โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม

ดัชนี รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม

รางวัลตุ๊กตาทอง รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี.

153 ความสัมพันธ์: ชลประคัลภ์ จันทร์เรืองชาลี อินทรวิจิตรบางระจัน (ภาพยนตร์)บุญชู 5 เนื้อหอมพรหมจารีสีดำพิศาล อัครเศรณีพีท ทองเจือพี่ชาย My Bromanceพงศธร ศรีปินตากรุง ศรีวิไลกอล์ฟ-ไมค์การจับปลาญาณี ตราโมทภูธฤทธิ์ พรหมบันดาลมานพ อัศวเทพมือปืน/โลก/พระ/จันรัก 7 ปี ดี 7 หนรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2500รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2501รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2502รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2503รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2505รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2506รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2507รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2508รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2516รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2517รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2518รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2519รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2520รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2522รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2524รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2525รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2526รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2527รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2528รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2529รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2530รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2531รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2532รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2533รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2534รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2535รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2536รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2537รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2538รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2540รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2541รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542...รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2543รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2544รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2545รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2547รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2555รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2557รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549รางวัลสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2555รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณวสุ แสงสิงแก้ววิลลี่ แมคอินทอชวทัญญู มุ่งหมายศัมภลาศุกลวัฒน์ คณารศสมบัติ เมทะนีสมชาย อาสนจินดาสมภพ เบญจาธิกุลสมจินต์ ธรรมทัตสมควร กระจ่างศาสตร์สายัณห์ จันทรวิบูลย์สุเชาว์ พงษ์วิไลสุเทพ ประยูรพิทักษ์หย่าเพราะมีชู้หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)อภิชาติ หาลำเจียกอรรถพร ธีมากรอันธพาลอดุลย์ ดุลยรัตน์อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮมอนันต์ บุนนาคอโนเชาว์ ยอดบุตรผีเสื้อและดอกไม้จรัล มโนเพ็ชรจิรายุ ละอองมณีถล่มมาเฟียดอกดิน กัญญามาลย์ดอม เหตระกูลดามพ์ ดัสกรดีแตกดี๋ ดอกมะดันครูสมศรีคาดเชือกคิดถึงวิทยาตายโหง ตายเฮี้ยนตำนานกระสือตุ๊กแกรักแป้งมากฉัตร มงคลชัยประจวบ ฤกษ์ยามดีประเทศไทยปัญญา นิรันดร์กุลนพชัย ชัยนามนพพล โกมารชุนนกน้อยนิรุตติ์ ศิริจรรยาแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้าแผ่นดินของเรา (ภาพยนตร์)โก๊ะตี๋ อารามบอยโหมโรง (ภาพยนตร์)ไกรลาศ เกรียงไกรเรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์เรือนแพ (ภาพยนตร์)เลือดสุพรรณเศรษฐา ศิระฉายาเสือ โจรพันธุ์เสือเสียดาย 2เทพ โพธิ์งามเทพธิดาโรงงานเงาะป่า (ภาพยนตร์)Home ความรัก ความสุข ความทรงจำTimeline จดหมาย ความทรงจำTogether วันที่รัก ขยายดัชนี (103 มากกว่า) »

ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง

ลประคัลภ์ จันทร์เรือง เจ้าของฉายา "ครูช่าง" เป็นนักแสดง ผู้กำกับและเขียนบทละครเวที ปัจจุบันเป็นผู้ฝึกสอนวิชาการแสดง โดยก่อตั้งโรงเรียนการแสดงชื่อ โรงเรียนมรดกใหม่ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลศิลปาธร สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและชลประคัลภ์ จันทร์เรือง · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

บางระจัน (ภาพยนตร์)

งระจัน (Bang Rajan: The Legend of the Village's Warriors) ภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ผลงานลำดับที่ 10 ของ ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ความยาว 127 นาที.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและบางระจัน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

บุญชู 5 เนื้อหอม

ญชู 5 เนื้อหอม หรือ บุญชู ภาค 5 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2533 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ เกรียงไกร อุณหะนันท์ สมรัชนี เกษร สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ปรารถนา สัชฌุกร จุรี โอศิริ วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ เกรียงไกร อมาตยกุล อรุณ ภาวิไล กฤษณ์ ศุกระมงคล ธงชัย ประสงค์สันติ ชาญณรงค์ ขันทีท้าว ภาณุ น้อยอารีย์ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่งสุข นัท กิจดินันท์ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ ส.อาสนจินดา ชาลี อินทรวิจิตร อัญชลี ชัยศิริ โดยที่เรื่องนี้เป็นการนำบุญชู 3,บุญชู 4 และ บุญชู 5 รวมกันเป็นภาคเดียว กล่าวคือ บุญชู 3 มีชื่อตอนว่า จำจากแม่, บุญชู 4 มีชื่อตอนว่า ปีหนึ่ง และบุญชู 5 มีชื่อตอนว่า เนื้อหอม ส่วนความยาวของเนื้อหาบุญชู 3 และบุญชู 4 รวมกันไม่เกิน 12 นาที ก่อนจะเข้าสู่บุญชู 5.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและบุญชู 5 เนื้อหอม · ดูเพิ่มเติม »

พรหมจารีสีดำ

หมือนแพร หญิงสาวที่บอบช้ำกับความรักอย่างสาหัสตั้งแต่อายุ 15 ความผิดหวังอย่างรุนแรงทำให้เธอตัดสินใจฆ่าตัวตาย แต่บัดนี้กาลเวลาบ่มเพาะให้เธอกร้าวแกร่งขึ้น เธอมิใช่แพรไหมอันบอบบางเฉกเช่นกาลก่อนอีกต่อไป และเธอกำลังจะกลับมาชำระแค้น พิมาน หนุ่มใหญ่ผู้รับผิดชอบมรดกสืบต่อจากพี่ชาย เขาต้องเผชิญกับผลการกระทำที่พี่ชายเขาก่อไว้ และในที่สุดความโกรธแค้นจากการสูญเสีย ทำให้เขากลับกลายจากสุภาพบุรุษเป็นซาตานได้ในชั่วพริบตา เมื่อเมล็ดพันธ์แห่งรักถูกฝังอยู่ลึกสุดในห้วงแห่งรอยแค้น ความรักนั้นจะมีโอกาสผลิดอกงอกงามหรือไร หมวดหมู่:วรรณกรรมที่สร้างเป็นละครโทรทัศน์ หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและพรหมจารีสีดำ · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล อัครเศรณี

ละครขุนศึก ปี พ.ศ. 2520 - พิศาล อัครเศรณี และ ผุสดี พลางกูล พิศาล อัครเศรณี (เปี๊ยก) (21 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) เป็นผู้กำกับ นักแสดง โฆษก มีผลงานภาพยนตร์ไทยสร้างชื่ออย่าง “เพลงสุดท้าย” เป็นผู้ที่ได้รับฉายาว่า "พระเอกซาดิสต์" หรือ "ผู้กำกับซาดิสต์" เนื่องจากมักได้รับบทหรือกำกับละครหรือภาพยนตร์ที่พระเอกมักจะทำร้ายนางเอกด้วยการตบตี แต่ลงท้ายด้วยการจูบหรือแสดงความรัก ทำให้นางเอกใจอ่อนทุกที.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและพิศาล อัครเศรณี · ดูเพิ่มเติม »

พีท ทองเจือ

ีท ทองเจือ เดิมมีชื่อจริงว่า พันธกานต์ ทองเจือ ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อมาเป็น ธนภณ ทองเจือ เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2511 เป็นบุตรชายของภิญโญ ทองเจือ อดีตพระเอกภาพยนตร์ กับนิธิกานต์ ทองเจือ และเป็นพี่ชายต่างมารดากับสายฟ้า เศรษฐบุตร จบการศึกษา Advertising ที่ Academy of Arts College เมืองซานฟรานซิสโก เป็นลูกหลานเชื้อสายของแม่นาคพระโขนง ปัจจุบันเป็นนักแข่งรถมืออาชี.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและพีท ทองเจือ · ดูเพิ่มเติม »

พี่ชาย My Bromance

ี่ชาย My Bromance ภาพยนตร์อิสระแนวโรแมนติกดราม่า เป็นหนังรักเพศเดียวกันจากวายุฟิล์มโปรดักชั่น ผลงานของผู้กำกับณิชภูมิ ชัยอนันต.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและพี่ชาย My Bromance · ดูเพิ่มเติม »

พงศธร ศรีปินตา

งศธร ศรีปินตา เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยการแคสติ้งหนังเรื่องพี่ชาย แต่เรื่องแรกที่ได้เข้าฉายก่อน คือ เรื่องเกรียนฟิคชั่น และเรื่องตีสาม คืนสาม 3D จนในปี 2557 ฟลุ๊คมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง ตีสาม คืนสาม 3D ซึ่งรับบทเป็น "ขะมอด" ร่วมกับสินจัย เปล่งพานิช และจิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร และมีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง พี่ชาย My Bromance แสดงคู่กับธีรภัทร โลหนันทน์ ซึ่งจากบทบาท "แบงค์" ใน พี่ชาย นี้ ทำให้ฟลุ๊คเป็นที่รู้จักในฐานะนักแสดงวัยรุ่นชายขึ้นมาทันที นอกจากนี้ภาพยนตร์เรื่องนี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จจากการฉายจำกัดโรง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและพงศธร ศรีปินตา · ดูเพิ่มเติม »

กรุง ศรีวิไล

กรุง ศรีวิไล มีชื่อจริงว่า กรุงศรีวิไล สุทินเผือก (ชื่อเดิม: นที สุทินเผือก; ชื่อเล่น: เอ๊ด) เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานอย่างเช่นเรื่อง ลูกยอด ชู้ ทอง ตัดเหลี่ยมเพชร ซุปเปอร์ลูกทุ่ง คืนนี้ไม่มีพระจันทร์ มีนัดไว้กับหัวใจ เสาร์ห้า เดียมห์ เพศสัมพันธ์อันตราย แมงดาปีกทอง สาวแรงสูง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและกรุง ศรีวิไล · ดูเพิ่มเติม »

กอล์ฟ-ไมค์

กอล์ฟ - พิชญะ นิธิไพศาลกุล และ ไมค์ - พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล เป็นคู่ศิลปินนักร้องเพลงไทยสากลแนวป็อป และ ฮิปฮอป อาร์แอนด์บี สังกัดบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและกอล์ฟ-ไมค์ · ดูเพิ่มเติม »

การจับปลา

การตกปลา เป็นการจับปลาและเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมชนิดหนึ่ง กระทำโดยการใช้เหยื่อล่อ โดยใช้ได้ทั้งที่เป็นเหยื่อสด เหยื่อหมัก และเหยื่อปลอม หมวดหมู่:การประมง หมวดหมู่:การตกปลา.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและการจับปลา · ดูเพิ่มเติม »

ญาณี ตราโมท

ญาณี ตราโมท ญาณี ตราโมท เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายมนตรี ตราโมท ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ และปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษา คุณญาณีได้เข้าทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและญาณี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล

ูธฤทธิ์ พรหมบันดาล (ชื่อเล่น: วิทย์) เป็นนายแบบและนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล · ดูเพิ่มเติม »

มานพ อัศวเทพ

มานพ อัศวเทพ มีชื่อจริงคือ ว่า วิริยะ จุลมกร เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและมานพ อัศวเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มือปืน/โลก/พระ/จัน

มือปืน โลก/พระ/จัน เป็นภาพยนตร์แอคชั่น ดรามา ตลก ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและมือปืน/โลก/พระ/จัน · ดูเพิ่มเติม »

รัก 7 ปี ดี 7 หน

รัก 7 ปี ดี 7 หน (Seven Something) เป็นภาพยนตร์ไทย ฉลองครบรอบ 7 ปี GTH แนวโรแมนติก-คอมเมดี ออกฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรัก 7 ปี ดี 7 หน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2500

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2501

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2502

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2503

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2505

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2506

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2507

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2508

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2516

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2517

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2518

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2519

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2520

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2522

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2524

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2525

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2526

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2527

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2528

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2529

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2530

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2531

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2532

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2533

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2534

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2535

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2536

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2537

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2538

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2540

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2541

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2543

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2544

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2545

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2547

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2555

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2557

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549

ีมอบรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ณ โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย พารากอนซินีเพล็กซ์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยมี พล.ร.อ.บรรณวิทย์ เก่งเรียน รองปลัดกระทรวงกลาโหม เป็นประธาน นับเป็นรางวัลตุ๊กตาทองครั้งที่ 36 นับจากครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2500 และถือเป็นครั้งสุดท้ายของการจัดงานนี้ ภาพยนตร์ที่เข้าประกวดมีทั้งหมด 21 เรื่อง จากภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 จำนวน 42 เรื่อง ภาพยนตร์เรื่อง เปนชู้กับผี เข้าชิงมากที่สุด 13 รางวัล จากทั้งหมด 16 รางวัล ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2555

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 29 และรางวัลเมขลา ครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500

การประกวดภาพยนตร์ ชิงรางวัลตุ๊กตาทอง และสำเภาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25

