โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมควร กระจ่างศาสตร์

ดัชนี สมควร กระจ่างศาสตร์

มควร กระจ่างศาสตร์ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 13 มกราคม พ.ศ. 2551) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักแสดงอาวุโส ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ละครเวที-นักแสดง ประจำปี..

63 ความสัมพันธ์: บัลลังก์เมฆชื่นชุลมุนชูศรี มีสมมนต์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านสาวโสดบ้านทรายทองพ.ศ. 2463พ.ศ. 2539พ.ศ. 2551พระสุริโยทัยพร้อมสิน สีบุญเรืองพิษสวาทพ่อครัวหัวป่าก์กรุงเทพมหานครกาเหว่าที่บางเพลงฝันเฟื่องมัจจุราชสีน้ำผึ้งมนต์รักลูกทุ่งรัชฟิล์มทีวีรักอุตลุดรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506ร่มฉัตรลูกทาสล้อต๊อกวัยอลวนวงเวียนหัวใจศิลปินแห่งชาติสมชาย อาสนจินดาสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสวลี ผกาพันธุ์สายโลหิตสุรสิทธิ์ สัตยวงษ์สุสานคนเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สงครามเก้าทัพหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณหัวใจเถื่อนหุ่นไล่กาอยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้าอรุณสวัสดิ์อวสานเซลส์แมนผู้ชนะสิบทิศทรชนคนสวยทักษิณ แจ่มผลทัดดาวบุษยาทานตะวันขมิ้นกับปูนดอกดิน กัญญามาลย์...ดาวพระศุกร์คนเริงเมืองตะกายดาวปริศนา (นวนิยาย)ปลาบู่ทองแม่นากพระโขนงโดดเดี่ยวไม่เดียวดายเพื่อเธอเกียรติศักดิ์ทหารเสือเก้าอี้ขาวในห้องแดงเขยบ้านนอก13 มกราคม13 ธันวาคม ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

บัลลังก์เมฆ

ัลลังก์เมฆ เป็นบทประพันธ์โดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ และ ยุทธนา มุกดาสนิท ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์และละครเวทีมาแล้วหลายครั้งด้วยกัน โดยครั้งแรกสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ในปี พ.ศ. 2536 ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย นำแสดงโดย ภัทราวดี มีชูธน, สมบัติ เมทะนี, สรพงษ์ ชาตรี, กรุง ศรีวิไล ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2536 – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ต่อมา บริษัท ซีเนริโอ จำกัด นำกลับมาสร้างเป็นละครเวที ในชื่อ "บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล" กำกับโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, ภาณุเดช วัฒนสุชาติ, กลศ อัทธเสรี เปิดการแสดงแล้ว 3 ครั้ง ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และบัลลังก์เมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่นชุลมุน

ื่นชุลมุน เป็นภาพยนตร์ภาคที่สามในชุดวัยอลวน ที่กำกับโดย เปี๊ยก โปสเตอร์ หลังจากความสำเร็จของ วัยอลวน (2519) และ รักอุตลุด (2520) ภาพยนตร์ภาคนี้ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากกล่าวถึงชีวิตในวัยผู้ใหญ่กว่า 2 ภาคแรก แต่มีเพลงประกอบที่เป็นเพลงฮิต คือเพลง "ยับ" ขับร้องโดย ชัยรัตน์ เทียบเทียม แต่งเนื้อร้องโดย อุดม สัตโกวิท โดยใช้ทำนองเพลง Puff, the Magic Dragon เพลงดังของวง Peter, Paul and Mary.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และชื่นชุลมุน · ดูเพิ่มเติม »

ชูศรี มีสมมนต์

ูศรี มีสมมนต์ หรือ ชูศรี โรจนประดิษฐ์ (พ.ศ. 2472 - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2535) เป็นดาราตลกหญิงอาวุโสที่มีชื่อเสียงรุ่นเดียวกับ ล้อต๊อก,ดอกดิน กัญญามาลย์,สมพงษ์ พงษ์มิตร,ท้วม ทรนง, พูนสวัสดิ์ ธีมากร, มาลี เวชประเสริฐ, สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต และ จุรี โอศิร.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และชูศรี มีสมมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ้านสาวโสด

้านสาวโสด เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และบ้านสาวโสด · ดูเพิ่มเติม »

บ้านทรายทอง

้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ เป็นนวนิยายอมตะเรื่องหนึ่งของวงการวรรณกรรมไทย เขียนโดย ก.สุรางคนางค์ (กัณหา เคียงศิริ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2529) นักประพันธ์ผู้มีชื่อเสียง ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารรายปักษ์ชื่อ "ปิยมิตร" ประมาณปี พ.ศ. 2493 เคยเป็น ละครโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ ได้รับความนิยมสูงตลอดมา สวลี ผกาพันธุ์ มีชื่อเสียงจากบทสาวน้อยถักผมเปีย พจมาน สว่างวงศ์ คนแรกในวงการแสดง จากละครเวทีของคณะอัศวินการละคร ของ เสด็จพระองค์ชายใหญ่ (ภาณุพันธุ์) ที่ ศาลาเฉลิมไท..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และบ้านทรายทอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091 พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัยเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าวรายละเอียดใดมากกว่านี้ ไทยยกย่องว่าเป็นวีรสตรีจากวีรกรรมยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปรในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพระสุริโยทัย · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมสิน สีบุญเรือง

ร้อมสิน สีบุญเรือง หรือ พันคำ (30 เมษายน พ.ศ. 2465 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) นักแสดง นักพากย์ภาพยนตร์ นักแปลบทพากย์ภาพยนตร์ต่างประเทศ ผู้กำกับและผู้สร้างภาพยนตร์ และเป็นผู้ปลุกปั้นนักแสดงจำนวนมากเข้าสู่วงการ รวมทั้ง จารุณี สุขสวัสดิ์ จินตหรา สุขพัฒน์ และนักแสดงในสังกัด สีบุญเรืองฟิล์ม พร้อมสิน เกิดที่บ้านตรอกวัดตรีทศเทพ ใกล้คลองบางลำภู เป็นบุตรของสิน สีบุญเรือง (ทิดเขียว) และนางสาคร สีบุญเรือง จบจากโรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ ถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็งเมื่ออายุ 70 ปี.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพร้อมสิน สีบุญเรือง · ดูเพิ่มเติม »

พิษสวาท

ษสวาท เป็นนวนิยาย บทประพันธ์ของทมยันตี แนวลึกลับสยองขวัญและดราม่า นวนิยายเรื่องนี้ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทยรายสัปดาห์ในเวลานั้น(เกือบ 50 ปีที่แล้วจากปีพ.ศ. 2559) เป็นเรื่องราวความรักข้ามภพของวิญญาณผู้เฝ้าสมบัติแผ่นดินผู้เปี่ยมด้วยความรักและหน้าที่ ทำให้เกิดอาถรรพณ์ต่างๆนานาตามมาด้วยแรงของกฏแห่งกรรมและผลลัพธ์ของการทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ซึ่งอยู่ในแกนของความจงรักภักดีซื่อสัตย์ต่อชาติและแผ่นดิน สุดท้ายก็ลงเอยด้วยปรัชญาที่ว่า รักที่แท้จริง คือการเสียสละและให้อภัย บทประพันธ์เรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์, ละครวิทยุและละครโทรทัศน์มาก่อนปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพิษสวาท · ดูเพิ่มเติม »

พ่อครัวหัวป่าก์

อครัวหัวป่าก์ เป็นบทประพันธ์ของ กนกเรขา ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้งในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และพ่อครัวหัวป่าก์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กาเหว่าที่บางเพลง

ฉากภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2537 กาเหว่าที่บางเพลง เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ ผลงานประพันธ์ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายวัน ช่วงประมาณ..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และกาเหว่าที่บางเพลง · ดูเพิ่มเติม »

ฝันเฟื่อง

ฝันเฟื่อง เป็นละครโทรทัศน์ โดยสร้างจากบทประพันธ์ของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 3 ครั้ง สร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และฝันเฟื่อง · ดูเพิ่มเติม »

มัจจุราชสีน้ำผึ้ง

มัจจุราชสีน้ำผึ้ง เป็นบทประพันธ์ของ อุปถัมภ์ กองแก้ว เจ้าของบทประพันธ์ "ตลาดอารมณ์" เป็นเรื่องราวของความรักก็ไม่เคยรัก แต่ด้วยแรงผลักไสกับความต้องการตอบแทนผู้มีพระคุณ "รจนาไฉน" จึงจำยอมรับหมั้นชายหนุ่มผู้มีนามว่า "ปัทม์ ปัทมกุล" ด้วยความรักและหวงแหนในเกียรติยศ เขาจึงทนไม่ได้เมื่อรู้ความจริงว่า เธอไม่ใช่หญิงสาวที่เขาจะต้องแต่งงานด้วย แต่เธอยอมทอดตัวเข้ามาด้วยมารยาหญิง ดุจเถาไม้เลื้อยที่หวังเกาะเขาเท่านั้น เขาจำต้องรักษาหน้าและศักดิ์ศรีลูกผู้ชาย บทประพันธ์นี้มีการนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ อีกหลายต่อหลายครั้ง บทประพันธ์เรื่องนี้สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง และละครโทรทัศน์แล้วอีก 5 ครั้ง โดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์โดย พันธุ์เทพ อรรถไกวัลวที ถึง 2 ครั้ง ในปี 2517 (สมบัติ เมทะนี และ พิศมัย วิไลศักดิ์) และในปี 2525 (พิศาล อัครเศรณี และ มนฤดี ยมาภัย) และต่อมาสร้างเป็นละคร ในปี 2523 ทางช่อง 5 (สมภพ เบญจาธิกุล และ ธิติมา สังขพิทักษ์), ในปี 2529 ทางช่อง 3 (นิรุตติ์ ศิริจรรยา และ ลินดา ค้าธัญเจริญ), ในปี 2536 ทางช่อง 9 (จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ และ ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี), ในปี 2544 ทางช่อง 7 (นุติ เขมะโยธิน และ ศรุตา เรืองวิริยะ) และในปี 2556 ทางช่อง 3 (ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ และ พิจักขณา วงศารัตนศิลป์).

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และมัจจุราชสีน้ำผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักลูกทุ่ง

มนต์รักลูกทุ่ง เป็นภาพยนตร์ไทยที่สร้างมาจากบทประพันธ์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" ของ รังสี ทัศนพยัคฆ์ โดยใช้นามแฝงว่า "มหศักดิ์ สารากร" โดยมิตร ชัยบัญชา มีส่วนร่วมในเนื้อเรื่องด้วย คู่พระ-นาง คือไอ้คล้าว กับ ทองกวาว รับบทโดย มิตร ชัยบัญชา กับเพชรา เชาวราษฎร์ ส่วนคู่รอง คือแว่น กับบุปผา รับบทโดย ศรีไพร ใจพระ กับบุปผา สายชล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายเมื่อวันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ทำรายได้ถล่มทลายจากทั่วประเทศถึง 13 ล้านบาทและฉายติดต่อกันนาน 6 เดือน ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซียม จนถึงวันที่ 2 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และมนต์รักลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รัชฟิล์มทีวี

รัชฟิล์ม ทีวี (Rush Film TV) เป็นห้างหุ้นส่วนจำกัด ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ และภาพยนตร์โทรทัศน์ของไทยในอดีต เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อราวปี พ.ศ. 2507 ถึงปี พ.ศ. 2540 มีผู้บริหารคือ พันเอก พยุง (พึ่งศิลป์) ฉันทศาสตร์โกศล และ ชาญ มหสรรค์ เริ่มทำธุรกิจการขายอุปกรณ์ถ่ายทำภาพยนตร์ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ "รัชฟิล์ม" และผลิตรายการโทรทัศน์สารคดีท่องเที่ยว ต่อมาได้ติดต่อซื้อภาพยนตร์ชุดจากต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง ญี่ปุ่น เข้ามาฉายทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก(ช่อง 7 ขาว-ดำ, ช่อง 5) รัชฟิล์มเริ่มสร้างภาพยนตร์ชุดระบบฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และรัชฟิล์มทีวี · ดูเพิ่มเติม »

รักอุตลุด

รักอุตลุด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และรักอุตลุด · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

ร่มฉัตร

ร่มฉัตร เป็นละครโทรทัศน์ แนวพีเรียดอิงประวัติศาสตร์เล่าถึงชีวิตของสตรีชื่อ แม้นวาด บนแผ่นดินสมัยรัชกาลที่ 5 - ปัจจุบัน จากบทประพันธ์อันทรงคุณค่าของ ทมยันตี หรือ วิมล เจียมเจริญ นวนิยายเรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 3 ครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2522 ออกอากาศทาง ช่อง 9 นำแสดงโดย สมภพ เบญจาธิกุล, รัชนู บุญชูดวง, ดวงดาว จารุจินดา, สีดา พัวพิมล ครั้งสองในปี พ.ศ. 2538 ออกอากาศทาง ช่อง 3 ผลิตโดย บริษัท ฮูแอนด์ฮู จำกัด บทโทรทัศน์โดย ยิ่งยศ ปัญญา กำกับการแสดงโดย ชูศักดิ์ สุธีรธรรม นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, อภิชาติ พัวพิมล, สินิทรา บุญยศักดิ์, ขวัญฤดี กลมกล่อม, สิริยากร พุกกะเวส, สวิช เพชรวิเศษศิริ ออกอากาศทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.20 - 22.20 เริ่ม 25 กันยายน 2538 - 12 ธันวาคม 2538 ครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2560 ออกอากาศทางช่อง ทรูโฟร์ยู ผลิตโดย อรรถพร ธีมากร บทโทรทัศน์ กำกับการแสดงโดย อรรถพร ธีมากร นำแสดงโดย เขมนิจ จามิกรณ.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และร่มฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ลูกทาส

ลูกทาส (2507) ลูกทาส เป็นวรรณกรรมอมตะอิงประวัติศาสตร์ เป็นผลงานที่โดดเด่นอีกชิ้นหนึ่งของ รพีพร (สุวัฒน์ วรดิลก) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2506 ในหนังสือพิมพ์รายปักษ์ เดลิเมล์วันจันทร์ เล่าถึงชีวิตลูกทาสที่ดิ้นรนต่อสู้จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และ ได้ครองคู่กับหญิงสาวสูงศักดิ์ที่หมายปอง ลูกทาส ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และลูกทาส · ดูเพิ่มเติม »

ล้อต๊อก

ใบปิดภาพยนตร์ ตลกร้องไห้ (2522) ใบปิดภาพยนตร์ แดร๊กคูล่าต๊อก (2522) ใบปิดภาพยนตร์ หลวงตา (2523) ล้อต๊อก มีชื่อจริงว่า สวง ทรัพย์สำรวย (สะ-หฺวง) (1 เมษายน พ.ศ. 2457 — 30 เมษายน พ.ศ. 2545) เป็นนักแสดงตลกและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง พื้นเพเป็นคนบ้านสวน คลองเสาหิน ตำบลท่าพระ อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุ่ม-นางขม มีอาชีพทำสวนผลไม้ หมากพลู มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ล้อต๊อกเป็นคนที่ 3 ชื่อ ล้อต๊อก มาจากการแสดงภาพยนตร์ ใกล้เกลือกินเกลือ รับบทเป็น เสี่ยล้อต๊อก คนจนที่ร่ำรวยขึ้นมาแล้วลืมกำพืดตัวเอง เมื่อ พ.ศ. 2495 ต่อด้วยงานกำกับของ ดอกดิน กัญญามาลย์ แนวตลกชุดสามเกลอ (ล้อต๊อก - สมพงษ์ พงษ์มิตร - ดอกดิน) สามเกลอถ่ายหนัง ปีเดียวกัน และ สามเกลอเจอจานผี ปีถัดมา สมรสครั้งแรกกับ สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย นางเอกละครคณะจันทรโอภาส และเป็นดาราภาพยนตร์ชื่อดัง เมื่อสมจิตต์เสียชีวิตจึงสมรสใหม่อีกหลายครั้ง หลังสุดแต่งงานกับ ชุลีพร ระมาด มีบุตร 1 คนชื่อ "อุ้มบุญ" หรือมงคลชัย ทรัพย์สำรวย ใช้ชีวิตอยู่บ้านที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ก่อนจะเสียชีวิต.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และล้อต๊อก · ดูเพิ่มเติม »

วัยอลวน

วัยอลวน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และวัยอลวน · ดูเพิ่มเติม »

วงเวียนหัวใจ

วงเวียนหัวใจ ครั้งแรกสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และวงเวียนหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สวลี ผกาพันธุ์

วลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ (สกุลเดิม: ฮอฟแมนน์; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทย สวลีมีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 1,500 เพลง และเธอได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง สวลีถือเป็นนักแสดงรุ่นบุกเบิกของวงการภาพยนตร์ไทยยุคฟิล์ม 16 มิลลิเมตร มีผลงานแสดงสร้างชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ดรรชนีนาง รับบทเป็น "ดรรชนี" และเป็นนักแสดงคนแรกที่รับบทเป็น "พจมาน สว่างวงศ์" จากละครเวทีเรื่อง บ้านทรายทอง สวลีเป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 4 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง)..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สายโลหิต

ลหิต เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสารสตรีสาร เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุง ข้าศึกเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะการไม่เตรียมพร้อมและประมาทของพลเมือง ความขัดแย้งสืบเนื่องมาจากความไม่สามัคคี การทำลายฆ่าฟันกันเอง อันเป็นผลให้คนดีมีฝีมือลดน้อยลง เป็นสาเหตุสำคัญที่อาจเป็นอุทาหรณ์สอนใจ ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกครั้ง แม้ว่าจะต่างวาระก็ตาม.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสายโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

รสิทธิ์ สัตยวงศ์ (พ.ศ. 2466 - พ.ศ. 2526) อดีตนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสุรสิทธิ์ สัตยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุสานคนเป็น

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสุสานคนเป็น · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเก้าทัพ

งครามเก้าทัพ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรมราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังวะแล้ว ทำสงครามรวบรวมเมืองเล็กเมืองน้อยรวมถึงเมืองประเทศราชให้เป็นปึกแผ่น แล้วก็ได้ยกกองกำลังเข้ามา โดยมีจุดประสงค์ทำสงครามกับกรุงรัตนโกสินทร์ สงครามครั้งนี้พระเจ้าปดุงได้ยกทัพมาถึง 9 ทัพ รวมกำลังพลมากถึง 144,000 นาย โดยแบ่งการเข้าโจมตีกรุงรัตนโกสินทร์ออกเป็น 5 ทิศทาง.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และสงครามเก้าทัพ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ (26 มกราคม พ.ศ. 2473 - 16 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และสารคดีเกี่ยวชีวิตเจ้านายในวัง เจ้าของนามปากกา "ศรีฟ้า ลดาวัลย์" "สีฟ้า" และ "จุลลดา ภักดีภูมินทร์" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจเถื่อน

หัวใจเถื่อน เป็นบทประพันธ์ของ บุษยมาส เป็นเรื่องราวของครอบครัวพิชิตพงษ์ อดีต รมต.กวี และคุณหญิงอำภา พิชิตพงษ์ มีลูกชายสองคนคือ ภาคย์ และ ภากร แต่ภาคย์กลับไม่ได้รับความรักจากทั้งพ่อและแม่ มีเพียงนมพริ้งและอมาวสีเท่านั้นที่รักภาคย์ อมาวสีสูญเสียพ่อแม่จากอุบัติเหตุ ท่านกวีจึงรับเลี้ยงดูมาตั้งแต่เด็กๆ ภาคย์และอมาสีมีความรักและผูกพันต่อกัน จนวันหนึ่งภาคย์ตัดสินใจหนีออกจากบ้าน ผ่านไปสิบปีไม่มีใครคิดว่าภาคย์ยังมีชีวิตอยู่ จนวันหนึ่ง อมาวสีได้พบกับ ราช รัชภูมิ ชายหนุ่มที่ดูคล้ายภาคย์มาก แต่ทว่าเขากลับปฏิเสธแข็งขัน จนวันที่อมาวสีถูกบังคับให้แต่งงานกับภากรนั่นเอง ราชวางแผนลักพาตัวเธอไปไว้ยังบ้านไร่ ทั้งนี้เพื่อแก้แค้นคนในตระกูลพิชิตพงษ์ หรืออาจเป็นเพราะเค้าไม่อยากสูญเสียอมาวสีให้กับภากร หัวใจเถื่อน ถูกนำมาสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และหัวใจเถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นไล่กา

หุ่นไล่กา กลางนาข้าวในประเทศญี่ปุ่น หุ่นไล่กา เป็นหุ่นสร้างขึ้นเลียนแบบมนุษย์ ปักไว้ในนา เพื่อให้นกที่จะมาจิกกินพืชผลตกใจกลัว โดยมากจะทำจากฟางข้าว หุ่นไล่กาในแต่ละท้องถิ่นมีลักษณะการสร้างที่แตกต่างกันไป แต่โดยมากมีลักษณะร่วมกันคือ รูปร่างคล้ายคน มีแขน ขา ศีรษะ คล้ายคนจริง อาจจะสวมหมวกฟางเก่าที่ไม่ใช้แล้ว ที่แขนทั้งสองข้างขยับได้เมื่อโดนลมพัด ทำให้นกตกใจกลัว ไม่กล้าเข้ามา หุ่นหรืออุปกรณ์แบบอื่นที่สร้างขึ้นเพื่อไล่นกในนา หรือในทุ่งไร่ ก็นิยมเรียกว่าหุ่นไล่กา เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน พื้นที่ทำนาลดน้อยลง และศัตรูพืชมีมากขึ้น การสร้างหุ่นไล่กาเพื่อจุดประสงค์ดังกล่าวจึงไม่ค่อยปรากฏ เว้นแต่จะสร้างขึ้นเพื่อความสนุกสนาน เป็นงานอดิเรก หรือประโยชน์อย่างอื่น หมวดหมู่:เกษตรกรรม หมวดหมู่:ศิลปะ.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และหุ่นไล่กา · ดูเพิ่มเติม »

อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า

อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า สร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ และ กำกับการแสดงโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ ออกอากาศเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2538 ถึง 22 กันยายน พ.ศ. 2538 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 มีเพลงประกอบละครคือเพลง หน้าที่กับความรัก โดย สุรสีห์ อิทธิกุล ซึ่งมีการลอกทำนองเพลงมาจาก Yuen Nei Gam Ye Bit Lei Hui ที่ขับร้องโดยหลี่หมิง ประกอบภาพยนตร์ชุดเรื่อง "เทพบุตรผู้พิชิต" และ อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า โดย ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และอยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

อรุณสวัสดิ์

อรุณสวัสดิ์ เป็นบทประพันธ์ของ จุลลดา ภักดีภูมินทร์ สร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2535 สร้างโดยบริษัท กันตนา นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ และ วิชชุดา สวนสุวรรณ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 ละครเรื่องนี้ได้รับความนิยม และที่ได้รับความนิยมก็คือเพลงประกอบละครที่ขับร้องโดย พิสุทธิ์ ทรัพย์วิจิตร และ วทัญญู มุ่งหมาย ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และอรุณสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อวสานเซลส์แมน

อวสานเซลส์แมน (Death of a Salesman) เป็นบทละคร ผลงานประพันธ์ของอาร์เธอร์ มิลเลอร์ เมื่อปี พ.ศ. 2492 และได้รางวัลพูลิตเซอร์ และรางวัลโทนี ในปีนั้น บทละครกล่าวถึงชีวิตของวิลลี่ โลแมน เซลส์แมนที่ต้องวิ่งหาลูกค้า เพื่อความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ยอมทำทุกอย่างแม้กระทั่งการโกหกพกลม แต่แล้วในที่สุดก็ต้องยอมพ่ายแพ้ต่อโชคชะตาด้วยความขมขื่น โลแมนกอบกู้ศักดิ์ศรีของตัวเองโดยการฆ่าตัวตาย เพื่อการยอมรับจากลูกเมียของตัวเอง อวสานเซลส์แมน ได้รับการยกย่องว่าเป็นละครแห่งยุค มิลเลอร์สามารถสะท้อนสภาพสังคม และความฝันของคนอเมริกันชนได้อย่างถึงแก่น และเป็นผลงานชิ้นเอกของมิลเลอร์ ถูกนำมาแสดงเป็นละครเวที และภาพยนตร์หลายครั้ง.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และอวสานเซลส์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ชนะสิบทิศ

หน้าปกนวนิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ ฉบับตีพิมพ์ปี พ.ศ. 2496 ผู้ชนะสิบทิศ เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ งานประพันธ์ชิ้นเอกของ ยาขอบ กล่าวถึงเรื่องราวของนักรบผู้หนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็น "ผู้ชนะสิบทิศ" นั่นคือ พระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุงหงสาวดี นวนิยายได้รับความนิยมมากและดัดแปลงเป็นละครเวที ละครโทรทัศน์ และ ภาพยนตร์ หลายครั้ง ตลอดจน ละครวิทยุ รวมถึงมีการประพันธ์เพลง ผู้ชนะสิบทิศ ซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายด้ว.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และผู้ชนะสิบทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ทรชนคนสวย

ทรชนคนสวยภาพยนตร์ไทยแนวสายลับผจญภัย ระบบ 35 มม.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และทรชนคนสวย · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ แจ่มผล

ทักษิณ แจ่มผล หรือ ทิวา แจ่มผล อดีตดาราทั้งดาวดี ดาวร้ายและผู้กำกับชาวไทย เกิดวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และทักษิณ แจ่มผล · ดูเพิ่มเติม »

ทัดดาวบุษยา

ทัดดาวบุษยา และ ทัดดาว - ยอดขวัญ เป็นบทประพันธ์ของ ชอุ่ม ปัญจพรรค์ เคยพิมพ์รวมเล่มมาแล้วหลายครั้ง เช่น สำนักพิมพ์ผดุงศึกษา ฯลฯ เป็นเรื่องราวของทัดดาว หญิงสาวที่โตมาโดยที่แม่พร่ำสอนให้เธอเกลียดพ่อ และทุกคนในบ้านบุษยา ชะตาชีวิตของเธอหักเหเมื่อแม่ของเธอติดหนีการพนันทำให้เธอต้องแต่งงานกับชายรุ่นราวคราวพ่อ เรื่องวุ่นวายจึงเกิดขึ้นเมื่อทัดดาวหนีการแต่งงาน ทัดดาวรู้ความจริงว่าพ่อของเธอเสียชีวิตเธอจึงตั้งใจจะไปทวงสิทธิ์อันชอบธรรมของเธอคืนในบ้านบุษยาเธอต้องเดินทางไปกับเจ้ายอดขวัญผู้ชายที่เธอเกลียดและตราหน้าเธอเป็นผู้หญิงชั้นต่ำ จากความเกลียดกลายเป็นความผูกพัน จากความผูกพันกลายเปลี่ยนเป็นความรักในที่สุด ทัดดาวบุษยา ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วหลายครั้ง โดยครั้งแรก ในรูปแบบภาพยนตร์นำแสดงโดย เกศริน ปัทมวรรณ กับ ฤทธี นฤบาล ออกฉายเมื่อปี 2503 นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์อีกครั้งในปี 2524 นำแสดงโดย เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ กับ จตุพล ภูอภิรมย์ และต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครครั้งแรก ในปี 2519 ทางช่อง 9 (ภิญโญ ทองเจือ กับ กรรณิกา ธรรมเกษร) ในปี 2530 ทางช่อง 5 (ยุรนันท์ ภมรมนตรี กับ อาภาพร กรทิพย์) ในปี 2540 ทางช่อง 7 (เอกรัตน์ สารสุข กับ สุวนันท์ คงยิ่ง) ในปี 2547 ทางช่อง 5 (ณัฐพล เดชะปัญญา กับ มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล) ในปี 2553 ทางช่อง 3 (ทฤษฎี สหวงษ์ กับ วรกาญจน์ โรจนวัชร).

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และทัดดาวบุษยา · ดูเพิ่มเติม »

ทานตะวัน

ทานตะวัน มีชื่อตามภาษาถิ่นพายัพว่า บัวผัด เป็นพืชปีเดียว (annual plant) อยู่ในแฟมิลี Asteraceae มีฐานรองกลุ่มดอก (Inflorescence) ขนาดใหญ่ ลำต้นโตได้สูงถึง 3 เมตร ฐานรองกลีบดอกอาจกว้างได้ถึง 30 เซนติเมตร ชื่อ"ทานตะวัน"ถูกใช้อ้างอิงถึงพืชทั้งหมดในสกุล Helianthus ด้วยเช่นกัน ทานตะวัน เป็นพืชท้องถิ่นของอเมริกากลาง มีหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามีการปลูกดอกทานตะวันในประเทศเม็กซิโกตั้งแต่ประมาณ 2600 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และทานตะวัน · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้นกับปูน

มิ้นกับปูน เป็นนวนิยายของ จุลลดา ภักดีภูมินทร์ นามปากกาของหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ สร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้ง และละครโทรทัศน์ 4 ครั้ง.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และขมิ้นกับปูน · ดูเพิ่มเติม »

ดอกดิน กัญญามาลย์

นกน้อย (2507) เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่รายได้เกินหนึ่งล้านบาท ดอกดิน กัญญามาลย์ (25 ตุลาคม พ.ศ. 2467 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) ชื่อเล่น ดินนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิปประจำปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และดอกดิน กัญญามาลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพระศุกร์

นตร์ ดาวพระศุกร์ (2509) ภาพยนตร์ ดาวพระศุกร์ (2524) ภาพยนตร์ ดาวพระศุกร์ (2537) ละคร ดาวพระศุกร์ 2545 ดาวพระศุกร์ เป็นบทประพันธ์ของ ข. อักษราพันธ์ (นามปากกาของ ม.ล.ศรีทอง ลดาวัลย์) บทประพันธ์นี้ประพันธ์ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และดาวพระศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

คนเริงเมือง

นเริงเมือง เป็นนวนิยายเรื่องหนึ่งของ สุวรรณี สุคนธา ซึ่งถ่ายทอดชีวิตของพริ้ง ตัวเอกของเรื่องได้อย่างมีอรรถรสและอรรถศิลป์ ชีวิตของพริ้งซึ่งเต็มไปด้วยกิเลสตัณหา โดยไม่เคยสนใจความรู้สึกของคนอื่น ถูกเปรียบเทียบกับช้อยพี่สาวแท้ ๆ ซึ่งทั้งชีวิตมีแต่คำว่าให้ และคิดถึงความรู้สึกของคนอื่นก่อนเสมอ นอกจากนี้ เนื้อเรื่องยังเกี่ยวพันกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ผู้อ่านได้เห็นภาพชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนค่านิยมของคนในสมัยนั้น นวนิยายเรื่องนี้ดัดแปลงเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายรอบ ครั้งที่5 ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และคนเริงเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ตะกายดาว

ตะกายดาว เป็น ละครซิตคอมเรื่องแรกของแกรมมี่ สร้างสรรค์โดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ และ ยุทธนา มุกดาสนิท ในนาม "มาสเตอร์แพลน" โดยเป็นเรื่องราวของบริษัทรับจัดหานักแสดง ซึ่งมีผู้คนจากหลากหลายสถานะและอาชีพเข้ามาไต่ฝันเพื่อความเป็น "ดารา" ละครเรื่องนี้ได้รับการกล่าวขานจากยุทธนา มุกดาสนิท ผู้ร่วมสร้างเรื่องนี้ว่าเป็นละครโทรทัศน์รูปแบบ "ซีทรู" กล่าวคือเป็นงานสร้างละครอย่างทะลุปรุโปร่งและสมจริง ทั้งในแง่เนื้อหาสาระ ฉาก เทคนิค และการสะกดอารมณ์ผู้ชม ถือเป็นมิติใหม่ของวงการละครไทยในขณะนั้น ลักษณะการถ่ายทำใช้โรงถ่าย (Studio) ตลอดเรื่อง.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และตะกายดาว · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา (นวนิยาย)

ปริศนา เป็นนวนิยายประพันธ์โดย ว. ณ ประมวญมารค (นามปากกาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต) จับใจความช่วงยุคปลายรัชกาลที่ 8 ถึงต้นรัชกาลที่ 9 โดยนิยายในชุดมีอีก 2 เรื่องที่เนื้อหาเกี่ยวเนื่องกัน คือ เจ้าสาวของอานนท์ และรัตนาวดี.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และปริศนา (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว, ร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง โดยเชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลลา ในปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และปลาบู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

โดดเดี่ยวไม่เดียวดาย

ี่ยวไม่เดียวดาย เป็นละครแนวคอมเมดี้-ดราม่า จากค่าย เอ็กแซ็กท์ สร้างจากเค้าโครงเรื่องของ อิสริยะ จารุพันธ์, ทองขาว ทวีปรังษีนุกูล บทโทรทัศน์ ทองขาว ทวีปรังษีนุกูล กำกับการแสดงโดย อิสริยะ จารุพันธ์ ออกอากาศวันศุกร์-วันเสาร์-วันอาทิตย์ ในปี พ.ศ. 2542 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 5 นักแสดงนำ เกริกพล มัสยวานิช, พิยดา อัครเศรณี, เอกชัย เอื้อสังคมเศรษ.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และโดดเดี่ยวไม่เดียวดาย · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อเธอ

ื่อเธอ เป็นละครโทรทัศน์ไทย ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด สร้างจากเค้าโครงเรื่องโดย กษิดินทร์ แสงวงศ์, ถกลเกียรติ วีรวรรณ ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2537 (ช่อง 5) และ พ.ศ. 2559 (ช่องวัน) ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และเพื่อเธอ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ทหารเสือ

แขนมอบถวายทรงธรรม์ เทอดหล้า (ภาพประกอบจาก ดุสิตสมิต) เกียรติศักดิ์ทหารเสือ เป็นเพลงประกอบละครเวทีเรื่อง "เกียรติศักดิ์ทหารเสือ" ของ ศักดิ์เกษม หุตาคม หรือ "อิงอร" เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และเกียรติศักดิ์ทหารเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เก้าอี้ขาวในห้องแดง

นวนิยายที่มีชื่อเสียงที่สุดเรื่องหนึ่งของ สุวรรณี สุคนธา ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร ลลนา ฉบับปฐมฤกษ์ ได้รับการตีพิมพ์รวมเล่มครั้งที่ 1 เมื่อปี..

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และเก้าอี้ขาวในห้องแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขยบ้านนอก

้านนอก เป็นละครแนวคอมเมดี จากบทประพันธ์ของ เพ็ญแข วงศ์สง่า ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 ถึง 2 ครั้ง.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และเขยบ้านนอก · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมควร กระจ่างศาสตร์และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »