โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มาร์กาเรต แทตเชอร์

ดัชนี มาร์กาเรต แทตเชอร์

มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ. 24688 เมษายน พ.ศ. 2556) นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2533 และเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึงปี พ.ศ. 2533 โดยเป็นผู้หญิงคนแรก ที่ดำรงทั้งสองตำแหน่งพร้อมกันในประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร บารอนเนสแทตเชอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรเป็นเวลายาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดซอลส์เบอรี และอยู่ในตำแหน่งติดต่อกันยาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดลิเวอร์พูล นายกรัฐมนตรีในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นสตรีคนแรกที่นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากของสหราชอาณาจักร และเป็นสตรีคนแรกของเพียงสามคนที่ได้ดำรงหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญของประเทศ หลังจากการเกษียณตัวเองจากการเมืองในปี..

41 ความสัมพันธ์: บารอนพ.ศ. 2464พ.ศ. 2468พ.ศ. 2487พ.ศ. 2489พ.ศ. 2493พ.ศ. 2495พ.ศ. 2518พ.ศ. 2522พ.ศ. 2533พ.ศ. 2536พ.ศ. 2547พ.ศ. 2556พรรคอนุรักษนิยมพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2522การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2526การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2530มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดรัฐบาลเงารายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรลอนดอนลัทธิแทตเชอร์สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักรสภาขุนนางสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหภาพแรงงานสหราชอาณาจักรสาธารณสุขสาธารณูปโภคสงครามฟอล์กแลนด์ฮาโรลด์ วิลสันผลิกศาสตร์จอห์น เมเจอร์ประเทศอังกฤษเจมส์ คัลลาฮานเดอะไรต์ออนะระเบิล13 ตุลาคม28 พฤศจิกายน4 พฤษภาคม8 เมษายน

บารอน

รอน (Baron) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางที่ใช้กันในยุโรป ซึ่งในระบบบรรดาศักดิ์ของสหราชอาณาจักร บารอน อยู่ในลำดับล่างสุดต่ำกว่าไวเคานต์ สำหรับขุนนางที่เป็นสตรี จะเรียกว่า บารอเนส (Baroness) ซึ่งเขตการปกครองในอำนาจของบารอนตามระบบเจ้าขุนมูลนาย ได้ถูกยกเลิกไปแล้วในปัจจุบันแต่ยังคงสืบตระกูลได้อยู่ ในสมัยกลาง บารอนเป็นผู้ที่ได้รับตำแหน่งการปกครองโดยตรงจากพระมหากษัตริย์เพื่อปกครองดินแดน และจะต้องส่งบรรณาการเป็นกองกำลังทหารและอัศวิน เพื่อช่วยรบในนามของกษัตริย์ ในปัจจุบัน สหราชอาณาจักรได้มีการเพิ่มบรรดาศักดิ์ที่ไม่สามารถสืบตระกูลได้ "Non-hereditary life peers" ซึ่งผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจะอยู่ในตำแหน่ง บารอน เช่นกัน และนอกจากนี้ บารอน ยังใช้เรียกบุตรชายคนแรกที่เกิดจากบิดาที่เป็นตำแหน่ง เอิร์ล โดยอนุโลม.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และบารอน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนุรักษนิยม

รรคอนุรักษนิยม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพรรคอนุรักษนิยม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)

รรคอนุรักษนิยม (Conservative Party) หรือชื่อเดิมว่า พรรคอนุรักษนิยมและสหภาพนิยม คือพรรคการเมืองกลาง-ขวาในสหราชอาณาจักรที่ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของลัทธิอนุรักษนิยมและลัทธิการรวมชาติบริเตน ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักรโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในรัฐสภาจำนวน 330 คน สมาชิกสภาท้องถิ่นทั่วประเทศ 9,391 คน และเป็นพรรคการเมืองจากสหราชอาณาจักรที่มีที่นั่งในรัฐสภายุโรปมากที่สุดจำนวน 25 ที่นั่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นรัฐบาลเสียงข้างมากในสภาสามัญชนโดยมีหัวหน้าพรรคคือนางเทเรซา เมย์ เป็นนายกรัฐมนตรี พรรคมักถูกเรียกขานว่า พรรคขุนนาง (Tory Party) หรือ พวกขุนนาง (Tories) พรรคอนุรักษนิยมก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และพรรคอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2522

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2530

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเงา

รัฐบาลเงา (Shadow Government) หรือ คณะรัฐมนตรีเงา (Shadow Cabinet) คือกลุ่มนักการเมืองอาวุโสที่เป็นกระบอกเสียงของฝ่ายค้าน ซึ่งในระบบการเมืองอังกฤษที่เรียกว่า ระบบเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งอยู่ภายใต้การนำของผู้นำฝ่ายค้าน ที่ได้รวมตัวกันตั้งตนเป็น รัฐมนตรีเงา ประกบรัฐมนตรีตัวจริงของรัฐบาล และเมื่อฝ่ายพรรคฝ่ายค้านมีโอกาสได้เป็นรัฐบาล รัฐมนตรีเงามักได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี ทำหน้าที่ความรับผิดชอบของรัฐมนตรีเงา คือการทำหน้าที่วิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลและรัฐมนตรีจริง การออกหรือการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวนโยบายทางเลือกต่าง ๆ ต่อสาธารณ.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และรัฐบาลเงา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิแทตเชอร์

ลัทธิแทตเชอร์ (Thatcherism) อธิบายนโยบายการเมืองที่ยึดค่านิยม (conviction politics) นโยบายเศรษฐกิจ สังคมและลีลาการเมืองของนักการเมืองพรรคอนุรักษนิยมบริติช มาร์กาเรต แทตเชอร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคดังกล่าวระหว่างปี 2518 ถึง 2533 นอกจากนี้ยังใช้อธิบายความเชื่อของรัฐบาลบริติชที่แทตเชอร์เป็นนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ปี 2522 ถึง 2533 และถัดมาในรัฐบาลจอห์น เมเจอร์, โทนี แบลร์และเดวิด แคเมอรอน ผู้อธิบายหรือผู้สนับสนุนลัทธิแทตเชอร์เรียกว่า แทตเชอร์ไรต์ (Thatcherite) ลัทธิแทตเชอร์มีลักษณะของการปฏิเสธอย่างเด็ดขาดเป็นระบบและการย้อนการเห็นพ้องหลังสงคราม (post-war consensus) ซึ่งพรรคการเมืองใหญ่ส่วนมากตกลงกันเรื่องแก่นกลางของเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์ รัฐสวัสดิการ อุตสาหกรรมที่เป็นของรัฐ และการกำกับเศรษฐกิจแบบปิด โดยมีข้อยกเว้นสำคัญหนึ่ง คือ ราชการสุขภาพแห่งชาติ (National Health Service) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เธอสัญญาชาวบริเตนในปี 2525 ว่าเอ็นเอชเอส "ปลอดภัยในมือเรา" ทั้งคำที่แท้จริงซึ่งประกอบขึ้นเป็นลัทธิแทตเชอร์ตลอดจนมรดกเฉพาะของมันในประวัติศาสตร์บริเตนตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมาเป็นที่ถกเถียง ในแง่ของอุดมการณ์ ไนเจล ลอว์สัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของแทตเชอร์ตั้งแต่ปี 2526 ถึง 2532 อธิบายว่าลัทธิแทตเชอร์เป็นแนวนโยบายการเมืองซึ่งเน้นตลาดเสรีที่จำกัดรายจ่ายภาครัฐและการลดหย่อนภาษีร่วมกับชาตินิยมบริติชทั้งในประเทศและต่างประเทศ เดอะเดลีเทเลกราฟ แถลงในเดือนเมษายน 2551 ว่าโครงการของรัฐบาลบริติชที่มิใช่พรรคอนุรักษนิยม คือ รัฐบาลโทนี แบลร์ที่เน้น "แรงงานใหม่" นั้นโดยพื้นฐานยอมรับมาตรการปฏิรูปกลางของลัทธิแทตเชอร์ เช่น การลดการบังคับ (deregulation) การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนซึ่งอุตสาหกรรมของชาติสำคัญ การคงตลาดแรงงานที่ยืดหยุ่น การกีดกันสหภาพแรงงาน และการรวบอำนาจจากองค์การท้องถิ่นสู่รัฐบาลกลาง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางเศรษฐศาสตร์ หมวดหมู่:ทฤษฎีอิสรนิยม หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และลัทธิแทตเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร

มัญชน (House of Commons) เป็นสภาล่างในรัฐสภาแห่งอังกฤษ ประกอบไปด้วยสมาชิกสภาสามัญชน หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อันมาจากการเลือกตั้งทุกห้าปี ในปัจจุบันมีสมาชิกสภาจำนวน 650 ที่นั่ง จากการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 โดยมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี การประชุมสภาร่วมฯ จัดขึ้นที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ปัจจุบันสภาสามัญชนมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับสภาขุนนาง (House of Lords) อันเป็นสภาสูง ซึ่งมีบทบาทน้อยลงเมื่อเทียบกับอดีต โดยบทบาทของสภาสามัญชนนั้นเพิ่มขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่างครั้งแรกเมื่อปี 1911 จากการตรา "พระราชบัญญัติรั..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสภาสามัญชนแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สภาขุนนาง

นนาง (House of Lords) เป็น สภาสูงในรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยขุนนางมีบรรดาศักดิ์จำนวนเจ็ดถึงแปดร้อยคน ทุกคนมาจากการแต่งตั้งและสืบตระกูล ทำหน้าที่ร่วมกับกับสภาสามัญชนซึ่งเป็นสภาล่างซึ่งมีสมาชิกทั้งหมดจากการเลือกตั้ง สภาขุนนางจะแยกเป็นอิสระจากสภาสามัญชน โดยมีอำนาจถ่วงดุลและตรวจสอบการทำงานของรัฐสภา โดยเฉพาะการพิจารณาเพื่อผ่านร่างกฎหมาย โดยสภาขุนนางมีอำนาจที่จะระงับการบังคับใช้กฎหมายได้ในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้รัฐบาล สภาสามัญชน และประชาชนร่วมกันพิจารณาถึงความจำเป็นของร่างกฎหมายนั้นๆอย่างรอบคอบ สภาขุนนางยังมีหน้าที่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ และป้องกันมิให้มีกฎหมายใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งในประเทศอื่นๆ จะมีศาลรัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่แทน สภาชิกสภาขุนนางแบ่งเป็นสี่ประเภท คือ.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสภาขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพแรงงาน

หภาพแรงงาน (Labour Union หรือ Labor Union) คือการรวมตัวกันของกลุ่มลูกจ้างโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้มีการดำเนินการตาม หรือเปลี่ยนแปลงข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง เมื่อประมาณหลายปีที่แล้ว สหภาพแรงงานได้ถือกำเนิดขึ้นและได้พัฒนาไปในรูปแบบที่แตกต่างกัน เนื่องจากบริบททางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ ดังนี้จึงส่งผลให้วัตถุประสงค์ และกิจกรรมหลักของสหภาพแรงงานจึงแตกต่างกันไปด้วย อย่างไรก็ตามอาจสรุปหน้าที่หลักของสหภาพแรงงานได้ดังนี้.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสหภาพแรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณสุข

รณสุข คือศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร คำว่าสุขภาพนั้นมีนิยามและจัดการในลักษณะต่างๆ กันจากหน่วยงานต่างๆ สำหรับองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานและเฝ้าระวังโรคทั่วโลก ได้นิยามคำว่า สุขภาพ ไว้ว่า "สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความแข็งแรงทางกายเท่านั้น" ประชากรที่กล่าวไว้ข้างต้นอาจมีเพียงน้อยนิด หรือปริมาณมหาศาลในระดับทวีปก็ได้ สาธารณสุขมีด้วยกันหลายสาขาย่อย แต่โดยทั่วไปจะแบ่งเป็นหมวดต่างๆ ได้แก่ ระบาดวิทยา (epidemiology), ชีวสถิติ (biostatistics) และบริการสุขภาพ (health services) นอกจากนี้แล้ว สุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม เชิงสังคม และเชิงพฤติกรรม รวมทั้งสุขภาพเชิงอาชีพ ก็เป็นสาขาที่สำคัญของสาธารณสุขด้ว.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสาธารณสุข · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณูปโภค

รณูปโภค คือ บริการสาธารณะที่จัดทำเพื่ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา การเดินรถประจำทาง โทรศัพท์ ในสหรัฐอเมริกา คำว่าสาธารณูปโภค (public utility หรือ utility) ยังหมายถึงหน่วยงานที่ให้บริการเหล่านี้ โดยบริการส่วนใหญ่จะดำเนินงานโดยรัฐบาลโดยตรง ซึ่งบริการเหล่านี้จะอยู่ในลักษณะของเศรษฐกิจผูกขาด หรือถ้าดำเนินงานโดยเอกชน หน่วยงานเหล่านั้นจัดการโดยคณะกรรมการสาธารณูป.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสาธารณูปโภค · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฟอล์กแลนด์

งครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (ภาษาอังกฤษ: Falklands War, ภาษาสเปน: Guerra de las Malvinas) เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2525 อาร์เจนตินาส่งทหารเข้ายึดหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะอันเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ซึ่งถือว่าเป็นการประกาศสงครามของอาร์เจนตินา ซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนา ต่ออังกฤษประเทศมหาอำนาจในขณะนั้น โดยอาร์เจนตินาถือว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ 6 เมษายน ปีเดียวกัน อังกฤษจัดตั้งคณะรัฐมนตรีสงคราม นำโดยมาร์กาเรต แทตเชอร์ และเมื่อการตัดสินใจมาถึง "เราจะไม่ยึดติดกับปัญหาต่างๆ" นางแทตเชอร์ประกาศ: "day-to-day oversight was to be provided by...

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และสงครามฟอล์กแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโรลด์ วิลสัน

มส์ ฮาโรลด์ วิลสัน บารอนวิลสันแห่งรีโว (James Harold Wilson, Baron Wilson of Rievaulx) (11 มีนาคม พ.ศ. 2459 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองพรรคลาเบอร์ชาวอังกฤษ เขาเคยเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ในช่วง..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และฮาโรลด์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ผลิกศาสตร์

ผลิกศาสตร์ (Crystallography) คือศาสตร์ที่ศึกษาการเรียงตัวของอะตอมในของแข็ง คำนี้ในการใช้งานเดิมจะหมายถึงศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลึก คำว่า ผลิก มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า ผลึก ก่อนที่จะมีพัฒนาการของผลิกศาสตร์ที่ใช้การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ การศึกษาผลึกกระทำโดยใช้เรขาคณิตของผลึก โดยจะมีการวัดมุมของผลึกเทียบกับมุมอ้างอิงทางทฤษฎี และหาสมมาตรของผลึกนั้น ๆ ในปัจจุบันผลิกศาสตร์ใช้การวิเคราะห์รูปแบบของการเลี้ยวเบนที่เกิดจากการยิงลำแสงบางอย่างให้กับผลึกนั้น แม้ว่าลำแสงที่ใช้ไม่จำเป็นต้องเป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ตัวเลือกหลักมักเป็นรังสีเอ็กซ.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และผลิกศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เมเจอร์

ซอร์ จอห์น เมเจอร์ (Sir John Major)(29 มีนาคม พ.ศ. 2486 -) นักการเมืองชาวอังกฤษและนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรจากพรรคอนุรักษนิยม.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และจอห์น เมเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คัลลาฮาน

ลโอนาร์ด เจมส์ คัลลาฮาน บารอนคัลลาฮานแห่งคาร์ดิฟฟ์ (Leonard James Callaghan, Baron Callaghan of Cardiff) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และเจมส์ คัลลาฮาน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะไรต์ออนะระเบิล

เดอะไรต์ออนะระเบิล (The Right Honourable; ย่อว่า "The Rt Hon." หรือ "Rt Hon.") แปลว่า ผู้ทรงเกียรติอย่างยิ่ง เป็นคำเรียกขานตามประเพณีสำหรับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลบางจำพวกในสหราชอาณาจักร แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และราชอาณาจักรบางแห่งในเครือจักรภพ ตลอดจนประเทศแถบแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษ มอริเชียส และประเทศอื่นในบางโอกาส คำเรียกขานนี้สำหรับผู้ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น ไม่ใช้แก่ผู้วายชนม์ หมวดหมู่:คำเรียกขาน.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และเดอะไรต์ออนะระเบิล · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และ28 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มาร์กาเรต แทตเชอร์และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Margaret Thatcherมากาเรท เท็ตเชอร์มาร์กาเรต แธตเชอร์มาร์กาเร็ต แธตแชอร์มาร์กาเร็ต แธตเชอร์มาร์กาเร็ต แธ็ตแชอร์มาร์กาเร็ต แธ็ตเชอร์มาร์กาเร็ต แทตเชอร์มาร์กาเร็ต เทตเชอร์มาร์กาเร็ต เท็ตเชอร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »