เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ราชบัลลังก์กัสติยา

ดัชนี ราชบัลลังก์กัสติยา

ราชบัลลังก์กัสติยา (Corona de Castilla) เป็นสหอาณาจักรที่มักจะกล่าวกันว่าเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 23 ความสัมพันธ์: บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนบายาโดลิดบูร์โกสภาษาบาสก์ภาษากาลิเซียภาษาสเปนภาษาอาหรับมาดริดรัฐสภาราชอาณาจักรราชอาณาจักรกัสติยาราชอาณาจักรเลอองราชาธิปไตยศาสนายูดาห์ศาสนาอิสลามศาสนาคริสต์สงครามสืบราชบัลลังก์สเปนอาณาจักรฮิสเปเนียทวีปยุโรปคาบสมุทรไอบีเรียโรมันคาทอลิกโตเลโด

  2. รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป

บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน

ริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ปลูกมะกอกได้ แผนที่การเมืองของบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean area) ประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในความหมายทางชีวภูมิศาสตร์ (biogeography) “บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน” หมายถึงบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนที่อุ่น, มีฝนตกระหว่างฤดูหนาว, แห้งระหว่างหน้าร้อนที่เหมาะแก่พืชพันธุ์เมดิเตอร์เรเนียน กฎที่ว่ากันง่ายๆ คือเป็นบริเวณ “โลกเก่า” (Old World) ที่ปลูกมะกอกได้.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน

บายาโดลิด

ปลาซามายอร์ (จัตุรัสหลัก) และศาลาว่าการของเมืองบายาโดลิด บายาโดลิด (Valladolid) เป็นเมืองอุตสาหกรรมในที่ราบภาคกลางค่อนไปทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำปีซวยร์กา ซึ่งเป็นแควสาขาของแม่น้ำดวยโร ในเขตทำไวน์ที่ชื่อว่ารีเบราเดลดวยโร (Ribera del Duero) โดยมีฐานะเป็นเมืองหลักของทั้งจังหวัดบายาโดลิดและแคว้นกัสติยา-เลออน.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและบายาโดลิด

บูร์โกส

ที่ตั้งเมืองบูร์โกสในประเทศสเปน มหาวิหารบูร์โกส อนุสาวรีย์เอลซิด ช่องโค้งซานตามารีอา บูร์โกส (Burgos) เป็นเมืองหลักของจังหวัดบูร์โกสในแคว้นกัสติยาและเลออน ทางภาคเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่บริเวณขอบด้านเหนือของที่ราบสูงตอนกลาง (Meseta Central) ห่างจากบายาโดลิดเมืองหลักของแคว้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 122 กิโลเมตร และห่างจากกรุงมาดริดไปทางทิศเหนือ 244.7 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 173,600 คนเฉพาะในอาณาเขตของเมืองและอีกประมาณ 10,000 คนในเขตชานเมือง ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่ามีมนุษย์ดึกดำบรรพ์ (เช่น มนุษย์นีแอนเดอร์ทัล) เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณที่เป็นเมืองบูร์โกสในปัจจุบันอย่างน้อยตั้งแต่ยุคหินใหม่ และเมื่อชาวโรมันได้เข้าครอบครองพื้นที่แถบนี้ ก็พบว่ามีชนพื้นเมืองเคลติเบเรียนอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ในสมัยจักรวรรดิโรมันดินแดนนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดฮิสปาเนียซีเตรีออร์และของจังหวัดฮิสปาเนียตาร์ราโกเนนซิสในเวลาต่อมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาววิซิกอทสามารถขับไล่ชาวซูเอบีออกไปได้และมีอำนาจในแถบนี้แทน จนกระทั่งชาวอาหรับบุกยึดคาบสมุทรไอบีเรียในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 แถบนี้จึงตกเป็นของชาวอาหรับด้วย แต่ก็ไม่ได้ทิ้งร่องรอยที่แสดงการครอบครองไว้มากนัก พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 3 มหาราชทรงตีเมืองนี้คืนได้สำเร็จประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 9 และสร้างปราสาทไว้เป็นจำนวนมากเพื่อใช้ป้องกันอาณาจักรของชาวคริสต์ทางเหนือที่ได้ขยายพื้นที่ลงมาทางทิศใต้นับจากนั้น ดินแดนแถบนี้ภายหลังจึงมีชื่อเรียกว่า กัสติยา ซึ่งแปลว่า "ดินแดนแห่งปราสาท" บูร์โกสได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นเมืองตั้งแต่ ค.ศ.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและบูร์โกส

