกสีเขียว เมื่อแก่จัดสีน้ำตาล มีเมล็ดจำนวนมาก.
มะหลอด
มะหลอด จังหวัดราชบุรีเรียกสลอดเถา ภาคใต้เรียกส้มหลอด เป็นไม้ผลในวงศ์ Elaeagnaceae ในไทยพบมากทางภาคเหนือ เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง มีเกล็ดละเอียดสีเทาหรือสีเงินอยู่ทั่วไป แผ่นใบสีเขียว ด้านล่างสีน้ำตาล มีเกล็ดเงินติดอยู่ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน ผลทรงรีหรือรูปไข่ เมื่ออ่อนสีเขียว มีจุดสีขาวหรือสีเงินบนผล เมื่อสุกสีแดงหรือส้มแดง มีสองชนิดคือ ชนิดเปรี้ยว ผลใหญ่ สุกเป็นสีเหลืองส้ม มีรสเปรี้ยว และชนิดหวาน ผลเล็กกว่า สีอ่อนกว่า รสหวานอมฝาด เมล็ดสีน้ำตาลเป็นพู มะหลอดชนิดเปรี้ยวนิยมบริโภคสดเป็นผลไม้ การนำไปแปรรูปมีน้อย ทางภาคเหนือนำไปทำส้มตำ นอกจากนั้น ยังมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน ยาระบาย แก้ท้องผูก เถาใช้แก้ไข้พิษ เปลือกต้นช่วยขับเสมหะ ดอกใช้แก้ริดสีดวงจมูก แก้ปวดศีรษะ และใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่นใช้ทำยาแก้ปวด แก้นิ่วได้ ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8011 qsbg11mar.jpg ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8012 qsbg11mar.jpg ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8015 qsbg11mar.jpg.
มะหวด
มะหวดหรือกำชำ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Sapindaceae ผิวเปลือกเรียบหรือเป็นแผ่นสะเก็ด สีน้ำตาลอมแดง แตกกิ่งจำนวนมาก ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ขอบใบเรียบ ดอกช่อแบบแตกแขนง แยกเพศไม่แยกต้น กลีบเลี้ยงมีขนสีน้ำตาล กลีบดอกสีขาวอมชมพู ดอกตัวผุ้มีเกสรตัวผู้ 8 อัน ผลเดี่ยว กลมรี อ่อนเป็นสีเขียว สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นดำ มีเมล็ดเดียว ใบอ่อนกินเป็นผัก ผลกินเป็นผลไม้ รสหวาน รากใช้แก้ไข้ ปวดศีรษะ พอกรักษาโรคผิวหนังผื่นคัน แก้พิษฝี ตำพอกที่หัวฝี แก้โรคผิวหนัง เมล็ดแก้โรคไอ.
มะหาด
มะหาด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae ต้นกำเนิดจากภูมิภาคเอเชียใต้ นิยมปลูกเอาไว้ใช้ประโยชน์ทุกส่วนของต้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทราย, ดินร่วนปนทราย, ดินร่วน และ ดินเหนียว มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีมาก ชอบบริเวณที่มีความชื้นสูงและแสงแดดเข้าถึงได้น้อย มักขึ้นกระจายตามป่าดิบทั่วไป.
มะขวิด
ผลแห้งของมะขวิดที่ขายในประเทศอินเดีย ผลมะขวิดอยู่บนต้น เปลือกต้นมะขวิด มะขวิด ภาคอีสานเรียกมะยม ภาคเหนือเรียกมะฟิด เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง อยู่ในกลุ่มไม้ยืนต้นผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย สูงถึง 12 เมตร กิ่งแขนงมีหนามเรียวแหลมตรง ยาว 4 เซนติเมตร ใบประกอบ แบบขนนกปลายคี่ ใบออกตรงข้าม มี 2-3 คู่ รูปไข่กลับ ยาวถึง 4 ซม.
มะขาม
วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.
มะขามป้อม
มะขามป้อม หรือ มะขามป้อมอินเดีย เป็นต้นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง และมีคุณค่าทางสมุนไพรด้วย มะขามป้อมเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดสระแก้ว มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ กันโตด (เขมร - กาญจนบุรี) กำทวด (ราชบุรี) มะขามป้อม (ทั่วไป) มั่งลู่, สันยาส่า (กะเหรี่ยง - แม่ฮ่องสอน) ศูนย์ปฏิบัติการพืชเศรษฐกิจ มะขามป้อมจัดเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงที่สุด ในบรรดาผลไม้ทั้งหมด เพราะมะขามป้อมลูกเล็กๆเพียงลูกเดียว ให้วิตามินซีสูงกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ถึง 12 เท่า และมากกว่าน้ำส้มคั้นถึง20 เท.
มะขามเทศ
มะขามเทศ เป็นพืชท้องถิ่นของประเทศไทย หลักฐานบางแหล่งกล่าวว่าเป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ตอนบนจากนั้นจึงแพร่กระจายไปสู่อเมริกาเหนือ กวม ฟิลิปปินส์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาเตลูกูเรียกว่า సీమ చింత "seema chintakaya" ชื่ออื่นๆได้แก่ guamúchil / cuamúchil / huamúchil (ในเม็กซิโก ภาษาสเปน), guamá americano (ในเปอร์โตริโก) opiuma (ภาษาฮาวาย), kamachile (ภาษาฟิลิปิโน),கோன புளியங்கா/ கொடுக்காப்புளி kodukkappuli (ภาษาทมิฬ), વિલાયતી આંબલી vilayati ambli (ภาษาคุชราต), जंगल जलेबी jungle jalebi หรือ ganga imli (ภาษาฮินดี), তেঁতুল tetul (ภาษาเบงกาลี), seeme hunase (ภาษากันนาดา) และ विलायती चिंच vilayati chinch (ภาษามราฐี) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นมีหนาม ใบบางและเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ดอกช่อ ขนาดเล็ก สีขาว เห็นเกสรตัวผู้เป็นพู่ชัดเจน ผลเป็นฝักโค้งเป็นปล้องๆ ฝักอ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในเป็นสีชมพูหรือสีขาว รสหวานหรือหวานอมฝาด ถ้าทิ้งไว้นาน เนื้อจะนุ่ม รสหวานจัดขึ้น แต่ถ้านานเกินไปจะมีกลิ่นเหล้าออกมา เมล็ดสีดำ มีปล้องละ 1 เมล็ด ฝักมะขามเทศ มะขามเทศในประเทศไทยแบ่งตามลักษณะฝักเป็นสามกลุ่มคือนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
มะดะหลวง
มะดะหลวง เป็นพืชในวงศ์ Guttiferae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาลแกมเทา ยางสีขาวเหนียว ลำต้นเกลี้ยง ใบมักห้อยลง ใบสีเขียวเข้ม ด้านบนเป็นมันเหนียวคล้ายหนัง ดอกสีขาว ผลเปลือกบางนิ่มสีส้มอ่อนหรือสีเหลืองเข้ม เมล็ดสีน้ำตาลเนื้อสีเหลืองแกมส้ม ลักษณะโดยทั่วไปใกล้เคียงกับมะพูด ผลดิบรับประทานได้หรือทำแยม รสเปรี้ยว ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร น้ำต้มผลแห้งปรุงรสด้วยน้ำตาลใช้ดื่มแก้ตับผิดปกติ บางครั้งใช้ยางเป็นสีย้อม.
มะดัน
มะดัน (pierre.)หรือส้มไม่รู้ถอย หรือส้มมะดัน เป็น ผลไม้ที่เป็นประเภทไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ อยู่ในวงศ์ GUTTIFERAE มีกิ่งก้านเล็กๆจำนวนมาก โคนกิ่งเล็กเป็นเต้านูน บางต้นมีกิ่งเล็กๆงอกสานกันคล้ายรังนก เรียกรกมะดัน ใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายแหลม ดอกสีเขียว ผลมะดันนั้นมีลักษณะที่ยาวรีสีเขียวและเปรี้ยวจัด เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งและขรุขร.
มะดูก
มะดูก เป็นพืชในวงศ์ Celastraceae มีหูใบแต่ร่วงง่าย ใบเดี่ยว มักจักเป็นซี่ฟันตื้นๆ ดอกช่อออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ดอกสีขาวครีม มีจุดสีน้ำตาลแดง มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก เกสรตัวผู้ 5 อัน ก้านชูแบน ผลรูปรีหรือกลม สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง ผลสุกรับประทานได้ รากใช้แก้พิษฝี หรือผสมกับสมุนไพรอื่นเพื่อทำเป็นยาบำรุงกระดูก ดับพิษ.