หมวดหมู่:กล่องท้ายเรื่อง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 27 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 28 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานรางวัลให้แก่ผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ

วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 -) นักแสดง เกิดที่จังหวัดกรุงเทพฯ เป็นลูกชายคนโต จบการศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลป์, วิทยาลัยเซนต์จอห์น และคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้ถูกชักนำเข้าสู่วงการบันเทิงในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและวรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วสุ แสงสิงแก้ว

ว่าที่ร้อยตรี วสุ แสงสิงแก้ว (ชื่อเล่น จี๊บ) หรือ จิ๊บ ร.. (29 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) เป็นพิธีกร นักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและวสุ แสงสิงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วิลลี่ แมคอินทอช

วิลลี่ แมคอินทอช หรือ เริงฤทธิ์ แมคอินทอช เกิดเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพฯ เป็นลูกครึ่ง ไทย-สก็อต และชาติจีน มีอาชีพนักแสดง นายแบบ, พิธีกร ปัจจุบันเป็นประธานบริษัท ลักษ์ 666 มีคุณพ่อชาวสก็อต ชื่อคุณวิลเลียม แมคอินทอชซึ่งเมื่อครั้งยังหนุ่มเป็นนักรบสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ประจำฝ่ายบิน เมื่อหมดสงคราม จึงไปสมัครเข้าสายการบินเอ.เอ.เอสของเดนมาร์ค การบินไทยเช่าเครื่องบินจากบริษัทนี้ และยังเป็นหุ้นส่วนกันด้วย ต่อมามิสเตอร์วิลเลี่ยม แมคอินทอชจึงถูกส่งตัวมาทำงานกับการบินไทย และได้เจอกับคุณแม่ของเขาคุณยุรภรณ์ มีน้องสาวเป็นนักแสดง พิธีกร คือ คัทลียา แมคอินทอช สมรสกับนางแบบชื่อดัง เยลหลี ริคอร์เดล มีผลงานชิ้นแรกคือ ธัญญา แม่มดยอดยุ่ง (คู่กับ หมิว ลลิตา) วิลลี่จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมิชชิแกน สหรัฐอเมริกา ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ เยลหลี ริคอร์เดล อดีตนางแบบและพิธีกรชื่อดัง มีบุตรคนแรกชื่อ ธาดาฤทธิ์ แมคอินทอช (วิน) เป็นบุตรชาย คลอดที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2554 เวลา 06.40 น.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและวิลลี่ แมคอินทอช · ดูเพิ่มเติม »

วทัญญู มุ่งหมาย

นายวทัญญู มุ่งหมาย เกิดเมื่อวันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 ปีมะเส็ง ณ จังหวัด อุบลราชธานี เป็นบุตรคนที่ 6 ของ นาย บุดดี มุ่งหมาย และ นางเรือนคำ มุ่งหมาย มี พี่น้อง 7 คน ชาย 2 คน หญิง 5 คน การทำงานในวงการบันเทิงเริ่มจากการเป็นนักเรียนการแสดงรุ่นที่ 1 ของช่อง 7 สี และเป็นนักร้องดีเด่นและขวัญใจมหาชนในการประกวดร้องเพลงชิงแชมป์ 5 ภูมิภาคของวาทินี ช่อง 9 อสมท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและวทัญญู มุ่งหมาย · ดูเพิ่มเติม »

ศัมภลา

Crossman, Sylvie and Jean-Pierre Barou, eds.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและศัมภลา · ดูเพิ่มเติม »

ศุกลวัฒน์ คณารศ

กลวัฒน์ คณารศ ชื่อเล่น เวียร์ เกิดวันที่ 18 เมษายน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและศุกลวัฒน์ คณารศ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ เมทะนี

มบัติ เมทะนี (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2480; ชื่อเล่น แอ๊ด) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และครโทรทัศน์) ประจำปี 2559 นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลตุ๊กตาทองและรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นอกจากนี้กินเนสบุ๊คยังบันทึกไว้ว่าเป็นนักแสดงที่รับบทเป็นพระเอกมากที่สุดในโลก โดยแสดงเป็นพระเอกถึง 617 เรื่อง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสมบัติ เมทะนี · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ เบญจาธิกุล

มภพ เบญจาทิกุล นักแสดงชายอาวุโส เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2488 จบการศึกษาระดับปว.จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง จบระดับปว.สาขาช่างไฟฟ้าจากสถาบันเทคโนโลยีช่างกลปทุมวัน มีชื่อเสียงมาจากการรับบทเกย์ในภาพยนตร์เรื่อง นางแบบมหาภัย จากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในปี พ.ศ. 2518 ซึ่งนับว่าเป็นบทชายรักชายครั้งแรกในวงการภาพยนตร์ไทยเลยก็ได้ว่า และทำให้คนไทยได้รู้จักกับคำว่า "เกย์" เป็นครั้งแรก จากนั้นก็ได้แสดงในหลายต่อหลายเรื่องตามมา โดยมากจะเป็นบทร้าย แต่บางครั้งก็รับบทเป็นพระเอก เช่น ชายกลาง ใน บ้านทรายทอง ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2520 คู่กับ ศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ปัจจุบัน สมภพ เบญจาทิกุล มีบทบาทการแสดงเป็นตัวประกอบบ้างและบทของพ่อบ้าง ผลงานในระยะหลังได้รับการการกล่าวขานว่าแสดงได้สมบทบาท จนมีชื่อเข้าชิงรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมหลายครั้ง จากหลายเรื่อง เช่น คืนบาปพรหมพิราม ในปี พ.ศ. 2546, โหมโรง ในปี พ.ศ. 2547 และบทของ พระเจ้าบุเรงนอง จาก ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสมภพ เบญจาธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมจินต์ ธรรมทัต

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานรางวัลดาราทองประเภทโทรทัศน์ ให้นาย สมจินต์ ธรรมทัต ณ.เวทีลีลาศสวนอัมพร วันศุกร์ที่ 24 มีนาคม พุทธศักราช 2509 สมจินต์ ธรรมทัต เกิดวันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 ที่จังหวัดธนบุรี เป็นนักแสดงชาวไทย นักพากย์ ผู้กำกับการแสดง จบการศึกษาจากโรงเรียนอำนวยศิลปธนบุรี และพานิชยการพระนคร เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการทำงานที่ บริษัทไทยโทรทัศน์ จำกัด หรือช่อง 4 บางขุนพรหม ยุคบุกเบิก มีหน้าที่ต่างๆ ตามได้รับมอบหมาย กับงานอัดเสียงผู้สมัครเข้าเป็นผู้ประกาศของบริษัท ต่อมาได้บรรจุเป็นพนักงานประจำฝ่ายจัดรายการ แผนกแผนผัง (แผนผังการออกอากาศ) ซึ่งมี จำนง รังสิกุล ผู้อำนวยการสถานี และ อาจินต์ ปัญจพรรค์ เป็นหัวหน้าฝ่ายและรองหัวหน้าตามลำดับ และเป็นเจ้าของผลงาน 3 รางวัล ได้แก่ ดาราทองพระราชทาน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสมจินต์ ธรรมทัต · ดูเพิ่มเติม »

สมควร กระจ่างศาสตร์

มควร กระจ่างศาสตร์ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 13 มกราคม พ.ศ. 2551) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักแสดงอาวุโส ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ละครเวที-นักแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสมควร กระจ่างศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สายัณห์ จันทรวิบูลย์

ัณห์ จันทรวิบูลย์ ชื่อเล่น ตุ๋ย เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตนักแสดงที่เคยได้รับฉายาว่า หุ่นทรมานใจสาว สายัณห์เกิดในครอบครัวลิเก ฉะอ้อน เรืองศิลป์ มีพี่น้อง 7 คน เข้าสู่วงการบันเทิงขณะที่กำลังศึกษาต่อที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร ขณะที่กำลังรับบทพระรามในละครเวทีของกรมศิลปากรเรื่องรามเกียรติ์ จากการชักนำของหลานพระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ ยุคล ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมห้องให้มาเป็นพระเอกเรื่อง ละครเร่ ของอัศวินภาพยนตร์ ก้าวสู่วงการบันเทิงโดยการสนับสนุนของหม่อมปริม บุนนาค ต่อด้วยบทพระรองในเรื่อง โทน และมีผลงานออกมาอย่างต่อเนื่อง และยังมีผลงานทางจอแก้วด้วยการแสดงละครทีวีเรื่องแรกในเรื่อง "รอยมลทิน" ของคณะศรีไทยการละคร เรื่องต่อมา "นางพญาม่านจู" และ "หัวหมู่เจน" เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสายัณห์ จันทรวิบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเชาว์ พงษ์วิไล

ว์ พงษ์วิไล เป็นนักแสดงชายเจ้าบทบาท เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในปัจจุบัน) เริ่มอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นนักแสดงละครเวทีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่ออายุได้ 30 กว่าแล้ว โดยการรับบทเป็นพระเอก ต่อมาละครเวทีเรื่องนี้ได้มีโอกาสแพร่ภาพออกโทรทัศน์ทางช่อง 5 จึงมีผู้เห็นแววและชักชวนเข้าสู่การแสดงภาพยนตร์ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่แสดงคือ กิเลสคน ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาก็คือ สวัสดีคุณครู พ.ศ. 2521 และเทพธิดาบาร.ศ 2521 เป็นเรื่องที่สาม รับบทร้ายครั้งแรกในละครของช่อง 3 เรื่อง ขุนศึก โดยการแนะนำและกำกับโดย สักกะ จารุจินดา รวมทั้งเคยรับตลกเป็นกะเทยด้วยในเรื่อง ขบวนการคนใช้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 จากการกำกับของ ชนะ คราประยูร สุเชาว์ พงษ์วิไล มีบทบาทที่เป็นที่รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง ระยะหลังมีการเปลี่ยนมารับบทพ่อหรือตัวละครอาวุโสขึ้นมาบ้าง ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ สุริโยไท (พ.ศ. 2544), ผีสามบาท (พ.ศ. 2544), องค์บาก (พ.ศ. 2546), สุดสาคร (พ.ศ. 2549), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) และ 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร ในปีเดียวกัน เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังร่วมแสดงในมิวสิกวิดีโอของธนพล อินทฤทธิ์ ในเพลง 18 ฝน ด้วยการรับบทเป็นพ่อของ สิทธิพร นิยม ในปี พ.ศ. 2537 และในเพลง รอยกรีดที่ข้อมือ ของภานุพงศ์ จำปาเฟื่อง ในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งสร้างมาจากชีวิตจริงของลูกสาวตนเองอีกด้วย และในเพลง อกหัก รุ่นเก๋า ของวรนุช กนกากร ในปี พ.ศ. 2552 ชีวิตส่วนตัว สุเชาว์แต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ ณิฐา พงษ์วิไล.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสุเชาว์ พงษ์วิไล · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ ประยูรพิทักษ์

ทพ ประยูรพิทักษ์ ชื่อเล่น อี๊ด เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและสุเทพ ประยูรพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

หย่าเพราะมีชู้

หย่าเพราะมีชู้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 สร้างจากบทประพันธ์ของ อุดม ศุภสินธุ์ กำกับโดย มานพ อุดมเดช โดยร่วมงานกับ พูนทรัพย์โปรดักชั่น ของ วิศิษฐ์ มิ่งวัฒนบุญ นำแสดงโดย สินจัย หงษ์ไทย, นาถยา แดงบุหงา, อภิชาติ หาลำเจียก และ ชนประคัลภ์ จันทร์เรือง ได้รับรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี (ตุ๊กตาทอง) ภาพยนตร์ยอดนิยม ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและหย่าเพราะมีชู้ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม พ.ศ. 2424 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2497) นักดนตรีชาวไทย ผู้มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีไทย และประพันธ์เพลงไทยเดิม.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ หาลำเจียก

อภิชาติ หาลำเจียก (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 - 15 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ 2 สมัย สังกัดพรรคกิจสังคม และพรรคสามัคคีธรรม อดีตสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอภิชาติ หาลำเจียก · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพร ธีมากร

อรรถพร ธีมากร (หนุ่ม) เกิดวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี พิธีกร และผู้กำกับละคร บุตรของนายพูลสวัสดิ์ ธีมากร นักแสดงอาวุโส เข้าสู่วงการบันเทิงหลังไปออกรายการ จันทร์กะพริบ กับคุณพ่อ โดยเล่นละครเรื่อง "รุ่นหนึ่งตึกห้าหน้าเดิน" เป็นเรื่องแรก ต่อมามีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง โดยผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ 2499 อันธพาลครองเมือง และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เลตเตอร์ จดหมายรัก ในการประกาศรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2547 มีเพื่อนสนิทในวงการ คือ "กัปตัน" ภูธเนศ หงษ์มานพ และ "ติ๊ก" เจษฎาภรณ์ ผลดี ด้านการศึกษาและชีวิตส่วนตัว จบบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สมรสกับ อริญรดา ปิติมารัชต์ มีบุตรชาย 2 คน ชื่อ อันดาและอดัม.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอรรถพร ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