ภาษาบาสก์

ก์ (Basque) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวบาสก์ซึ่งอาศัยอยู่แถบเทือกเขาพีเรนีสในตอนกลางของภาคเหนือของประเทศสเปน รวมทั้งในบริเวณภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศสที่มีอาณาเขตติดต่อกัน หรือลึกลงไปกว่านั้นคือ ชาวบาสก์ได้ครอบครองแคว้นปกครองตนเองที่มีชื่อว่าแคว้นประเทศบาสก์ (Basque Country autonomous community) ซึ่งมีวัฒนธรรมและอิสระในการปกครองตนเองทางการเมือง นอกจากนี้ก็ยังมีชาวบาสก์ที่อยู่ในเขตนอร์เทิร์นบาสก์ในฝรั่งเศสและแคว้นปกครองตนเองนาวาร์ในสเปนอีกด้วย ชื่อเรียกภาษาบาสก์อย่างเป็นทางการ (ในภาษาตนเอง) คือ เออุสการา (euskara) ส่วนในรูปภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ เออุสเกรา (euskera) เอสกูอารา (eskuara) และ อุสการา (üskara) แม้ว่าในทางภูมิศาสตร์จะถูกล้อมรอบด้วยภาษาในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน แต่ภาษาบาสก์กลับจัดเป็นภาษาโดดเดี่ยว (language isolate) ไม่ใช่ภาษาในตระกูลดังกล่าว.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและภาษาบาสก์

ภาษากาลิเซีย

ภาษากาลิเซีย (Galician) เป็นภาษาหนึ่งในสาขาอิเบโร-โรมานซ์ตะวันตก พูดในกาลิเซีย (Galicia) ซึ่งเป็นแคว้นปกครองตนเองที่มีสถานะตามรัฐธรรมนูญเป็น "ชาติทางประวัติศาสตร์ (historic nationality)" ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศสเปน กาลิเซีย หมวดหมู่:แคว้นกาลิเซีย.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและภาษากาลิเซีย

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและภาษาสเปน

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและภาษาอาหรับ

มาดริด

มาดริด (Madrid) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสเปน มีประชากรอาศัยในตัวเมืองประมาณ 3.2 ล้านคน(ตัวเลขเมื่อปี 2005) และประชากรในเขตเมืองทั้งหมดประมาณ 6 ล้านคน (ตัวเลขเมื่อปี 2006) มาดริดยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดมาดริดด้ว.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและมาดริด

รัฐสภา

ผู้แทนราษฎรของออสเตรเลีย รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติชนิดหนึ่ง รัฐสภาจะทำหน้าที่ออกกฎหมาย อภิปราย หารือกันระหว่างสมาชิกรัฐสภา ถกเถียงประเด็นทางการเมืองหรือกิจกรรมทางการเมืองอื่นๆ โดยรัฐสภาจะมีเฉพาะประเทศที่ใช้ใช้ระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศแรกในโลกที่มีระบบรัฐสภาและเป็นต้นแบบระบอบประชาธิปไตยในสมัยปัจจุบันด้วย เช่น ฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เป็นต้น.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและรัฐสภา

ราชอาณาจักร

ราชอาณาจักร (kingdom, realm) เป็นชุมชนหรือดินแดนซึ่งมีองค์อธิปัตย์ปกครอง มักใช้เพื่ออธิบายอาณาจักรหรือรัฐอื่นที่ปกครองโดยระบอบกษัตริย์หรือราชวง.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและราชอาณาจักร

ราชอาณาจักรกัสติยา

ราชอาณาจักรกัสติยา (Reino de Castilla) เป็นราชอาณาจักรของยุคกลางของคาบสมุทรไอบีเรียที่เริ่มก่อตัวเป็นอิสระขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยการเป็นอาณาจักรเคานต์แห่งกัสติยาที่เป็นอาณาจักรบริวาร (vassal) ของราชอาณาจักรเลออน ชื่อ "กัสติยา" มาจากคำที่ว่าแปลว่าปราสาท เพราะในบริเวณนั้นมีปราสาทอยู่หลายปราสาท กัสติยาเป็นราชอาณาจักรหนึ่งที่ต่อมาก่อตั้งขึ้นเป็นราชบัลลังก์กัสติยาและราชบัลลังก์สเปนในที.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและราชอาณาจักรกัสติยา

ราชอาณาจักรเลออง

ราชอาณาจักรเลออง เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนคาบสมุทรไอบีเรีย สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 910 โดย เจ้าชายคริสเตียนแห่งอัสตูเรียส ที่ล่มสลายลงไปก่อนหน้านี้ โดยเลอองเป็นหนึ่งในแกนนำที่ช่วยขับไล่ชาวมุสลิมออกไปจากสเปน และภายหลังได้รวมเป็นส่วนหนึ่งกับราชอาณาจักรคาสตีลในปี ค.ศ.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและราชอาณาจักรเลออง

ราชาธิปไตย

ราชาธิปไตย คือ การที่มีประมุขของรัฐเป็นกษัตริย์ แบ่งออกตามขอบเขต พระราชอำนาจเป็น.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและราชาธิปไตย

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและศาสนายูดาห์

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและศาสนาอิสลาม

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและศาสนาคริสต์

สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

งครามสืบราชบัลลังก์สเปน (ภาษาอังกฤษ: War of the Spanish Succession) (ค.ศ. 1702–ค.ศ. 1714) ซึ่งรวมทั้งสงครามพระนางแอนน์ (Queen Anne's War) ใน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นสงครามครั้งสำคัญครั้งหนึ่งของทวีปยุโรปเกี่ยวกับปัญหาการสืบสันติวงศ์ของบัลลังก์สเปน ซึ่งเป็นผลให้มีการเปลี่ยนความสมดุลทางอำนาจในยุโรป ผู้เป็นผู้นำทางทหารที่สำคัญๆ ในสงครามครั้งนี้ก็ได้แก่โคลด ลุยส์ เฮคเตอร์ แห่งวิลลาร์ส, เจมส์ ฟิทซเจมส์ ดยุกแห่งเบอร์วิก, จอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย ในปี..

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน

อาณาจักร

อาณาจักร (kingdom; dominion) หมายถึง เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของประเทศหนึ่ง อาจจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและอาณาจักร

ฮิสเปเนีย

ปเนียหลังจากการจัดเขตการปกครองโดยจักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี ค.ศ. 260 ฮิสเปเนีย, ฮิสปาเนีย หรือ อิสปาเนีย (อังกฤษ, ละติน, Hispania) เป็นชื่อที่โรมันใช้เรียกคาบสมุทรไอบีเรียทั้งหมด (ที่ปัจจุบันคือประเทศสเปน โปรตุเกส อันดอร์รา ยิบรอลตาร์ และส่วนเล็ก ๆ ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส) เมื่อโรมมีฐานะเป็นสาธารณรัฐ ฮิสเปเนียแบ่งเป็นสองจังหวัด ได้แก่ เนียเรอร์ฮิสเปเนีย (Nearer Hispania) และเฟอร์เทอร์ฮิสเปเนีย (Further Hispania) ระหว่างสมัย Principate เฟอร์เทอร์ฮิสเปเนียก็แบ่งเป็นสองจังหวัดใหม่คือฮิสเปเนียเบทิกาและลูซิเทเนีย ขณะที่เนียเรอร์ฮิสเปเนียเปลี่ยนชื่อเป็นฮิสเปเนียทาร์ราโคเนนซิส ต่อมาทางตะวันตกของทาร์ราโคเนนซิสก็แบ่งย่อยออกเป็นฮิสเปเนียใหม่ที่ต่อมาเรียกว่าแคลเลเชีย (หรือแกลเลเชียที่กลายมาเป็นแคว้นกาลิเซียของสเปนในปัจจุบัน) ตั้งแต่สมัยจตุราธิปไตยภายใต้จักรพรรดิไดโอคลีเชียนในปี..

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและฮิสเปเนีย

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและทวีปยุโรป

คาบสมุทรไอบีเรีย

มุทรไอบีเรีย คาบสมุทรไอบีเรีย (Iberian Peninsula; Península Ibérica; Península Ibérica; Península Ibèrica) ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 582,860 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปยุโรปรองจากคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทางทิศเหนือติดกับเทือกเขาพิเรนีสและประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้สุดติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรียมีความยาวประมาณ 900 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 900 กิโลเมตร รูปร่างคล้ายสีเหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและเทือกเขา พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณเทือกเขาเซียร์ราเนบาดา เป็นบริเวณแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งในคาบสมุทร เมืองที่สำคัญที่อยู่ในคาบสมุทรไอบีเรีย ได้แก่ มาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย เซบียา บิลบาโอ ลิสบอน โปร์ตู และยิบรอลตาร.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและคาบสมุทรไอบีเรีย

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและโรมันคาทอลิก

โตเลโด

ตเลโด (Toledo; Toletum (โตเลตุม); طليطلة (ตุไลเตละห์)) เป็นเมืองและเทศบาลแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ทางภาคกลางของประเทศสเปน ห่างจากกรุงมาดริดไปทางทิศใต้ประมาณ 70 กิโลเมตร โตเลโดเป็นเมืองหลักของจังหวัดโตเลโดและของแคว้นกัสติยา-ลามันชา ในปี ค.ศ.

ดู ราชบัลลังก์กัสติยาและโตเลโด

ดูเพิ่มเติม

รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Crown of CastileCrown of Castilleราชบัลลังก์คาสตีล