มะงั่ว
มะงั่วหรือส้มมะงั่ว หรือ มะนาวควาย เป็นพืชในวงศ์ Rutaceae เป็นไม้พุ่มมีกิ่งมาก เปลือกลำต้นสีเทาอ่อน ไม้เนื้ออ่อน ยอดอ่อนสีม่วงหรือเขียวอมม่วง กิ่งอ่อนสีอมม่วง เป็นเหลี่ยม กิ่งแก่กลม ผิวเกลี้ยงมีหนามแหลมตามซอกใบ ใบประกอบลดรูปเหลือใบเดียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกช่อออกตามซอกใบ ดอกสีชมพูหรือขาว ผลทรงกลมยาว ผิวหยาบ ผลสดเปลือกเป็นปุ่มปมเล็กน้อย เปลือกหนา สีเหลือง กลิ่นหอม แต่ละกลีบขนาดเล็ก รสออกเปรี้ยว เมล็ดรูปไข่จำนวนมาก มีสองพันธุ์คือ พันธุ์ที่มีรสเปรี้ยว ยอดและตาดอกสีชมพู เนื้อมีรสเปรี้ยว และพันธุ์ที่รสไม่เปรี้ยว ยอดและตาดอกไม่เป็นสีชมพู เนื้อรสไม่เปรี้ยว ส้มโอมือและส้มซ่าหวานจัดเป็นสายพันธุ์ย่อยของมะงั่ว เค้กมะงั่ว Yuja cha, ชาพื้นบ้านของเกาหลีทำจากมะงั่วและน้ำตาล ถิ่นกำเนิดของมะงั่วอยู่ในอินเดีย กระจายพันธุ์ไปจนถึงจีนและอิหร่าน ใช้เปลือกผลทำขนมหวานและเค้ก ใช้ทำน้ำหอม ในจีนใช้รากต้มน้ำรักษาอาการผิดปกติของระบบหายใจและปวดหลัง ผิวมะงั่วมีน้ำมันมากเรียกน้ำมันผิวมะงั่ว น้ำมะงั่วรสเปรี้ยว ใช้แก้ไอ ใช้เป็นน้ำกร.
มะตูม
ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
มะปราง
มะปราง เป็นชื่อของผลไม้เมืองร้อนชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Anacardiaceae (วงศ์เดียวกับ มะม่วง มะกอก ฯลฯ) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มะปรางมีทรงต้นค่อนข้างแหลม มีใบมาก ไม่มีผลัดใบนอก กิ่งก้านแตกแขนงจนทึบ รากแก้วค่อนข้างแข็งแรงมากจึงสามารถทนความแห้งแล้งได้ดี ดอกออกเป็นช่อและก็มีสีเหลืองเมื่อบาน ผลของมะปรางจะมีขนาดพอๆ กับไข่ของนกพิราบและก็มีสีเหลืองหรือสีเหลืองอมส้มเวลาสุก.
มะปริง
มะปริง หรือปริง ตง ส้มปริง ภาษาเขมรสุรินทร์เรียกโค้ง เป็นผลไม้พื้นเมืองของประเทศไทย ลักษณะคล้ายมะปราง ต่างกันที่ผลเล็กและป้อมกว่า เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทาดำ มียางสีเหลือง ใบเดี่ยวออกตรงข้าม แผ่นใบสีเขียวเข้มแกมม่วง ยอดอ่อนมีใบสีม่วงห้อยลง ดอกช่อ ออกตามซอกใบหรือตามกิ่ง ดอกสีเหลืองอ่อนหรือขาวปนเขียว ผลกลมรี ผลดิบสีเขียวอ่อน เนื้อกรอบชุ่มน้ำ ผลสุกสีเหลือง เนื้อนุ่ม เมล็ดสีม่วงมีรสฝ.
มะปี๊ด
มะปี๊ดหรือส้มจี๊ด คนจีนแต้จิ๋วเรียกกำกั๊ดหรือกิมกิก เชื่อกันว่ามีต้นกำเนิดในประเทศจีนแล้วจึงแพร่กระจายมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย ฮาวาย อินดีสตะวันตก อเมริกากลาง และอเมริกาเหนือ Morton, J.
มะนาวไม่รู้โห่
ผลมะนาวไม่รู้โห่ มะนาวไม่รู้โห่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa carandas L.; ชื่อสามัญ: Karanda; Carunda; Christ's thorn) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น มะนาวโห่, หนามแดง, หนามขี้แฮด (เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีลักษณะเป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดย่อม สูง 2-3 เมตร ตามกิ่งก้านมีหนามค่อนข้างยาวและแหลม ลักษณะใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่รี ปลายและโคนมน ขอบเรียบ ดอกมีขนาดเล็กมีสีขาวเป็นช่อ หอมกลีบดอกเป็นรูปหอก ผลขนาดเท่าหัวแม่มือ เป็นพวงสีแดงสดแก่สีดำรับประทานได้ ชื่อ "มะนาวไม่รู้โห่" นั้นเป็นชื่อพืชที่มีปรากฏเรียกกันมาแต่โบราณ ซึ่งเห็นได้จากที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีเช่นในเรื่อง พระรถเมรี นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายเป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชน.
ดู รายการผลไม้และมะนาวไม่รู้โห่
มะแฟน
มะแฟน วงศ์ Burseraceae ภาษากะเหรี่ยงเรียกเสอะพี่ ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นสีน้ำตาล กิ่งอ่อนมีขนปกคลุมเล็กน้อย ใบประกอบ ไม่มีหูใบ ผิวใบและท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อ ผลรับประทานได้ รสเปรี้ยวอมหวาน.
มะไฟ
มะไฟ (วงศ์: Phyllanthaceae) ภาคใต้เรียกส้มไฟ เพชรบูรณ์เรียกหัมกัง เป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ต่อมาจึงแพร่หลายไปทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบเดี่ยว รูปไข่ ดอกเป็นช่อสีชมพูอ่อนหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ผลออกเป็นช่อ ผลอ่อนมีขนคล้ายกำมะหยี่ พอแก่ผิวเกลี้ยง เปลือกสีเหลือง เนื้อสีขาวขุ่นหรือขาวใสอมชมพู แล้วแต่พันธุ์ เมล็ดแบนสีน้ำตาล พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก.
มะไฟกา
มะไฟกา หรือมะไฟเตา ส้มไฟดิน ส้มไฟป่า เป็นไม้ยืนต้นในสกุล Baccaurea เปลือกต้นสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ออกรวมเป็นกลุ่ม ข้อต่อระหว่างโคนใบกับก้านใบบวมพอง ดอกออกที่ลำต้นและปลายกิ่งเป็นช่อ ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกตัวผู้มีกลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ มีขนสีขาวปกคลุม ดอกตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่า ผลกลม เปลือกหุ้มเหนียวและหนา แก่แล้วผลเป็นสีแดงแกมม่วง เนื้อหุ้มเมล็ดสีเหลืองอ่อน รสเปรี้ยว เมล็ดกลมแบน.
มะไฟจีน
มะไฟจีน หรือส้มมะไฟ (wampee ซึ่งได้จากชื่อพ้อง Clausena wampi (Blanco), D. Oliver) เป็นพืชตระกูลสัมชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายมะไฟ ในภาษาจีนเรียกว่า หวงผี (黄皮, พินอิน:huángpí) แปลว่า (ผลไม้)ผิวสีเหลือง มะไฟจีนเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ต้นสูงประมาณ 3-8 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียวเข้ม ผลมีลักษณะคล้ายกับมะไฟ คือเป็นพวง แต่เปลือกจะบางกว่าและมีรสเฝื่อนเล็กน้อยเนื่องจากมีต่อมน้ำมัน เนื้อในรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานสดหรือนำไปแปรรูปได้ ภายในมีเมล็ดตั้งแต่ไม่มีไปจนถึง 5 เมล็ด เมล็ดมีรูปทรงแบนรีสีเขียว ปลายแหลมสีน้ำตาล มะไฟจีนขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชนิด แต่ดินที่เหมาะสมคือดินที่มีการระบายน้ำพอสมควร นอกจากนี้ ยังต้องให้น้ำด้วยถ้าหากอากาศแล้งมาก มะไฟจีนเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดตลอดทั้งปี และอากาศไม่ร้อนหรือหนาวจนเกินไป นิยมปลูกกันมากทางภาคใต้ของจีน ภาคเหนือของเวียดนาม และที่จังหวัดน่าน.
มะไฟควาย
มะไฟควาย เป็นพืชท้องถิ่นในมาเลเซีย เกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ภาคกลางเรียกลังแขหรือลำแข ปัตตานีเรียกมะแค้ ลังแข ภาษาอินโดนีเซียเรียกตัมปุยซายาหรือตัมปุยบูลัน ภาษามลายูเรียกตัมโปย เงาะซาไกเรียกลารัก เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ใบเกลี้ยง ไม่มีขนอ่อน แผ่นใบเรียวเข้าหาโคน ไม่เว้า ช่อดอกยาว ออกเป็นกลุ่มตามกิ่งหรือลำต้น ผลมีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับพืชในสกุลเดียวกันทั้งหมด ผลกลม เปลือกหนามาก มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ก้านของผลยาว แข็ง ผลดิบสีชมพูอมม่วง มีขน เมื่อแก่กลายเป็นสีน้ำตาล ไม่มีขน เนื้อสีขาวขุ่น แต่เมื่อถูกอากาศจะกลายเป็นสีดำอย่างรวดเร็ว มี 3-6 เมล็ด รสหวานอมเปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผลไม้.
มะเฟือง
มะเฟือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ชื่อสามัญ: Carambola) เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาว.
มะเม่า
มะเม่า หรือ หมากเม่า ทางพิษณุโลกเรียกเม่าหลวง ระนองเรียกมัดเซ เป็นไม้ยืนต้นในสกุล Antidesma ใบเดี่ยว สีเขียวเป็นมัน โคนใบเรียวมน ดอกออกเป็นช่อ ตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกแยกเพศแยกต้น ผลกลม ออกรวมกันเป็นพวง ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกเป็นสีแดง สุกเต็มที่เปลี่ยนเป็นสีดำ พบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.
มะเม่าดง
มะเม่าดงหรือเม่าช้าง ภาษากะเหรี่ยงเรียกส่าคู่โพ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Phyllanthaceae แยกเพศ ลำต้นตรง ใบหนาและเหนียวเป็นมันวาว เส้นกลางใบนูนเด่นด้านหลังใบ ใบอ่อนสีม่วงแดงเป็นมัน หลังใบสีเขียวเข้มกว่าท้องใบ ดอกช่อมีดอกย่อยจำนวนมาก ดอกตัวผู้ไม่มีก้านดอก กลีบดอกกลม ดอกตัวเมียมีก้านดอก ผลสดมีเมล็ดเดียว สีแดงอมเหลืองไปจนถึงม่วง แดงอมน้ำเงิน เนื้อผลฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปไข่ มีถิ่นกำเนิดในอินเดียแถบเทือกเขาหิมาลัย กระจายพันธุ์ลงมาทางใต้จนถึงศรีลังกา พม่า มาเลเซีย ปลูกเป็นการค้าในอินโดนีเซียและอินโดจีน ผลสดรับประทานได้ มีสีติดมือและปาก สุกไม่พร้อมกัน เมื่อดิบเปรี้ยว นิยมใช้ทำแยม น้ำคั้นผลสุกใช้ทำเครื่องดื่มหรือไวน์ อินโดนีเซียใช้ผลิตน้ำปลาที่มีรสเปรี้ยว ใบอ่อนใช้ปรุงแต่งรสเปรี้ยวและรับประทานเป็นผัก เปลือกลำต้นมีอัลคาลอยด์และมีรายงานว่าเป็นพิษ รสเปรี้ยวของผลเกิดจากกรดซิตริก.
มะเขือเทศราชินี
มะเขือเทศราชินี เป็นมะเขือเทศที่ผลเล็ก รสชาติหวาน เนื้อแน่นมีกลิ่นหอมต่าง และมีสารบีตา-แคโรทีน วิตามินซี และวิตามินอีสูง การปลูกจะเก็บเกี่ยวได้ภายใน 90 วัน ผลผลิตเฉลี่ย 2,000-4,000 กิโลกรัม/ไร่ การแปรรูป สามารถนำผลไปทำมะเขือเทศราชินีอบแห้ง และมะเขือเทศราชินีแช่อิ่ม.
ดู รายการผลไม้และมะเขือเทศราชินี
มะเดื่อ
มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F.
มะเดื่อชุมพร
มะเดื่อชุมพร หรือ มะเดื่ออุทุมพร เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ Moraceae ลำต้นตรงสูงเต็มที่ 20 เมตร เปลือกต้นสีเทา มีถิ่นกำเนิดที่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และออสเตรเลีย และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานและเป็นพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดชุมพร.
มะเดื่อหอม
มะเดื่อหอมหรือมะเดื่อขน ภาษากะเหรี่ยงเรียก ซาโปล่แปล่ะ หรือซาหวีโซ หรือโป่แประสะ เป็นไม้พุ่ม กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนยาวปกคลุมหนาแน่น ผิวใบมีขนยาวปกคลุมหนาแน่น ดอกแยกเพศแยกต้น ช่อดอกแบบดอกมะเดื่อ มีขนยาวปกคลุม สุกเป็นสีส้มหรือสีน้ำตาล ผลสุก รับประทานได้ รสหวาน.
มังคุด
มังคุด Linn.
มังคุดทะเล
มังคุดทะเลหรือวา เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Guttiferae ไม่ผลัดใบ ต้นสีเทาดำ เปลือกแตกเป็นสะเก็ดตามยาว มียางสีเหลือง ใบเดี่ยว สีเขียว ผิวเรียบเป็นมัน ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบเลี้ยงสีเขียว ติดทยจนเป็นผล เมื่อแกเป็นสีส้มอมแดง เปลือกหนา มีเนื้อหุ้มเมล็ด ไม้ใช้ในการก่อสร้างและทำเครื่องมือต่างๆ ผลใช้รับประทานได้.
มามอนซีโย
มามอนซีโย (Mamoncillo) หรือ มามันซีโอ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ เป็นไม้ผลอยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่และลำไย) เป็นผลไม้เมืองร้อน ตามธรรมชาติจะมีในเขตร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรและมีในทวีปอเมริกาเท่านั้น เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ลำต้นมีความสูงถึง 30 เมตร ใบยาว 5-8 เซนติเมตร.
มารัง
ใบและผล ผลสุกในฟิลิปปินส์ มารัง (marang) ชื่ออื่นๆได้แก่ johey oak, เปอดาไลเขียว มาดัง ตารับ เตอรับ หรือตีมาดัง เป็นพืชพื้นเมืองในเกาะบอร์เนียว เกาะปาลาวัน และเกาะมินดาเนา ในฟิลิปปินส์พบกระจายพันธุ์ในมินโดโร เกาะมินดาเนา บาซิลัน และคาบสมุทรซูลู ในเกาะบอร์เนียว พบเป็นพืชป่ามีลักษณะใกล้เคียงกับ ขนุน จำปาดะและ สาเก ผลของมารังขนาดใหญ่เนื้อรสหวาน รับประทานได้ โดยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแก่เมื่อสุก เนื้อภายในผลคล้ายขนุน แต่ยวงใหญ่กว่าและเป็นสีขาว รับประทานสด หรือใช้ทำเค้ก แต่ต้องรับประทานทันทีหลังจากผ่าเพราะจะเสียรสชาติและเกิดสีดำเร็วมาก เมล็ดรับประทานได้ โดยนำไปต้มหรืออบ ผลอ่อนต้มในกะทิรับประทาน ใช้เป็นผัก.
มาลัย (พืช)
มาลัย (ภาษาอูรดู: فالسہ, ภาษาฮินดี: फ़ालसा) เป็นพืชในวงศ์ Tiliaceae เป็นไม้ผลัดใบ เปลือกหยาบสีเทา กิ่งห้อยลง กิ่งอ่อนมีขนแข็งห่อหุ้มหนาแน่น ใบเดี่ยว ร่วงง่าย ใบด้านบนมีขนปกคลุม ด้านล่างมีผงรังแค ดอกช่อ สีเหลือง ผลสดแบบเมล็ดเดียวแข็ง รูปกลมเป็นพูไม่ชัดเจน สีแดงหรือสีม่วง เนื้อผลนุ่ม มีเส้นใย สีขาวแกมเขียว รสเปรี้ยว เป็นไม้พื้นเมืองในแถบเทือกเขาหิมาลัย ในปากีสถานและอินเดียFlora of Pakistan: Pacific Island Ecosystems at Risk: นิยมปลูกในอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบทางภาคเหนือของไทยและเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ผลมาลั.
ม่อนไข่
ผลม่อนไข่ผ่าครึ่ง ผลม่อนไข่พร้อมรับประทานในลาว ผลม่อนไข่อยู่บนต้น ม่อนไข่ เป็นผลไม้เนื้อสีทอง ภาคเหนือและภาคอีสานเรียกม่อนไข่ ราชบุรีเรียกว่า ลูกท้อพื้นบ้าน ปราจีนบุรีเรียกว่าท้อเขมร เพชรบูรณ์เรียกทิสซา ฟิลิปปินส์ เรียก chesa ศรีลังกาเรียก Laulu Lavulu หรือ Lawalu มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา บราซิล และเอลซัลวาดอร์ ม่อนไข่เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบบาง มัน เรียวแหลม ลำต้นมียางสีขาว ก้านอ่อนเป็นสีน้ำตาล ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม ผลสุกสีเหลืองอ่อน เปลือกบาง เนื้อผลสีเหลืองสด เหนียวคล้ายแป้งทำขนม ภายในผลมีเมล็ดขนาดใหญ่ รสหวาน เนื้อผลนิ่มคล้ายไข่แดง.
ระกำ
ระกำ เป็นพืชตระกูลปาล์ม ซึ่งมีต้นหรือเหง้าเตี้ย ยอดแตกเป็นกอ ใบมีลักษณะยาวเป็นทาง ยาวประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นมีหนามแหลมยาวประมาณ 1 นิ้ว ออกผลเป็นทะลาย ทะลายหนึ่งมีตั้งแต่ 2-5 กระปุก เปลือกผลมีหนามแข็งเล็ก ๆ อุ้มไปทางท้ายผล ผลหนึ่ง ๆ มี 2-3 กลีบ เป็นส่วนมากเมื่อดิบมีรสฝาดและเปรี้ยว เมื่อสุกจะมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้ออ่อน บาง กลิ่นหอม ฉ่ำน้ำ ลักษณะใกล้เคียงกับสละ แต่ผลป้อมกว่า เมล็ดใหญ่กว่า สีจางกว่า เนื้อจะออกสีอมส้มมากกว่านิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
ลองกอง
ลองกอง เป็นลางสาดพันธุ์หนึ่งชนิดที่เปลือกหนาและยางน้อย โดยลางสาดเป็นไม้ต้นชนิด Lansium domesticum Corrêa ในวงศ์ Meliaceae ผลกลม ๆ ออกเป็นพวง กินได้ เม็ดในขม ลางสาดนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย มีหลายชื่อ อาทิ ลังสาด, ดูกู โดยชื่อ "ลางสาด" หรือ "ลังสาด" นั้นมาจากภาษามลายูว่า "langsat", ชื่อ "ดูกู" มาจากภาษาอินโดนีเซียว่า "duku" และชื่อ "ลองกอง" มาจากภาษายาวีว่า "ดอกอง".
ละมุด
ละมุด (Sapodilla) เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบชนิดหนึ่ง ผลมีรสหวานหอมนิยมรับประทานเป็นอาหารว่างและนิยมรับประทานในประเทศไทย ผลละมุดสุกมีน้ำตาลสูง และประกอบไปด้วย วิตามินเอและซี ธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส ละมุดดิบมียางสีขาวเหมือนน้ำนม มีสารที่ชื่อว่า “gutto” ละมุดมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ ชวานิลอ (ปัตตานี,มลายู ยะลา).
ลำไย
ลำไย (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็.
ลิ้นจี่
ลิ้นจี่ เป็นชื่อของผลไม้ประเภทผลเดี่ยวซึ่งมีลักษณะเปลือกสีแดงชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE (ซึ่งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลำไยนั้นเอง) ลิ้นจี่นั้นเป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยให้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายในรูปของผลไม้สดและผลไม้แปรรูป ปัจจุบันนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายขึ้นเรื่อยๆจากสายพันธุ์ดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเป็นผลไม้โปรดของหยางกุ้ยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถังเสวียนจง ทรงบัญชาให้ทหารม้านำลิ้นจี่จากแหล่งปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ฉางอาน เปลือกผลของลิ้นจี่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสร.
สละ
ละ อาจหมายถึง.
สับปะรด
ับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ananas comosus) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่มีต้นกำเนิดมาจากบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ลำต้นมีขนาดสูงประมาณ 80-100 เซนติเมตร การปลูกสามารถปลูกได้ง่ายโดยการฝังกลบหน่อหรือส่วนยอดของผลที่เรียกว่า จุก เปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลักษณะคล้ายตาล้อมรอบผล แต่ละท้องถิ่นเรียกสับปะรดแตกต่างกันออกไปเช่น.
สาลี่
ลี่ อาจหมายถึง.
สตรอว์เบอร์รี
ตรอว์เบอร์รี (strawberry) เป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้ มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมีลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอเบอร์รีเป็นผลไม้ทางการค้าที่สำคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลก.
ดู รายการผลไม้และสตรอว์เบอร์รี
ส้มโอ
้มโอ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในตระกูลเดียวกับส้ม มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ) มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู (กะเหรี่ยง มลายู) มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า Pomelo ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาดัตช์ pompelmoes ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ส้มที่ลูกเท่าฟักทอง" นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
ส้มเช้ง
้มเช้ง (Citrus sinensis) หรือส้มตรา หมากหวาน เป็นพืชพื้นเมืองของจีน เป็นส้มในกลุ่มส้มเกลี้ยง ทรงพุ่มขนาดเล็ก ดอกสีขาวครีม ผลกลม เว้าบริเวณขั้วเล็กน้อย ก้นผลเป็นวงคล้ายมีตราติด เปลือกหนา ขรุขระ มีต่อมน้ำมันทั่วผล เมื่ออ่อนเปลือกสีเขียวเข้ม พอสุกเป็นสีเขียวอ่อนอมเหลือง ก้านผลใหญ่ เนื้อในสีเหลือง ชาวจีนใช้เป็นผลไม้มงคลในเทศกาลสารทจีน,เทศกาลไหว้พระจันทร์ และ พิธีมงคลสมรสของชาวจีน วิธีกินสดหรือทำน้ำผลไม้.
ส้มเขียวหวาน
้มเขียวหวาน เป็นส้มชนิดหนึ่ง ที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากส้มจีน (C. reticulata) ในประเทศไทยมีผู้สันนิษฐานว่ามีผู้นำเข้าต้นพันธุ์มาจากประเทศจีนเมื่อระยะเวลากว่า 100 ปีมาแล้ว โดยลักษณะทั่วไปของส้มเขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเป็นแอ่งตื้น ๆ ผิวผลเรียบ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีส้มอมทอง ฉ่ำน้ำ กลีบแยกออกจากกันได้โดยง่าย มีรสชาติอร่อยหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เมื่อแกะออกมาแล้วกลิ่นจะติดจมูก ทำให้เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมาก ทั้งในรูปของผลไม้สดและในรูปของน้ำส้มคั้น ซึ่งนอกจากจะให้คุณค่าทางอาหารสูงแล้ว การบริโภคในลักษณะที่รวมทั้งเส้นใยและกากจะเป็นยาระบายอ่อนๆได้เป็นอย่างดีอีกด้วยส้มเขียวหวานที่ผลิตในแต่ละปีจะใช้บริโภคทั้งภายในประเทศและส่งออกไปจำหน่ายประเทศเพื่อนบ้าน นำรายได้เข้าประเทศปีละหลายล้านบาท แหล่งที่ขึ้นชื่อว่าปลูกส้มเขียวหวานกันมากและมีชื่อเสียงในประเทศไทย คือ ตำบลบางมดในพื้นที่อำเภอราษฎร์บูรณะและอำเภอบางขุนเทียนของจังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือแขวงบางมดในเขตทุ่งครุและเขตจอมทองของกรุงเทพมหานคร) จนได้ชื่อว่า "ส้มบางมด" แต่ต่อมาในปี พ.ศ.
หม่อน
หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) ภาคอีสานเรียก มอน ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียก เก้ซิวเอียะ เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อนสามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทำน้ำผลไม้มีฤทธิ์กำจัดอนุมูลอิสร.
หลุมพี
หลุมพี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Eleiodoxa conferta (Griff.) Burr.) เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง พวกปาล์มลำต้นสั้นแตกหน่อเป็นกอใหญ่ออกดอกผลแล้วตายไป ขึ้นในที่ลุ่มน้ำขังและป่าพรุ ออกดอกตั้งแต่เดือนมิถุนายน - กันยายน ออกผลตั้งแต่ดือนพฤศจิกายน - มีนาคม ตั้งแต่เริ่มออกช่อดอกจนถึงผลสุก ใช้ระยะเวลา ประมาณ 18 - 20 เดือน หลุมพี เป็นพืชที่มีความสัมพันธ กับระบบนิเวศ ในป่าพรุอย่างเหนียวแน่น โดยสภาพทางธรรมชาติเป็นไม้ชั้นล่างในป่าพรุขึ้นได้และเจริญเติบโตได้ดีในที่มีร่มเงา และต้องมีน้ำขังตลอดปี ลักษณะของต้นหลุมพีออกเป็นกอใหญ่ แต่ละต้นออกผล แต่ละต้นออกผลครั้งเดียวแล้วตาย ต้นอื่นซึ่งเป็นหน่อในกอเดียวกัน จะออกผลหมุนเวียน กันต่อไป ทำให้พื้นที่ยึดครองของหลุมพี ขยายกว้างขึ้นตลอด สามารถเก็บความชื้นและน้ำไว้ได้ ซึ่งเอื้อต่อการดำรงชีวิต ของพืชและสัตว์ชนิดอื่นๆในป่าพรุ ที่ผูกพันเป็น ห่วงโซ่อาหาร เกิดผลดี ต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมโดยรวม อันเป็นปัจจัยหลักในการ ดำรงชีวิตของชุมชนรอบป่าพร.
หว้า
หว้า เป็นไม้ประเภทไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดจากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบทั่วไปตามป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบ ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,100 เมตร เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำเพชรบุรี.
อาโวคาโด
อาโวคาโด หรือ ลูกเนย (avocado) เป็นผลไม้ที่มีเนื้อมันเป็นเนย เป็นต้นไม้พื้นเมืองของรัฐปวยบลาในประเทศเม็กซิโก จัดเป็นพืชดอกในวงศ์ Lauraceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับอบเชย, กระวาน และเบย์ลอเรล (bay laurel) ผลของอาโวคาโดมีรูปทรงคล้ายสาลี่ รูปไข่ หรือรูปกลม มิชชันนารีชาวอเมริกันนำมาปลูกในประเทศไทยครั้งแรกที่จังหวัดน่านนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
อินทผลัม
อินทผลัม เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง.
องุ่น
องุ่น เป็นพืชยืนต้น มีลักษณะเป็นไม้พุ่มเลื้อย มีลักษณะเนื้อแข็งและมีลำต้น กิ่งถาวรอายุเกิน 1 ฤดู ถ้าปล่อยให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติจะเลื้อยเกาะกิ่งไม้ ใบกลมขอบหยักเว้าลึก 5 พู โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ดอกย่อยขนาดเล็กสีเขียวมีหมวก จะหลุดออกเมื่อดอกบานกลีบดอกเมื่อบานสีขาว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ เป็นผลเดี่ยวที่ออกเป็นพวง (เป็นผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกช่อแต่ดอกไม่หลอมรวมกัน) ผลย่อยรูปกลมรีและฉ่ำน้ำ มีผิวนวลเกาะและรสหวาน มีสีเขียว, ม่วงแดงและม่วงดำแล้วแต่พันธุ์ ในผลมีเมล็ดประมาณ 1 - 4 เมล็.
ทับทิม (ผลไม้)
ผลทับทิม แกะออก เห็นเมล็ดข้างใน บทความนี้กล่าวถึง "ทับทิม" ในฐานะผลไม้ชนิดหนึ่ง สำหรับทับทิมในความหมายอื่นๆ ดูได้ใน ทับทิม ทับทิม ชื่อท้องถิ่น เซี๊ยะลิ้ว, พิลา, พิลาขาว, มะก่องแก้ว, มะเก๊าะ, หมากจัง เป็นไม้ผลขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 5-8 เซนติเมตร ทับทิมมีถิ่นกำเนิดจากตะวันออกของประเทศอิหร่าน ทางตอนใต้ของอัฟกานิสถานและทางตอนเหนือของเทือกเขาหิมาลัย ทับทิมจึงชอบอากาศหนาวเย็นและอยู่บนพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลอย่างน้อย 300 เมตร ยิ่งอากาศหนาวเนื้อทับทิมจะมีสีแดงเข้มมากขึ้น.
ดู รายการผลไม้และทับทิม (ผลไม้)
ทิ้งทวน
ทิ้งทวน เป็นพืชในวงศ์ Ericaceae เป็นไม้พุ่มใบออกสีชมพูอมแดง ผลิใบอ่อนเป็นช่วงๆ ดอกช่อ มีกลิ่นหอม ดอกเรียงตัวเป็นแถว ก้านห้อยลง ดอกสีชมพูหรือขาว ผลสดกลม สีดำอมแดง มีขนปกคลุม มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนล่าง พบมากในเกาะนิวกินี กระจายพันธุ์จากพม่า ไทย ไปจนถึงจีนและญี่ปุ่น ผลรับประทานได้ นิยมแปรรูปเป็นแยมและเยลลี่ เป็นอาหารนก เนื้อไม้แข็ง ใช้ทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง.
ทุเรียน
ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..
ทุเรียนเทศ
ผลทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศพันธุ์''subonica'' ดอกทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศ หรือ ทุเรียนน้ำ (Soursop, Prickly Custard Apple.; L.) ชื่อเรียกอื่น ๆ คือ ทุเรียนแขก (ภาคกลาง) หมากเขียบหลดหรือหมากพิลด (ภาคอีสาน) ทุเรียนน้ำ (ภาคใต้) และ มะทุเรียน (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์เดียวกับน้อยหน่าและกระดังงา ใบเดี่ยว กลีบดอกแข็ง มีกลิ่นหอมตอนเช้า ผลมีรูปร่างคล้ายทุเรียน มีหนาม เปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแก่สีดำ ปลูกมากในแถบอเมริกากลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพืชที่ชอบที่ที่มีความชื้นสูง.
ท้อ
ลูกท้อ (桃; Peach; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus persica) เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน จัดเป็นไม้พุ่มผลัดใบ อยู่ในสกุล Prunus อันเป็นสกุลเดียวกันกับ ซากุระ, บ๊วย, เชอร์รี่ หรือนางพญาเสือโคร่ง ท้อจัดเป็นไม้เมืองหนาวที่จะขึ้นได้ดีในที่ ๆ มีความสูงตั้งแต่ 3,000 ฟุตขึ้นไป อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 10 องศาเซลเซียส ทนแล้งได้ดี เป็นไม้ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบจัก ดอกเดี่ยว มักออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรืออาจเป็นสีแดง หรือชมพู ดอกจะแตกออกมาก่อนใบ ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยว มีขนปกคลุมทั่วบริเวณผิว ท้อนับเป็นผลไม้ที่ใช้ประโยชน์ในการรับประทานมาอย่างยาวนาน และได้รับความนิยมไปทั่วโลก นอกจากนี้แล้วในวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ จะมีท้อเข้ามาร่วมอยู่ด้วย ได้แก่ ชาวจีนมีความเชื่อว่า ท้อเป็นสัญลักษณ์ของการมีอายุยืนยาว และเกี่ยวข้องกับการกับการป้องกันสิ่งชั่วร้าย ถ้าดอกท้อของบานในระหว่างการฉลองวันปีใหม่ หมายถึง ปีต่อไปจะเป็นปีของโชคลาภ และดอกท้อยังใช้ประดับตกแต่งภายในบ้านเพื่อความเป็นสิริมงคล ป้องกันสิ่งชั่วร้ายอีกด้วย นอกจากนี้แล้วในสมัยโบราณ การเขียนป้ายคำอวยพรก็นิยมเขียนลงไม้ที่ทำมาจากต้นท้อ ในนิทานพื้นบ้านของญี่ปุ่น โมโมทาโร่ (桃太郎) ซึ่งเป็นเด็กชายที่มีพละกำลังมากมายและเป็นผู้นำในการปราบปีศาจ ก็กำนิดมาจากลูกท้อ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทย ท้อมีการนำเข้ามาปลูกในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น โครงการหลวง โดยมีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มะฟุ้ง, มักม่น, มักม่วน, หุงคอบ, หุงหม่น เป็นต้น.
ขนุน
นุน (หรือ A. heterophylla) ภาคอีสานเรียกบักมี่ ภาคเหนือเรียกบ่าหนุน สิบสองปันนาเรียกหมากมี่ หรือ หมากหนุน กาญจนบุรีเรียกกระนู ภาษาไทใหญ่เรียก ลาง เป็นไม้ผลยืนต้นในวงศ์ Moraceae มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้และแพร่หลายมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และได้รับความนิยมมากในคาบสมุทรมลายู ไม่ปรากฏว่าเข้ามายังประเทศไทยเมื่อใด แต่มีกล่าวถึงในเอกสารโบราณตั้งแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา ชื่อสามัญของขนุนในภาษาอังกฤษคือ jackfruit มาจากภาษาโปรตุเกส jaka ที่เพี้ยนมาจากภาษามลายู chakka นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
ข่าป่า
ป่า เป็นพืชในวงศ์ Zingiberaceaeเป็นพืชท้องถิ่นในอินโดนีเซียและมาเลเซียเป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำต้นใต้ดินแบบเหง้า ใบเดี่ยว มีลิกุล ผิวใบด้านบนเรียบ ผิวใบด้านล่างมีขนสั้นสีขาวปกคลุม ก้านใบแผ่เป็นกาบหุ้มลำต้น ดอกช่อ มีขนสั้นสีน้ำตาลปกคลุม ดอกย่อยมีกาบหุ้ม ผลแบบแคบซูล รูปกลม สีเหลือง สกัดน้ำมันจากเหง้าแห้งได้ และใช้เป็นยาสมุนไพร ภาษากะเหรี่ยงเรียกเพาะเก่อ ช่อดอกอ่อน ชาวกะเหรี่ยงนำไปลวกจิ้มน้ำพริก ผลสุกรับประทานได้ รสหวานอมเปรี้ยว.
คารอบ
รอบ (carob, carob tree) อยู่ในวงศ์ถั่ว เป็นพืชท้องถิ่นในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะคล้ายต้นมะขามเทศ ใบมันขนาดใหญ่ เปลือกหุ้มต้นหนา ฝักสีเขียว เมื่อแก่จะผลิตน้ำหวานสีน้ำตาลเยิ้มออกมาจากฝัก เป็นอาหารของแพะและสัตว์ป่าอื่นๆ และใช้ทำอาหารได้หลายชนิดพบที่ อิสราเอล ตุรกีและสเปน.
คำมอกหลวง
ำมอกหลวง หรือ คำมอกช้าง ยางมอกใหญ่ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เพาะกะ เป็นไม้ในสกุลพุด วงศ์ Rubiaceae เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบในช่วงสั้นๆ ก่อนออกดอก มียางสีเหลือง กิ่งอ่อนมีขนสั้นปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบเหนียวและสากคาย ใบเดี่ยว มีหูใบลักษณะเป็นปลอกหุ้มกิ่ง หลุดร่วงง่าย เห็นรอยแผลชัดเจน ดอกเดี่ยว ดอกเมื่อเริ่มบานเป็นสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองภายหลัง กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสีขาว ใกล้โรยมีกลิ่นหอมแรง ออกดอกเดือนมีนาคม – เมษายน ผลมีเมล็ดเดียว สีเขียว เมล็ดแบน คำมอกหลวงกระจายพันธุ์ในป่าดิบแล้งและป่าเต็งรังทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยหมอคาร์ ชาวไอริช ชื่อสปีชีส์ตั้งตามดอยสุเทพ ใช้เป็นไม้ประดับ ชาวกะเหรี่ยงนำผลไปรับประทาน.
ค้อ
รายละเอียดลำต้นค้อที่แข็งแกร่ง ค้อ หรือบะก๊อ ภาษากะเหรี่ยงเรียก โลหล่า มีถิ่นกำเนิดที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ชอบขึ้นอยู่บนภูเขา ขนาดของลำต้นประมาณ 30 เซนติเมตร สูงได้ถึง 25 เมตร ใบเป็นรูปพัด จักเว้าลึกไม่ถึงครึ่งตัวใบ จีบเวียนรอบใบสวยงาม ใบอ่อนสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ช่อยาว 1.50 เมตร ผลกลมรี ขนาด 2 เซนติเมตร ผลแก่สีเขียวคล้ำ ผลสุกรับประทานได้ ใบตากแห้งใช้มุงหลัง.
ตะลิงปลิง
ตะลิงปลิง เป็นไม้ผลในวงศ์ Oxalidaceae เป็นพืชเขตร้อน มีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบชายฝั่งทะเลของบราซิล ในประเทศไทยเชื่อว่านำเข้ามาจากอินโดนีเซีย เป็นไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ออกผลตามกิ่งก้านและลำต้นเป็นพวงแน่นและสวยงาม จึงเป็นที่นิยมปลูกทั่วไป นอกจากนี้ผลยังสามารถใช้บริโภค ตะลิงปลิงเป็นพืชร่วมวงศ์กับมะเฟือง มีส่วนที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนคือ ผลมะเฟืองมีขนาดใหญ่กว่าผลตะลิงปลิง.
ตะขบฝรั่ง
ต้นตะขบฝรั่งในไฮเดอราบัด อินเดีย ใบและผลในไฮเดอราบัด อินเดีย ตะขบฝรั่ง เป็นพืชเพียงสปีชีส์เดียวในสกุล Muntingia เป็นไม้ยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในภาคเหนือของเม็กซิโก บริเวณทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ฝั่งตะวันตก จนถึงเปรูและโบลิเวีย พบกระจายพันธุ์ทั่วประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง เช่น มาเลเซี.
ตะขบป่า
ตะขบป่า ภาคเหนือเรียก มะเกว๋นนก มะเกว๋นป่า หรือตานเสี้ยน พบทั่วไปตั้งแต่เอเชีย แอฟริกา โพลีเนเซีย เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นคดงอ เปลือกสีน้ำตาลอ่อน มีหนาม ผิวใบเรียบหรือมีขนกระจาย ดอกออกเป็นช่อ ขนาดเล็ก สีขาว มีขนปกคลุม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน แยกออกตอนปลาย เกสรตัวผู้จำนวนมากสีขาว ผลกลม เมื่ออ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีแดงสด รสเปรี้ยว ผลและยอดอ่อนรับประทานได้ ผลสดนำมาแปรรูปเป็นแยมหรือไวน์ เนื้อไม้ใช้ทำด้ามอุปกรณ์ต่างๆ ผลและเนื้อไม้มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายพยาธิตัวกลม ใบใช้แก้งูกัด เปลือกไม้รักษาโรคผิวหนังได้ ชาวกะเหรี่ยงในจังหวัดเชียงใหม่ใช้รากต้มน้ำดิ่มแก้ปวดเมื่อ.
ตะขบไทย
ตะขบไทย เป็นพืชในวงศ์ Flacourtiaceae เป็นไม้ยืนต้นนาดเล็ก ลำต้นอ่อนมีหนามแข็ง ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ใบอ่อนสีแดงแกมน้ำตาล ใบห้อยลง ขอบใบมีรอยหยักหยาบๆ ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกสีเหลืองแกมเขียว ผลสดมีเนื้อนุ่ม สีเขียวอ่อน สีชมพู หรือสีเขียวอมม่วง เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ มีรสเปรี้ยว เมล็ดแบน กระจายพันธุ์ทางตอนล่างของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ยไม้หายากในหมู่เกาะโมลุกกะและเกาะนิวกินี มีปลูกในไทย อินโดจีน และอินเดีย ผลสุกรับประทานเป็นผลไม้สด ใช้ทำโรยัก ดอง หรือทำแยม ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด ผลดิบใช้แก้ท้องเสีย น้ำคั้นจากใบใช้รักษาอาการอักเสบของเปลือกตา เนื้อไม้แข็งใช้ทำเฟอร์นิเจอร์และของใช้ในบ้าน ผลตะขบไท.
ตะคร้อ
ตะคร้อ อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นไม้ยืนต้น และเป็นพืชพื้นเมืองในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลสุกกินได้ รสเปรี้ยว ใบอ่อนกินเป็นผัก.
ตะโก
ตะโก เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางประเภทใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ EBENACEAE โดยมีชื่อสามัญว่า Ebony ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็คือ Diospyios rhodcalyx.
ตาล
ตาล หรือ ตาลโตนด หรือ โหนด ในภาษาใต้ เป็นพันธุ์ไม้พวกปาล์มขนาดใหญ่ สกุล Borassus ในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) เป็นปาล์มที่แข็งแรงมากชนิดหนึ่ง และเป็นปาล์มที่แยกเพศกันอยู่คนละต้น ต้นสูงถึง 40 เมตร และโตวัดผ่ากลางประมาณ 60 เซนติเมตร ลำต้นเป็นเสี้ยนสีดำแข็งมาก แต่ไส้กลางลำต้นอ่อน บริเวณโคนต้นจะมีรากเป็นกลุ่มใหญ่ ใบเหมือนพัดขนาดใหญ่ กว้าง 1 – 1.5 เมตร มีก้านเป็นทางยาว 1 – 2 เมตร ขอบของทางของก้านทั้งสองข้าง มีหนามเหมือนฟันเลื่อยสีดำแข็ง ๆ และคมมาก โคนก้านแยกออกจากกันคล้ายคีมเหล็กโอบหุ้มลำต้นไว้ ช่อดอกเพศผู้ใหญ่ รวมกันเป็นกลุ่มคล้ายนิ้วมือ เรียกว่านิ้วตาลแต่ละนิ้วยาวประมาณ 40 เซนติเมตร และโตวัดผ่า กลางประมาณ 1.5 – 2 เซนติเมตร โคนกลุ่มช่อจะมีก้าน ช่อรวมและมีกาบแข็ง ๆ หลายกาบหุ้มโคนก้านช่ออีกทีหนึ่ง ช่อดอกเพศเมียก็คล้าย ๆ กัน แต่นิ้วจะเป็นปุ่มปม ปุ่มปมคือดอกที่ติดนิ้วตาล ดอกหนึ่ง ๆ โตวัดผ่ากลางประมาณ 2 เซนติเมตร และมีกาบแข็ง ๆ หุ้ม แต่ละดอก กาบนี้จะเติบโตไปเป็นหัวจุกลูกตาลอีกทีหนึ่ง ผลกลมหรือรูปทรงกระบอกสั้น ๆ โตวัดผ่ากลางประมาณ 15 เซนติเมตร ผลเป็นเส้นใยแข็งเป็นมัน มักมีสีเหลืองแกมดำคล้ำเป็นมันหุ้มห่อเนื้อเยื่อสีเหลืองไว้ภายใน ผลหนึ่ง ๆ จะมีเมล็ดใหญ่แข็ง 1 – 3 เมล็.
ตาว
ตาว, ต๋าว หรือ ชก (จังหวัดระนองเรียก "ฉก" หรือ "กาฉก")มัณฑนา นวลเจริญ.
ตูมกาขาว
ตูมกาขาว เป็นพืชในวงศ์ Loganiaceae เป็นไม้ยืนต้น เปลือกต้นสีเทาอมเหลือง ผลกลม เนื้อหนา สุกแล้วมีสีส้ม รับประทานได้ รากต้มน้ำเป็นยาแก้ท้องอืด เปลือกต้นเป็นยาเจริญอาหาร ชาวกะเรนนีใช้เปลือกต้นเป็นยาแก้ปวดท้อง.
นารา (พืช)
นารา เป็นไม้พุ่มมีหนามในวงศ์แตง พบในทะเลทรายนามิบ กิ่งก้านยืดยาว ไม่มีใบแต่มีหนามเป็นจำนวนมาก รากขนาดใหญ่ หยั่งลึกลงในดินได้ถึง 15 เมตรเพื่อดูดน้ำ มีเปลือกนอกที่แข็ง ผลสามารถรับประทานได้.
น้อยหน่า
น้อยหน่า (Sugar apple; Linn.) ชื่ออื่น ๆ หมักเขียบ (ตะวันออกเฉียงเหนือ), ลาหนัง (ปัตตานี), มะนอแน่, มะแน่ (เหนือ), หน่อเกล๊ะแซ (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), มะออจ้า, มะโอจ่า (เงี้ยว-เหนือ), เตียบ (เขมร) เป็นพืชยืนต้น ผลมีเนื้อสีขาว เมล็ดดำ รสหวาน ถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบอเมริกากลาง และใต้ แต่จะพบอยู่ทั่วไปในเขตร้อน ในประเทศไทยปลูกมากทางภาคกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ.
น้อยหน่าออสเตรเลีย
น้อยหน่าออสเตรเลีย หรือ เชอรีโมยา เป็นพืชในวงศ์ Annonaceae ใบรูปไข่หรือไข่แกมหอก มีผงรังแคสีน้ำตาลแกมม่วงแดงที่ใต้ใบ ดอกมีกลิ่นหอม ก้านดอกสั้นมีลักษณะเป็นปม กลีบดอกชั้นนอก 3 กลีบ สีเหลืองอ่อน โคนกลีบด้านในมีจุดสีม่วง กลีบชั้นในขนาดเล็กมาก สีออกแดงหรือม่วง ผลเป็นผลกลุ่ม ติดกันเป็นรูปหัวใจหรือทรงกลม ผิวเป็นปุ่มปม ผิวผลมีแอ่งเล็กๆรูปตัวยู เนื้อผลสีขาว รับประทานได้ เนื้อแยกจากเม็ดได้ง่าย เปลือกชั้นนอกของเมล็ดเป็นเยื่อสีน้ำตาลเหี่ยวย่น เชอรีโมยาเป็นพืชพื้นเมืองในเอกวาดอร์และเปรู ปลูกเป็นการค้าในชิลี โบลิเวีย สเปน สหรัฐ และนิวซีแลนด์ ผลรับประทานสด เนื้อผลใช้แต่งรสไอศกรีม ผลดิบและเมล็ดเป็นยาถ่ายพยาธิและกำจัดแมลง.
ดู รายการผลไม้และน้อยหน่าออสเตรเลีย
น้อยโหน่ง
น้อยโหน่ง (อังกฤษ: Custard-apple, Bullock's-heart) ผลไม้ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Annona reticulata อยู่ในวงศ์กระดังงา สกุลเดียวกับ น้อยหน่า (A.
แพร์
แพร์ (European Pear)เป็นผลไม้เมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดในยุโรป โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีระบุว่าได้มีการนำแพร์ที่เป็นพืชป่ามาปลูกเป็นพืชสวน จากหลักฐานในยุโรปสมัยยุคหินใหม่และยุคบรอนซ์ การปลูกแพร์มีบันทึกในเอกสารของกรีกโบราณและจักรวรรดิโรมัน เป็นไม้ยืนต้น ใบรูปไข่ ผิวใบเรียบ กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดผลใกล้เคียงกับแอปเปิล เปลือกบาง สุกแล้วเนื้อนิ่มมาก ฉ่ำน้ำ รสชาติหวานอมเปรี้ยวและหวานหอม เป็นพืชคนละสปีชีส์กับสาลี่ แพร์เองแบ่งได้เป็นหลายพันธุ์ แต่พันธุ์ที่นิยมในตลาดมากที่สุดคือ Williams pear หรือเรียกว่า Bartlett ในสหรัฐและแคนาดา เปรียบเทียบแพร์ 8 สายพันธุ์จากซ้ายไปขวาคือ Williams' Bon Chrétien (ในสหรัฐเรียก Bartlett), พันธ์ Bartlett สีแดงสองแบบ, d'Anjou, Bosc, Comice, Concorde, และ Seckel.
แก้วมังกร
อกแก้วมังกร แก้วมังกร (อังกฤษ: Dragon fruit)(สกุล Hylocereus) อยู่ในวงศ์ Cactaceae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับตะบองเพชร มีพื้นเพดั้งเดิมอยู่ในอเมริกากลาง เข้ามาในเอเชียที่เวียดนามก่อน โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสเมื่อประมาณ 100 ปีมาแล้ว โดยปลูกมากตามแนวชายฝั่งทะเลตะวันออกจากเมืองญาตรังไปจนถึงไซ่ง่อนนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
แอปเปิล
ต้นแอปเปิล (apple) เป็นต้นไม้ผลัดใบในวงศ์กุหลาบ มีผลรสหวานเรียกว่า ผลแอปเปิล แอปเปิลมีปลูกอยู่ทั่วโลกในลักษณะของไม้ผล และสายพันธุ์ที่ถูกปลูกมากที่สุดคือสกุล Malus ต้นแอปเปิลมีต้นกำเนิดในเอเชียกลาง ซึ่งบรรพบุรุษคือ Malus sieversii ยังคงพบได้ในปัจจุบัน แอปเปิลมีปลูกเป็นเวลาหลายพันปีในเอเชียและยุโรป และกลุ่มอาณานิคมชาวยุโรปนำมาปลูกที่อเมริกาเหนือ แอปเปิลมีความสำคัญทางศาสนาและเทพปกรณัมในหลายวัฒนธรรม รวมถึงนอร์ส กรีก และประเพณีต่าง ๆ ของคริสต์ศาสนิกชนของชาวยุโรป ต้นแอปเปิลจะมีขนาดใหญ่หากเติบโตจากเมล็ด แต่จะมีขนาดเล็กถ้าถูกตัดต่อเนื้อเยื่อเข้ากับราก ปัจจุบันมีแอปเปิลที่พันธุ์ปลูกมากกว่า 7,500 ชนิด ทำให้แอปเปิลมีลักษณะพิเศษหลากหลาย พันธุ์ปลูกแต่ละพันธุ์จะมีรสชาติแตกต่างกัน และการนำไปใช้ต่างกันด้วย เช่น นำไปประกอบอาหาร กินดิบ ๆ หรือนำไปผลิตไซเดอร์ ปกติแอปเปิลจะแพร่พันธุ์ด้วยการตัดต่อเนื้อเยื่อ แต่แอปเปิลป่าจะเติบโตได้เองจากเมล็ด ต้นแอปเปิลและผลแอปเปิลอาจประสบปัญหาจากจากเห็ดรา แบคทีเรีย และศัตรูพืชต่าง ๆ ซึ่งอาจควบคุมได้ด้วยวิธีการทางเกษตรอินทรีย์และอนินทรีย์หลายวิธี ใน..
แคนตาลูป
แคนตาลูป (cantaloupe) หรือเรียกกันว่า แตงแคนตาลูป มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cucumis melo L. var.
แตงกวาอาร์มีเนีย
แตงกวาอาร์มีเนีย (Armenian cucumber; acur; var. flexuosus) เป็นพืชที่มีผลยาว ผอมและมีรสชาติคล้ายแตงกวา แต่เป็นสายพันธุ์หนึ่งของแตงไทย (C.
ดู รายการผลไม้และแตงกวาอาร์มีเนีย
แตงโม
ใบแตงโม แตงโม เป็นผลไม้ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทวีปแอฟริกา ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับแคนตาลูปและฟัก เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือปลาดุก.
แตงไทย
แตงไทย (Muskmelon) อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae ทางภาคเหนือเรียก แตงลายหรือมะแตงสุก ภาคอีสานเรียก แตงจิงหรือแตงกิง ภาษาเขมรเรีบกซกเซรา ภาษากะเหรี่ยงเรียก ดี มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยไปถึงแหลมโคโมริน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.
โทะ (พืช)
ทะหรือทุ หรือพรวดหรือพรวดกินลูก เป็นพืชในวงศ์ Myrtaceae กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ ใบอ่อนและดอกมีผงรังแคสีขาวหรือเหลืองปกคลุม ใบเหนียวคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ผิวใบด้านล่างมีผงรังแค เส้นใบนูน ดอกช่อ ออกตามง่ามใบ สีม่วงแกมชมพู ดอกแก่สีขาว ผลเดี่ยว กลม กลีบเลี้ยงติดทน ผลสดแบบมีเนื้อหลายเมล็ด สีดำแกมม่วง มีผงรังแคปกคลุม รสหวาน มีเมล็ดมาก ผลแก่สีม่วงคล้ำถึงดำ แบ่งเป็น 2 พันธุ์ คือ.
โทงเทงฝรั่ง
''Physalis peruviana'' โทงเทงฝรั่ง หรือ ระฆังทองhttp://www.ku.ac.th/e-magazine/jan52/agri/agri4.htm (cape gooseberry) เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับมะเขือ มะเขือเทศ มะเขือยาว และมันฝรั่ง (ไม่เกี่ยวข้องกับกูสเบอร์รี) ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกกิ่งสีม่วง มีลักษณะเป็นครีบ มีขนปกคลุมหนาแน่น ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ ดอกห้อยลง ก้านผลยาวกว่าก้านดอก ผลสดแบบเบอร์รี มีหลายเมล็ด รูปผลกลม สีเหลืองส้ม ผิวเกลี้ยง มีกลีบเลี้ยงติดทนจนเป็นผล เนื้อผลฉ่ำน้ำ มีเมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีถิ่นกำเนิดจากพื้นที่สูงเขตร้อนในประเทศโคลอมเบีย เอกวาดอร์ เปรู และชิลี รวมทั้งในบราซิล เป็นพืชพื้นเมืองในบริเวณเปรูและชิลี ผลรับประทานสดหรือผสมในสลัดผลไม้ มีรสเปรี้ยวอมหวาน ผลที่ต้มแล้วใส่พายหรือพุดดิง แปรรูปเป็นแยมหรือเยลลี่ ในเม็กซิโกใช้กลีบเลี้ยงต้มรับประทานเป็นยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน ผลดิบเป็นพิษ ผลสุกรสหวานอมเปรี้ยว มีเพกตินมาก.
ไข่เน่า (พืช)
น่า หรือ ฝรั่งโคก หรือ ขี้เห็น หรือ คมขวาน เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่ง ขนาดใหญ่ เจริญเติบโตดีในพื้นที่แห้งแล้ง นิยมปลูกเป็นไม้ร่มเงาเพราะไม่ผลัดใบ เริ่มให้ผลผลิตเมื่ออายุ 3-4 ปีหลังปลูก ช่วงพักต้นหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องการความแล้ง ช่วงออกดอกติดผลต้องการน้ำสม่ำเสมอ ดอกติดผลปีละรุ่น ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศผสมตัวเองหรือต่างต้นต่างดอกได้ ออกดอกช่วงเดือน ม..- ก..
ดู รายการผลไม้และไข่เน่า (พืช)
เชอร์รี
อร์รี เป็นผลไม้ชนิดหนึ่ง มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว ต้นเชอร์รีเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Prunus สกุลย่อย Cerasus เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ชอบอากาศหนาวเย็น ใบเขียวเข้ม ดอกสีขาวอมชมพู ผลกลม ขนาดเล็ก เปลือกมีทั้งสีแดงเข้ม สีส้มและสีเหลือง โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือเชอร์รีหวานกับเชอร์รีหวานอมเปรี้ยว แหล่งที่ปลูกเชอร์รีมากคือทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป และญี่ปุ่น.
เกรปฟรูต
กรปฟรูต เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล Citrus ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่งบาร์เบโดส ปกติแล้วไม้ไม่ผลัดใบชนิดนี้จะพบว่าสูงประมาณ 5-6 เมตร แต่ความจริงแล้วสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาว (มากกว่า 15 เซนติเมตร) และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สีเหลืองแบบกรด ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ สหรัฐอเมริกากลายเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ มีสวนอยู่ในฟลอริดา เท็กซัส แอริโซนา และแคลิฟอร์เนีย ในภาษาสเปน ผลไม้ชนิดนี้รู้จักในชื่อว่า Toronja หรือ Pomelo.
เกาลัดญี่ปุ่น
กาลัดญี่ปุ่น (Japanese Chestnut)เป็นเกาลัดชนิดหนึ่งที่เป็นพืชพื้นเมืองของญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ สูง 10-15 m ใบคล้ายกับเกาลัดหวาน ขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย ยาว 8-19 cm และกว้าง 3-5 cm ดอกสมบูรณ์เพศ ยาว 7-20 cm ออกดอกในฤดูร้อน ติดผลในฤดูใบไม้ร่วง.
ดู รายการผลไม้และเกาลัดญี่ปุ่น
เกาลัดไทย
กาลัดไทย เป็นพืชท้องถิ่นในจีนตอนใต้ บริเวณกวางตุ้ง กวางสี ยูนนาน ไต้หวัน จากนั้นจึงมีการแพร่กระจายไปยังอินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ญี่ปุ่น รวมทั้งไทย ผลเป็นผลแห้ง แตกเปลือกแข็ง เปลือกสีแดง หุ้มเมล็ดสีดำข้างใน เนื้อในเมล็ดสีเหลือง ต้มสุกแล้วเป็นสีเหลืองสด ผลเมื่อนำไปต้มหรือคั่วก่อนจะรับประทานได้ ไม้นำไปทำเฟอร์นิเจอร์ได้ดี เนื้อไม้มีเรซินมาก นำไปใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมได้.
เก๋ากี่
ก๋ากี่ หรือ เก๋ากี้, เก๋ากี๋, เก๋าคี่ (ชื่อทางการค้า: โกจิเบอรี่; Wolfberry) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกผลไม้ซึ่งมีสปีชีส์ที่ใกล้เคียงกันสองชนิด คือ Lycium barbarum และ L.
เม่าสร้อย
ม่าสร้อย ภาษากะเหรี่ยงเรียก พอชาซ่า ห่อชึกาสะ อยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae ไม้พุ่ม ลำต้นสีน้ำตาลปนเทา เปลือกผิวไม่เรียบ แตกตามยาว หูใบติดคงทน ใบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยง หนา ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อ แยกเพศ แยกต้น ออกตามซอกใบ ผลเมื่ออ่อนสีเขียว แก่เป็นสีแดงหรือดำ มีขนเล็กน้อบ เมล็ดเล็กแบน มีเมล็ดเดียว ผลสุก รับประทานได้ รสเปรี้ยวอมหวาน ยอดอ่อน นำไปประกอบอาหารเช่นใส่ในแกงปลา แกงกบ แกงเขี.
เม่าไข่ปลา
ม่าไข่ปลาหรือเม่าทุ่งหรือส้มเม่า เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นไม้ผลัดใบ ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก ช่อสั้น เมื่อติดผลลูกเล็กคล้ายเม็ดพริกไทย ผลสด เมล็ดเดียวแข็ง มีขนละเอียดปกคลุมบนผล สีม่วงเข้ม เป็นไม้ยืนต้น ผลสุกสีแดงคล้ำ ใบที่นำมารับประทานคือ ผลรับประทานสดหรือทำแยม ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักหรือใช้เป็นเครื่องเทศ ใบใช้เป็นยาแก้ไข้ เนื้อไม้สีแดง แข็ง ใช้ในงานก่อสร้างได้ ใบอ่อนและผลดิบใช้ปรุงอาหารให้มีรสเปรี้ยวยอดและใบเพสลาดใช้กินแนมกับอาหารอื่นหรือใส่ยำ ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาว.
เสาวรส
วรส หรือ กะทกรกฝรั่ง หรือ กะทกรกสีดา หรือ กะทกรกยักษ์ (Passionfruit, Maracujá) เป็นไม้เถาเลื้อย ถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ บริเวณประเทศบราซิล ปารากวัย อาร์เจนตินา ผลเป็นรูปกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกมีหลายสีแล้วแต่พันธุ์ ทั้งสีม่วง เหลือง ส้ม ชั้นในสุดของเปลือกเป็นเยื่อสีขาวที่เรียกรก ภายในมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก อยู่ในเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นถุง กลิ่นคล้ายฝรั่งสุก รสเปรี้ยวจัด บางพันธุ์มีรสอมหวาน.
เงาะ
งาะ (Rambutan; Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น.
เงาะขนสั้น
ผล เนื้อในของเงาะขนสั้น เงาะขนสั้น หรือ Nephelium ramboutan-ake เป็นพืชที่มีลักษณะใกล้เคียงกับเงาะ ภาษาสเปนและภาษามลายูเรียกปูลาซัน ภาษาอินโดนีเซียเรียก กาปูลาซัน ในฟิลิปปินส์เรียกบูลาลา เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบ ดอกออกตามปลายกิ่งหรืออยู่ค่อนลงมาจากปลายกิ่ง ไม่มีกลีบดอก ผลรูปรีจนถึงค่อนข้างกลม มีหนามยาวปกคลุมหนาแน่น ผลสีแดงอมเหลืองหรือดำ เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีขาว ผลนิยมรับประทานสด รสหวานกว่าเงาะและลิ้นจี.
เงาะไม่มีขน
งาะไม่มีขน เป็นพืชที่มีความใกล้เคียงกับเงาะ ผลเป็นแบบผลเมล็ดเดียวเช่นเดียวกัน แต่เปลือกผลไม่มีขน นิยมรับประทานสดเป็นผลไม้ แต่ยังไม่มีการปลูกเป็นการค้า รู้จักดีและนำมารับประทานเมื่อสุกเต็มที.
ดูเพิ่มเติม
รายชื่อพืช
- รายการผลไม้
- รายชื่อชนิดของหม้อข้าวหม้อแกงลิง
- รายชื่อชนิดลูกผสมทางธรรมชาติของหม้อข้าวหม้อแกงลิง
- รายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดี
- สกุลส้ม
- ไม้พุ่ม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อผลไม้