อันธพาล

อันธพาล (Gangster) ภาพยนตร์ไทยแนวอาชญากรรม ออกฉายในปี พ.ศ. 2555 กำกับโดย ก้องเกียรติ โขมศิร.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอันธพาล · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม

อนันดา เอเวอริงแฮม (เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) เป็นดาราลูกครึ่งออสเตรเลีย-ลาว เข้าวงการเมื่ออายุ 14 ปี โดยคำชักชวนของมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ กับภาพยนตร์เรื่องแรก อันดากับฟ้าใส และ 303 กลัว/กล้า/อาฆาต หลังจากไม่มีผลงานบันเทิงระยะหนึ่ง ได้กลับมาอีกครั้งกับละครเรื่องทะเลฤๅอิ่ม ของหม่อมน้อย หลังจากนั้นก็มีผลงานการแสดงเรื่อยมา จนใน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ บุนนาค

อนันต์ บุนนาค เกิดเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2506 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย-อเมริกันบุคลิกทะเล้น มีผลงานเพลงป็อปโด่งดังอย่างอัลบั้ม ขออภัยในความไม่สะดวก และ อนันต์ เสนอหน้า ในสังกัดของอาร์เอส ละครโทรทัศน์ชุด ความรักของคุณฉุย และ มนต์รักลูกทุ่ง ทางช่อง 7 สี หลังจากนั้นก็มีผลงานเพลงลูกทุ่ง มีผลงานแสดงละครเรื่อง สงครามข้างเตา ละครแก๊งค์สืบ 07 และมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอนันต์ บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

อโนเชาว์ ยอดบุตร

อโนเชาว์ ยอดบุตร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2501 - 21 มีนาคม พ.ศ.2561) นักแสดงชาวไทย ที่เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและอโนเชาว์ ยอดบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ผีเสื้อและดอกไม้

ผีเสื้อและดอกไม้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและผีเสื้อและดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

จรัล มโนเพ็ชร

รัล มโนเพ็ชร (1 มกราคม พ.ศ. 2494 — 3 กันยายน พ.ศ. 2544) เป็นศิลปินชาวไทย ผู้เป็นทั้งนักร้อง นักดนตรี นักแต่งเพลง และนักแสดง ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นศิลปินผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัย งานดนตรีของจรัลมีเอกลักษณ์จากการสร้างสรรค์ภาษาถิ่นเหนือ คำเมือง ของเขาซึ่งเรียกว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ก่อเกิดขึ้นนับแต่ปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและจรัล มโนเพ็ชร · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุ ละอองมณี

รายุ ละอองมณี (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2538) ชื่อเล่น เก้า เป็นนักแสดงและนักร้องชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและจิรายุ ละอองมณี · ดูเพิ่มเติม »

ถล่มมาเฟีย

ล่มมาเฟีย ภาพยนตร์ไทย แนวแอ็คชั่นจากการกำกับของ วินิจ ภักดีวิจิตร ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี 2520 นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล และ สรพงษ์ ชาตรี.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและถล่มมาเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและดอกดิน กัญญามาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอม เหตระกูล

อม เหตระกูล เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2519 เป็นนักแสดง พิธีกร และนายแบบไทย เป็นบุตรชายคนโตของนายประชา เหตระกูล ประธานผู้บริหารหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ การศึกษาประถม - มัธยมปลายจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ และปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ ภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการวิทยาลัยนานาชาติ เข้าสู่วงการจากการชักชวนของคุณมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เริ่มด้วยการประกวดหนุ่มแพรว จากนั้นมีผลงานการแสดงด้วยการเป็นดารารับเชิญใน เจ้าพ่อจำเป็น รักหลอก ๆ อย่าบอกใคร รักเธอเสมอ (เรือ) พอใกล้เรียนจบจึงได้เป็นพระเอกเต็มตัวใน เสือ โจรพันธุ์เสือ, ล่าระเบิดเมือง มีงานละครทางช่อง 3 เช่น เรื่องกัลปังหา, เขยลิเก, 5 คม, เล่ห์ลับสลับร่าง ทางช่อง 5 เรื่อง แสนแสบ และเป็นพิธีกรรายการ กระตุกหนามเตย ด้านชีวิตส่วนตัว ดอมสมรสกับ ก้อย - ศศิลักษณ์ ฝ่ายจำปา มีบุตรสาว 1 คน และมีธุรกิจส่วนตัวคือ บริษัท บริทไบค์ จำกัด ซึ่งนำเข้าและเป็นตัวแทนจำหน่ายมอเตอร์ไซค์ แบรนด์ Triumph.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและดอม เหตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ดามพ์ ดัสกร

มพ์ ดัสกร นักแสดงผู้รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในอดีต มีชื่อจริงว่า ดามพ์ เผด็จดัสกร (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น "ธนฤกษ์ ธัญมงคล") มีชื่อเล่นว่า "เบิ้ม" เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2488 ที่บ้านควนขี้แรด ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการ จากมหาวิทยาลัยเกริก และปริญญาโทนิเทศศาสตร์ สาขาธุรกิจการท่องเที่ยวและบันเทิง จากมหาวิทยาลัยเกริก เริ่มต้นอาชีพด้วยการเป็นพนักงานต้อนรับชาวต่างประเทศ ที่สนามมวยราชดำเนิน จนกระทั่ง หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ไปพบถึงชวนเข้าสู่วงการบันเทิง โดยให้รับบทดาวร้ายครั้งแรกใน ภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตร เรื่อง "หญิงก็มีหัวใจ" ฉายทางช่อง 7 สี ในปี พ.ศ. 2513 หลังจากนั้นได้เป็น พระเอกในละครโทรทัศน์เรื่อง "ปิง วัง ยม น่าน" โดยประกบกับ นางเอก ศิรินธร ศรอนงค์ มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรก "มันมากับความมืด" (ซึ่งเป็นเรื่องแรกของ สรพงษ์ ชาตรี และ ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล ด้วย) ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดคือ "ทอง ภาค 1" นอกจากจะเป็นนักแสดงแล้วยังเป็นอำนวยการสร้างภาพยนตร์และกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ดาวพระเสาร์" ในปี พ.ศ. 2525 แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในระยะหลังได้กลับเข้าสู่วงการบันเทิงอีกครั้ง โดยการชักนำของ ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก แห่ง บริษัทกันตนา และไพรัช สังวริบุตร แห่ง บริษัทดาราวิดีโอ ให้มารับบทดาวร้ายในละครโทรทัศน์ของช่อง 7 หลายเรื่อง เช่น เมืองโพล้เพล้, ผมอาถรรพ์, มนต์รักลูกทุ่ง, แม่นาคพระนคร, ปะการังสีดำ, สื่อกามเทพ, ขุนเดช, นางแมวป่า, ขุมทรัพย์แม่น้ำแคว และจวบจนถึงปัจจุบัน เคยได้รับรางวัลดาวร้ายยอดเยี่ยม จากการประกวดรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ เมขลา ปี พ.ศ. 2538 จากบท "เศรษฐีจอม" ในละครโทรทัศน์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" นอกจากนี้แล้ว ยังมีญาติผู้น้องของเจ้าตัวหลายคนก็ได้เป็นนักแสดงในบทร้ายตามมาอีกด้วย เช่น กิตติ ดัสกร, ภิญโญ ปานนุ้ย, ยุพข่าน เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและดามพ์ ดัสกร · ดูเพิ่มเติม »

ดีแตก

"ดีแตก" เป็นภาพยนตร์ไทยแนวแอ็คชั่น-ดราม่า ในปี พ.ศ. 2530 โดยไท เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ กำกับโดยอดิเรก วัฏลีลา นำแสดงโดยอำพล ลำพูน นาถยา แดงบุหงา พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง สหัสชัย ชุมรุม สมชาย โพธิ์ดี เป็นผลงานกำกับเดี่ยวของอังเคิล(อดิเรก วัฏลีลา)เรื่องแรก หลังจากที่เคยกำกับเรื่องซึมน้อยหน่อย กะล่อนมากหน่อย และปลื้ม จากการกำกับร่วมกับปื๊ด(ธนิตย์ จิตนุกูล).

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและดีแตก · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

ครูสมศรี

รูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและครูสมศรี · ดูเพิ่มเติม »

คาดเชือก

ือก เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและคาดเชือก · ดูเพิ่มเติม »

คิดถึงวิทยา

ึงวิทยา (Teacher’s Diary) เป็นภาพยนตร์ไทยออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและคิดถึงวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ตายโหง ตายเฮี้ยน

ตายโหงตายเฮี้ยน หรือ ตายโหง 2 เป็นภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ สร้างโดยพระนครฟิลม์ กำกับโดย พจน์ อานนท์, ธนดล นวลสุทธิ์, ธรรมนูญ สกุลบูรณ์ถนอม, อชิร นกเทศ เป็นภาคต่อของภาพยนตร์เรื่อง "ตายโหง" ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่นำข่าวหน้าหนึ่งจากเรื่องที่เกิดขึ้นจริงทั้ง 4 เรื่องมาทำเป็นภาพยนตร์ 4 เรื่องสยอง 4 โศกนาฏกรรม จากข่าวหน้า 1 สู่แผ่นฟิล์ม มีกำหนดเข้าฉาย 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและตายโหง ตายเฮี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานกระสือ

ตำนานกระสือ (อังกฤษ:Demonic Beauty)เป็นภาพยนตร์ของค่าย สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล กำกับภาพยนตร์โดย บิณฑ์ บรรลือฤท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและตำนานกระสือ · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกรักแป้งมาก

ตุ๊กแกรักแป้งมาก เป็นภาพยนตร์ไทยในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและตุ๊กแกรักแป้งมาก · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตร มงคลชัย

ฉัตร มงคลชัย นักแสดงอาวุโสชาวไทยผู้โด่งดังจากการรับบทร้ายใน ภาพยนตร์หลายเรื่อง.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและฉัตร มงคลชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ฤกษ์ยามดี

ประจวบ ฤกษ์ยามดี ชื่อเล่น น้อย (15 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดงชาวไทย ฉายา ดาวร้ายผู้น่ารัก ที่ผู้ชมคุ้นเคยกับบทบาทผู้ช่วยพระเอก-นางเอก หรือผู้ร้ายที่มักกลับใจมาช่วยฝ่ายพระเอกในตอนท้าย ที่มีผลงานบทสมทบในภาพยนตร์ไทยจำนวนมากกว่าร้อยเรื่อง มักรับบทพระรองคู่พระเอก อย่าง มิตร ชัยบัญชา และสมบัติ เมทะนี และยังเป็นดาวร้ายเจ้าของรางวัล 2 ตุ๊กตาทอง ประจวบ ฤกษ์ยามดีในการแสดง ประจวบ ฤกษ์ยามดี เป็นบุตรคนสุดท้อง เป็นน้องชายของ ยุวนุช ฤกษ์ยามดี ดาราละครเวทีชื่อดังในอดีตและประจวบยังเป็นน้องภรรยาของผู้กำกับภาพยนตร์ ทวี ณ บางช้าง หรือครูมารุต เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการทำงานอยู่ในโรงถ่ายหนุมานภาพยนตร์ของ รัตน์ เปสตันยี ต่อมาได้เริ่มต้นในวงการบันเทิงด้วยการแนะนำจากครูมารุต ผู้กำกับมือดีซึ่งเป็นพี่เขยของเขาเอง ได้แสดงในภาพยนตร์เรื่องแรก ชั่วฟ้าดินสลาย (2498) รับบทเป็น ทิพย์ และภาพยนตร์ที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของแฟนๆมากที่สุดได้แก่เรื่อง รักริษยา (2501) กำกับโดย มารุต ได้แจ้งเกิดในบทดาวร้ายจากเรื่องนี้และได้ตุ๊กตาทองจากภาพยนตร์เรื่องนี้ในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและประจวบ ฤกษ์ยามดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา นิรันดร์กุล

ปัญญา นิรันดร์กุล เป็นพิธีกรและนักแสดงชาวไทย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง และประธานบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและปัญญา นิรันดร์กุล · ดูเพิ่มเติม »

นพชัย ชัยนาม

นพชัย ชัยนาม (ชื่อเล่น: ปีเตอร์) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน มีบทบาทการแสดงเป็นที่จดจำจากเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รับบทเป็น "บุญทิ้ง" หรือ "ออกพระราชมนู" นพชัยสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นพชัยเริ่มเข้าสู่วงการ โดยการถ่ายภาพยนตร์โฆษณา สเปรย์รอยัล จากนั้นมีผลงานแสดงละคร เช่น เจ้าสาวของอานนท์ สะพานดาว เลือกแล้วคือเธอ ฯ จากนั้นได้แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและนพชัย ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

นพพล โกมารชุน

นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ. 2527) ประกบคู่กับ มยุรา เศวตศิลา ซูหลิน หนุ่มจีนแผ่นดินใหญ่ผู้แสนดีและมีอุดมการณ์ ในละคร กนกลายโบตั๋น ทางช่อง 7 (พ.ศ. 2533) คู่กับ ปรียานุช ปานประดับ และเกิดเป็นความรักจนกลายเป็นคู่ชีวิตกันในเวลาต่อมา หลังจากนั้นก็สร้างความประทับใจให้ผู้ชมอีกครั้งกับบท อาเหลียง ในละครโทรทัศน์เรื่อง ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535 ทางช่อง 7 ประกบคู่กับปรียานุช ปานประดับ และ อภิรดี ภวภูตานนท์ ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ต่อมา นพพลจึงเปลี่ยนบทบาทไปรับบทรองในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายเรื่อง เช่น มือปืน 2 สาละวิน ในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้น และในยุคอดีตนั้น ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 ถึงปลายปี พ.ศ. 2536 นพพลเคยเป็นพิธีกรรายการ จุดเดือด ของ เจเอสแอล คู่กับ กาญจนาพร ปลอดภัย และ จรียา ทิพยะวัฒน์ และเคยเป็นพิธีกรรายการ เจาะโลกมหัศจรรย์ ด้วย ช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว นพพล ยังผันตัวเองไปทำงานเบื้องหลัง โดยเฉพาะในฐานะผู้กำกับละคร ป้อนงานผลิตให้ช่อง 3 กับบริษัท ยูม่า จำกัด เช่น กตัญญูประกาศิต (พ.ศ. 2533), น้ำตาหยดสุดท้าย (พ.ศ. 2536), โสมส่องแสง (พ.ศ. 2537) เป็นต้น โดยมีนักแสดงคู่ใจอย่าง ฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบทเป็นพระเอกให้แทบทั้งหมด ชีวิตส่วนตัว นพพล สมรสกับ ปรียานุช ปานประดับ ภรรยานักแสดงที่พบรักกันจากการร่วมแสดงในเรื่องกนกลายโบตั๋น แต่ทั้งคู่ไม่มีบุตรด้วยกัน เนื่องจากปรียานุชร่างกายไม่แข็งแรง ปัจจุบัน ได้ผันตัวเองเป็นผู้กำกับละครและผู้จัดละคร โดยเปิดกิจการของตนเอง ชื่อ บริษัท เป่าจินจง เมื่อปี 2541.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและนพพล โกมารชุน · ดูเพิ่มเติม »

นกน้อย

นกน้อย (2507) นกน้อย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและนกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า

แสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า คือภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 กำกับโดย ฤกษ์ชัย พวงเพ็ชร์ นำแสดงโดย วรเวช ดานุวงศ์, ณัฐฐาวีรนุช ทองมี, จตุรงค์ พลบูรณ์, จิ้ม ชวนชื่น, โก๊ะตี๋ อารามบอย, ค่อม ชวนชื่น, เอกรัตน์ ขลิบเงิน, มนัสนันท์ ปานดี.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและแสบสนิท ศิษย์ส่ายหน้า · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินของเรา (ภาพยนตร์)

แผ่นดินของเรา ภาพยนตร.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและแผ่นดินของเรา (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

โก๊ะตี๋ อารามบอย

ริญพร อ่อนละม้าย (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2523) ชื่อในการแสดงว่า โก๊ะตี๋ อารามบอย หรือเดิมใช้ว่า โก๊ะตี๋ ผีน่ารัก เป็นนักแสดงชาวจังหวัดอ่างทอง จุดเด่นคือรูปร่างอ้วนและเหมือนเด็ก แทนตัวเองว่า "หนู" มีผลงานการแสดงหลายด้าน ทั้งตลก ภาพยนตร์ และละคร นอกจากนี้ ยังเป็นนักธุรกิจแอมเวย์ระดับแพลตินัมสองผู้สถาปน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและโก๊ะตี๋ อารามบอย · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง (ภาพยนตร์)

หมโรง (The Overture) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2547 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีไทย เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจมาจากประวัติของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย กำกับโดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ และอำนวยการผลิตโดย นนทรีย์ นิมิบุตร และ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ภาพยนตร์ทำรายได้ 52.72 ล้านบาท นำแสดงโดย อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, อาระตี ตันมหาพราน, สุเมธ องอาจ, ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง และอาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ โตสง่า จากวงบอยไทย รับบทเป็น ขุนอิน ภายหลังดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อ พ.ศ. 2555 และเป็นละครเวทีมิวสิคัลโดยเวิร์คพอยท์-โต๊ะกลมโทรทัศน์ แสดงที่โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ เมื่อ พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและโหมโรง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไกรลาศ เกรียงไกร

ันโท ไกรลาศ เกรียงไกร นักแสดงชายชาวไทย เป็นนักแสดงสมทบในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายเรื่อง มีชื่อจริงว่า ไกรลาศน์ ยวงใย เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร โดยเป็นบุตรคนที่ 9 จากบุตรทั้งหมด 9 คน ของ.ต.วิมล และ นางกรุณา ยวงใย เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทองสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2521 จากเรื่อง เทพธิดาบาร์ 21 จากการกำกับของ ยุทธนา มุกดาสนิท และมีชื่อเข้าชิงรางวัลเดียวกันนี้อีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2525 จากเรื่อง พลฯ ทองดีใจซื่อ ผลงานการแสดงภาพยนตร์เรื่องอื่น ๆ อาทิ ลูกอีสาน ในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและไกรลาศ เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์

รืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์ (เจมส์) เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2521 ที่อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช สำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิชาเอกดุริยางคศาสตร์ (สากล) ศึกษาต่อระดับปริญญาโท คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ (การเมือง) เคยเป็นศิลปินในสังกัด อาร์เอส และ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยในปี 2555 เจมส์-เรืองศักดิ์ ได้กลับมาจัดคอนเสิร์ตร่วมกับอาร์เอสอีกครั้ง และในปี 2556 ได้ร่วมคอนเสิร์ต อาร์เอสมีตติ้ง ที่รวมศิลปินเก่าของอาร์เอสไว้คับคั่ง เช่น บาซู, บอยสเก๊าท์, แร็พเตอร์, ลิฟท์-ออย, ทัช, เต๋า และ อนัน อันวา อีกด้ว.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ (ภาพยนตร์)

รือนแพ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2504 ร่วมทุนสร้างระหว่าง บริษัทอัศวินภาพยนตร์ กับ บริษัทชอว์บราเดอร์สแห่งฮ่องกง ระบบถ่ายทำด้วย 35 มม.ซูเปอร์ซีเนสโคป สีอิสแมนต์ เสียงพากย์ในฟิล์ม กำกับโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล หรือพระนาม ภาณุพันธ์ และ เวตาล ร่วมกับ ครูเนรมิต นักแสดงนำประกอบด้วยนักแสดงไทย และนักแสดงฮ่องกง เพลงประกอบภาพยนตร์ที่ยังมีชื่อเสียงอยู่จนถึงทุกวันนี้ คือเพลง เรือนแพ ประพันธ์คำร้องโดย ชาลี อินทรวิจิตร ทำนองโดย สง่า อารัมภีร ขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร ถือได้ว่าเป็นเพลงประจำตัวของชรินทร์ เลยทีเดียว ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2504 ที่ศาลาเฉลิมไทย ต้อนรับปีใหม่ปี พ.ศ. 2505 และได้นำกลับมาฉายอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2506 สร้างใหม่ครั้งที่สองเมื่อ พ.ศ. 2532 ผลิตโดย ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ภาพยนตร์เรื่องนี้ ประสบความสำเร็จอย่างมากทั้งรายได้และรางวัล จากพิธีมอบรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 ประกาศผลอย่างเป็นทางการ ณ สวนอัมพร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 คือรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม ผู้แสดงประกอบฝ่ายชายยอดเยี่ยม รางวัลออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม และรางวัลบันทึกเสียงยอดเยี่ยม ต่อมา เสด็จพระองค์ชายใหญ่ทรงประทานบทภาพยนตร์ให้นำมาเรียบเรียงดัดแปลงเป็นนวนิยายครั้งแรก ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเรือนแพ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เลือดสุพรรณ

ใบปิดภาพยนตร์ เลือดสุพรรณ (2522) เลือดสุพรรณ เป็นบทละครอิงประวัติศาสตร์ ถูกประพันธ์โดย พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ ถูกแสดงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2479 ละครแบบผสม คือมีทั้งบทพูดแบบละครพูด มีทั้งการรำแบบละครรำ มีเพลงร้องทั้งเพลงไทยเดิม และเพลงไทยสากล เนื้อเรื่องเกี่ยวกับการศึกระหว่างไทยและพม่า โดยมีเนื้อหาปลุกใจให้รักชาติตามนโยบายของนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น คือ พลโทหลวงพิบูลสงคราม โดยเนื้อหาเป็นการประพันธ์ขึ้นมาใหม่จากจินตนาการ โดยมิได้อิงมาจากประวัติศาสตร์หรือพงศาวดารฉบับใดแต่อย่างใดหน้า 3, จากเลือดสุพรรณ ถึงพิษสวาท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเลือดสุพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐา ศิระฉายา

รษฐา ศิระฉายา (ชื่อเล่น ต้อย 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 -) เป็นพิธีกร, นักแสดง และอดีตนักร้องนำวงสตริง ดิอิมพอสซิเบิ้ล เป็นวงสตริงคอมโบที่ประสบความสำเร็จและยังเป็นแรงบันดาลใจให้กับวงดนตรีรุ่นหลังจำนวนมาก ในปี พ.ศ. 2554 เศรษฐาได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล-ขับร้อง) ปัจจุบันเศรษฐายังเป็นประธานมูลนิธิสวัสดิการนักแสดงอาว.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเศรษฐา ศิระฉายา · ดูเพิ่มเติม »

เสือ โจรพันธุ์เสือ

ือ โจรพันธุ์เสือ (Crime King) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2541 โดยเริ่มออกฉายครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเสือ โจรพันธุ์เสือ · ดูเพิ่มเติม »

เสียดาย 2

ียดาย 2 (Daughter 2) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2539 นำแสดงโดย มาริสา แอนนิต้า, สาริน บางยี่ขัน, สรพงษ์ ชาตรี, ญาณี ตราโมท, อรุณโรจน์ เลี่ยมทอง (นักแสดงรับเชิญ) บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเสียดาย 2 · ดูเพิ่มเติม »

เทพ โพธิ์งาม

ทพ โพธิ์งาม มีชื่อจริงว่า สุเทพ โพธิ์งาม เป็นนักแสดงตลก หัวหน้าคณะโพธิ์งามในอดีต มีความสามารถหลายอย่าง เคยแสดงภาพยนตร์หลายเรื่อง และยังเป็นผู้กำกับและเขียนบทภาพยนตร์อีกด้ว.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเทพ โพธิ์งาม · ดูเพิ่มเติม »

เทพธิดาโรงงาน

ทพธิดาโรงงาน เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเทพธิดาโรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

เงาะป่า (ภาพยนตร์)

งาะป่า เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2523 บทภาพยนตร์นั้นดัดแปลงจาก บทพระราชนิพนธ์ ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างโดย ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ร่วมกับอัศวินภาพยนตร์ กำกับการแสดงโดย เปี๊ยก โปสเตอร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล นำแสดงโดย จตุพล ภูอภิรมย์ รับบท ซมพลา,ศศิธร ปิยะกาญจน์ รับบท ลำหับ,ภิญโญ ปานนุ้ย รับบท ฮเนาและ ปู จินดานุช รับบท คนัง โดยมี หม่อมปริม บุนนาค และ คุณเกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เป็นผู้อำนวยการสร้าง ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้จตุพลได้รับรางวัล ตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงนำยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2523 แต่เขามารับรางวัลไม่ได้เนื่องจากเสียชีวิตไปก่อน.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและเงาะป่า (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ

Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ (Home) เป็นภาพยนตร์ไทยแนววีรคติ และดรามา กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล และออกฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2555 ภาพยนตร์ทำรายได้ 16,264,951 บาท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและHome ความรัก ความสุข ความทรงจำ · ดูเพิ่มเติม »

Timeline จดหมาย ความทรงจำ

Timeline จดหมาย ความทรงจำ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวตลก-โรแมนติก-ดราม่า สร้างโดยสหมงคลฟิล์ม กำกับโดย นนทรีย์ นิมิบุตร เป็นภาคต่อของภาพยนตร์เรื่อง เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก ภาพยนตร์ทำรายได้ 51.8 ล้านบาท.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและTimeline จดหมาย ความทรงจำ · ดูเพิ่มเติม »

Together วันที่รัก

Together วันที่รัก ภาพยนตร์สร้างสรรค์จาก.โอเรียลทัล อายส์ ภาพยนตร์ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี นำแสดงโดย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ร่วมด้วย สหรัถ สังคปรีชา, กฤษณ เศรษฐธำรงค์, ปิยธิดา วรมุสิก, นพชัย ชัยนาม, ทองภูมิ สิริพิพัฒน์, โสภิตสุดา อิทธิเมธินทร์ ฯลฯ และขอแนะนำนักแสดง กันต์ชนุตม์ เก่งการค้า (กันต์), และ นภัสสร เอี่ยมเจริญ (ครีม) กำกับภาพยนตร์โดย “ยู - ษรัณยู จิราลักษณ์”.

ใหม่!!: รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมและTogether วันที่รัก · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »