โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มาโนช เสนาชู

ดัชนี มาโนช เสนาชู

นายมาโนช เสนาชู อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดนครศรีธรรมราช จากพรรคคนขอปลดหนี้ เป็น..คนเดียวในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2549 ที่ไม่ได้สังกัดพรรคไทยรักไท.

20 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2512พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคมาตุภูมิพรรคความหวังใหม่พรรคคนขอปลดหนี้พรรคไทยรักไทยพฤษภาทมิฬการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศามหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยเกริกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอำเภอชะอวดอำเภอหัวไทรอำเภอปากพนังอำเภอเชียรใหญ่จังหวัดนครศรีธรรมราชคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเลือกที่จะไม่เลือก

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมัชฌิมาธิปไตย

รรคมัชฌิมาธิปไตย (Neutral Democratic Party; ชื่อเดิม: พรรคมัชฌิมา) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งโดยกลุ่มมัชฌิมา ซึ่งนำโดยนางอนงค์วรรณ เทพสุทิน (ภรรยานายสมศักดิ์ เทพสุทิน) และกลุ่มนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช มีนโยบายรวม 42 ข้อ โดยนโยบายหลัก ๆ ได้แก่ ขุดบ่อน้ำทั้งประเทศ 9 ล้านบ่อ, ลดค่าโดยสารรถไฟฟ้าตลอดสาย เหลือเพียง 15 บาทเป็นระยะเวลา 10 ปี, ประกันราคาพืชผลทางการเกษตรในราคาที่สูง, เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี เพื่อสำหรับการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 ในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2551 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้มีมติให้นายประชัยพ้นจากตำแหน่งหัวหน้าพรรค เนื่องจากวินิจฉัยว่า การยื่นใบลาออกของนายประชัยตั้งแต่วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2550 และในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน ที่ประชุมของพรรคได้มีมติให้ นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน เป็นหัวหน้าคนใหม่สืบไป รวมทั้งได้เปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารพรรค โดยมีทั้งหมด 14 คน แต่ยังคงนโยบายเดิม รวมทั้งเปลี่ยนที่ทำการพรรคใหม่จาก ชั้น 10 อาคารทีพีไอทาวเวอร์ ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นเลขที่ 131 ถนนขาว แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร อันเป็นที่ตั้งเดิมของกลุ่มมัชฌิม.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพรรคมัชฌิมาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมาตุภูมิ

รรคมาตุภูมิ (Matubhum Party) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพรรคมาตุภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคนขอปลดหนี้

รรคคนขอปลดหนี้ (เดิมชื่อ พรรคไทยเป็นไทhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/D/081/78.PDF) เป็นพรรคการเมือง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพรรคคนขอปลดหนี้ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหาร รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารกับประชาชนผู้ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก (พลเอกสุจินดาแถลงว่ามีผู้เสียชีวิต 40 คน บาดเจ็บ 600 คน) และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เหตุการณ์ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ โดยมีหัวหน้าคณะคือ พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในขณะนั้นภายหลังการรัฐประหารได้เลือกนาย อานันท์ ปันยารชุน เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีและได้ร่างรัฐธรรมนูญจนมีการเลือกตั้งผลปรากฏว่านายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรคสามัคคีธรรมที่ตั้งขึ้นและได้รับการสนับสนุนจากบุคคลในคณะ ร. ได้คะแนนมากที่สุด แต่สุดท้ายไม่สามารถดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีได้เนื่องจากถูกรัฐบาลสหรัฐขึ้นบัญชีดำจากความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ทำให้ พล.อ.สุจินดา ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งเป็นการตระบัดสัตย์ที่เคยกล่าวไว้ว่าจะไม่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนได้รับฉายา "เสียสัตย์เพื่อชาติ" จากสื่อมวลชนในเวลาต่อมา จากผลดังกล่าว ทำให้ประชาชนหลายส่วนไม่พอใจการขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีของพล.อ.สุจินดา ซึ่งขัดกับหลักประชาธิปไตย จนนำไปสู่การประท้วงทั้งการอดอาหาร การเดินขบวน และการชุมนุมในสถานที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ ทำให้รัฐบาลพล.อ.สุจินดาใช้คำสั่งสลายการชุมนุม เกิดการปะทะขึ้น มีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงรับสั่งให้พลเอกสุจินดา คราประยูรและพลตรีจำลอง ศรีเมืองเข้าเฝ้า โดยทรงพระราชทานพระราชดำรัสแก่คณะผู้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ซึ่งได้มีการเผยแพร่ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย หลังจากนั้นอีก 4 วัน พล.อ.สุจินดา จึงได้ประกาศลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี และนายอานันท์ ปันยารชุน ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ก่อนการเลือกตั้งในเวลาต่อมา การชุมนุมในครั้งนี้ยังเป็นการชุมนุมที่ผู้ประท้วงมีโทรศัพท์มือถือใช้สื่อสารจนถูกเรียกว่าเป็น "ม็อบมือถือ" และรวมถึงการเรียกชื่อฝั่งพรรคซึ่งแตกออกเป็น 2 ฝั่งจากผู้สื่อข่าว โดยเรียกฝั่งพรรคที่เข้าไปทางรัฐบาลของพล.อ.สุจินดา ว่า "พรรคมาร" ส่วนฝั่งพรรคที่คัดค้านการมีอำนาจของพล.อ.สุจินดา เรียกว่า "พรรคเทพ".

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและพฤษภาทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย แถลงข่าวในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ถึงการคว่ำบาตรการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา

กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา นักการเมืองชาวไทย ผู้มีหลายชื่อ และหลายพรรคการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุโขทัย (ส.ส.สุโขทัย) พรรคกิจสังคมและพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันมีอาชีพเป็นที่ปรึกษาบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง และประกอบธุรกิจส่วนตัว.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและกุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกริก

มหาวิทยาลัยเกริก เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา ตั้งอยู่ที่ หลักสี่ ถนนรามอินทรา กม.1 กรุงเทพ เปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2495 จัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษาเมื่อปี..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและมหาวิทยาลัยเกริก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชะอวด

อวด เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและอำเภอชะอวด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหัวไทร

อำเภอหัวไทร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและอำเภอหัวไทร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากพนัง

อำเภอปากพนัง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและอำเภอปากพนัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเชียรใหญ่

อำเภอเชียรใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและอำเภอเชียรใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

ณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. (National Peace Keeping Council - NPKC) เป็นคณะนายทหารที่ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำโดย พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก, พลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ คณะ ร. ให้เหตุผลในการยึดอำนาจว.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เลือกที่จะไม่เลือก

ัตรลงคะแนน "เลือกที่จะไม่เลือก" เลือกที่จะไม่เลือก หรือชื่อในการประชาสัมพันธ์ว่า vote no vote เป็นการรณรงค์ให้ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งไปใช้สิทธิโดยไม่เลือกผู้ใดเป็นตัวแทน (กากากบาทในช่อง "ไม่ออกคะแนนเสียง") เพื่อส่งสัญญาณให้พรรคการเมืองและนักการเมือง พิถีพิถันในการเสนอบุคคลและนโยบายมากขึ้น นับเป็นปฏิบัติการทางการเมืองของภาคประชาชน เพื่อเพิ่มอำนาจของประชาชนในการเลือกตั้งและทางการเมือง การรณรงค์เลือกที่จะไม่เลือกสำหรับการเลือกตั้งในประเทศไทยนั้น มีหลักฐานว่าเริ่มมาอย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ. 2543 แต่การเลือกตั้งครั้งที่คะแนนเสียงไม่เลือกมีผลอย่างชัดเจนนั้น คือการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 ซึ่งในหลายเขตเลือกตั้ง โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานครและภาคใต้ (ประเทศไทย คะแนน "ไม่เลือก" มีสูงกว่าคะแนนของผู้สมัครที่ได้คะแนนเป็นอันดับหนึ่ง ก่อให้เกิดคำถามถึงความชอบธรรมและความสง่างามของตำแหน่งผู้แทนราษฎร และในเขตที่มีผู้สมัครรายเดียวบางเขต คะแนน "ไม่เลือก" ก็ทำให้ต้องมีการเลือกตั้งใหม่ เนื่องจากผู้สมัครรายเดียวนั้น ได้คะแนนไม่ถึง 20% ของผู้มาใช้สิทธิ์ทั้งหมด ตามกำหนดของกฎหมายเลือกตั้ง.

ใหม่!!: มาโนช เสนาชูและเลือกที่จะไม่เลือก · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »