โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2495

ดัชนี พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

374 ความสัมพันธ์: บรอญิสวัฟ กอมอรอฟสกีชวลิต วิชยสุทธิ์บัณฑิต จุลาสัยชาญชัย ชัยรุ่งเรืองชาร์ล กรอสเวเนอร์บานเย็น รากแก่นชิเงะรุ มิยะโมะโตะบุษบา ดาวเรืองบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์บ๋าว นิญพ.ศ. 2402พ.ศ. 2423พ.ศ. 2438พ.ศ. 2448พ.ศ. 2462พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2500พ.ศ. 2524พ.ศ. 2528พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2541พ.ศ. 2543พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พรชัย รุจิประภาพรศักดิ์ เจริญประเสริฐพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์ไทยพระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเทพวิมลญาณ (ถาวร จิตฺตถาวโร)พฤณท์ สุวรรณทัตพัก กึน-ฮเยพันธ์เลิศ ใบหยกพิราวรรณ ประสพศาสตร์พุฒ ล้อเหล็กพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัยกมลา ประสาท-พิเสสรกรุงเทพมหานคร...กฤษณา ไกรสินธุ์กัส แวน แซงต์กันตธีร์ ศุภมงคลการุณ ใสงามกุเทพ ใสกระจ่างกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครกนกอร บุญมาภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยาภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญมารุต มัสยวาณิชมาร์ติน โอนีลล์มาร์ติน เดมป์ซีย์มาลา คำจันทร์มิกกีย์ รูร์กมิยะโกะ ยะมะงุชิมิสเตอร์ทีมิ่งขวัญ แสงสุวรรณมุกดา พงษ์สมบัติยรรยง พวงราชยุทธนา มุกดาสนิทยงค์วิมล เลณบุรีรัชฎาภรณ์ แก้วสนิทรัฐกิจ มานะทัตราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีราเกซ สักเสนารีว มุระกะมิรีวอิชิ ซะกะโมะโตะลี เซียนลุงวรรณทิพย์ ว่องไววรวิทย์ บารูวรัญชัย โชคชนะวลาดีมีร์ ปูตินวารินทร์ ลิ้มศักดากุลวิรัช ชินวินิจกุลวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์วิลาศ จันทร์พิทักษ์วิทวัส รชตะนันทน์วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์วีระ โรจน์พจนรัตน์ศิลา โคมฉายศุภรัตน์ ควัฒน์กุลสมบัด สมพอนสมคิด บาลไธสงสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุกสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสวัสดิ์ จำปาศรีสัณฐาน ชยนนท์สันติ พร้อมพัฒน์สุชาติ ธาดาธำรงเวชสุชน ชาลีเครือสุกรี เจริญสุขสุริยา ชินพันธุ์สุรเชษฐ์ แวอาแซสุวิทย์ วัดหนูสุนันทา นาคสมภพสีเผือก คนด่านเกวียนสงวน นิตยารัมภ์พงศ์สตีเวน ซีกัลสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิตหลิน เจิ้งอิงหวงอี้ (นักเขียน)หะยีสุหลงหง จินเป่าอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ออร์ฮัน ปามุกอะลี ญุมอะฮ์อัญชลี วิวัธนชัยอัศวัชร์ อภัยวงศ์อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณอาลี โมฮัมเหม็ด เกดีอาเลกซิส อาร์กูเอโยอิศอม ชะร็อฟอิทธพร ศุภวงศ์อิซาเบลลา รอสเซลลินีอึชตานิฌเลา ดา ซิลวาอู๋ เมิ่งต๋าอดิศร เพียงเกษอนันต์ ผลอำนวยอนุสรณ์ วงศ์วรรณฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีจอร์จ สเตรตจอห์น ดูอีจังก์ยาร์ด ด็อกจังหวัดพระนครจิกมี ทินเลย์จิม รอสส์จิมมี คอนเนอร์สจุง ฟุบุกิธวัชชัย สมุทรสาครธีรยุทธ ศศิประภาถัง กั๋วเฉียงถาวร เกียรติไชยากรทรนง ศรีเชื้อทอง ตรีธาราทาริกา ธิดาทิตย์ทีโอฟิโล สตีเวนสันขวัญชัย เพชรร้อยเอ็ดคริสโตเฟอร์ รีฟคริสโตเฟอร์ ดอยล์ควน เปรอนคณิต สาพิทักษ์คนุท ฮัมซุนตรี ด่านไพบูลย์ตี๋ใหญ่ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลาซัยยิด อับบาส อัลมูสะวีย์ซุน ยั่นจุนประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ประสาร ไตรรัตน์วรกุลประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะประเทศญี่ปุ่นปรีชา ผ่องเจริญกุลปาโอโล ปาโอเลตตีปิยะมาศ โมนยะกุลนาราดา ไมเคิล วอลเดนนิพนธ์ พร้อมพันธุ์แบร์ต ฟัน มาร์ไวก์แพทริก สเวซีแกรี มัวร์แรมง ดอแมแน็กแรนดี ซาเวจแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์แฮตตี แม็กแดเนียลแดน แอครอยด์แปลก พิบูลสงครามโภคิน พลกุลโยชิตากะ อามาโนะโยสไตน์ กอร์เดอร์โยะชิโอะ ชิระอิโยคานัน อาเฟ็กโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตรโรแบร์โต เบนิญญีโรเบิร์ต เซเม็กคิสโรเจอร์ มิลลาโคอิชิ มะชิโมะไชยา สะสมทรัพย์ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้วไอน์สไตเนียมเบน วิลลาฟอร์เบนนี เออร์คิวเดซเฟอร์เมียมเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญเกรียง กัลป์ตินันท์เยาวเรศ ชินวัตรเร็กซ์ ทิลเลอร์สันเล เลือง มิญเลียม นีสันเสาวนีย์ อัศวโรจน์เสน่ห์ เชาว์สุรินทร์เหมียว เข่อซิ่วเอบา เปรอนเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรีเจฟฟ์ โกลด์บลุมเทร์รี โอควินน์เขตพระโขนงเขตวัฒนาเดวิด แฮสเซลฮอฟเครือจักรภพเตรียม ชาชุมพรเตือนใจ ดีเทศน์เฉิน ข่ายเกอเซลมัน แวกส์มันเซียร์เกย์ จูคอฟเปรีโก เฟร์นันเดซ1 พฤษภาคม1 กรกฎาคม1 กันยายน1 มกราคม1 มิถุนายน1 มีนาคม1 ตุลาคม1 เมษายน10 พฤศจิกายน10 กุมภาพันธ์10 มิถุนายน10 ตุลาคม10 เมษายน11 มิถุนายน11 มีนาคม11 สิงหาคม11 เมษายน12 พฤษภาคม12 กุมภาพันธ์12 มกราคม12 มีนาคม12 สิงหาคม12 ธันวาคม12 เมษายน13 กรกฎาคม13 กันยายน13 สิงหาคม13 ธันวาคม13 ตุลาคม13 เมษายน14 พฤษภาคม14 กันยายน14 มีนาคม14 ธันวาคม14 ตุลาคม14 เมษายน15 พฤศจิกายน15 พฤษภาคม15 กรกฎาคม15 กุมภาพันธ์15 มกราคม15 มิถุนายน15 สิงหาคม15 เมษายน16 พฤศจิกายน16 กันยายน16 กุมภาพันธ์16 มกราคม16 มีนาคม16 เมษายน17 กรกฎาคม17 กุมภาพันธ์17 มกราคม17 มีนาคม18 พฤษภาคม18 กันยายน18 มกราคม18 มิถุนายน18 มีนาคม18 สิงหาคม18 ตุลาคม19 พฤศจิกายน19 พฤษภาคม19 กุมภาพันธ์19 มีนาคม19 ธันวาคม19 เมษายน2 พฤษภาคม2 กันยายน2 กุมภาพันธ์2 มกราคม2 มิถุนายน2 ตุลาคม2 เมษายน20 พฤษภาคม20 กุมภาพันธ์20 มิถุนายน20 สิงหาคม20 ธันวาคม20 ตุลาคม21 พฤษภาคม21 กุมภาพันธ์22 กันยายน22 มิถุนายน22 สิงหาคม22 ตุลาคม22 เมษายน23 มีนาคม23 สิงหาคม23 ตุลาคม23 เมษายน24 กรกฎาคม24 มกราคม24 ธันวาคม24 ตุลาคม24 เมษายน25 พฤศจิกายน25 พฤษภาคม25 กันยายน25 มกราคม26 พฤษภาคม26 กรกฎาคม26 กันยายน26 กุมภาพันธ์26 มกราคม26 มิถุนายน26 ตุลาคม27 พฤศจิกายน27 พฤษภาคม27 มีนาคม27 สิงหาคม27 ธันวาคม27 ตุลาคม27 เมษายน28 กรกฎาคม28 มีนาคม29 มีนาคม3 กรกฎาคม3 กุมภาพันธ์3 มกราคม3 มีนาคม3 เมษายน30 กรกฎาคม30 มกราคม30 มีนาคม4 พฤษภาคม4 มิถุนายน4 มีนาคม4 สิงหาคม4 เมษายน5 พฤษภาคม5 กุมภาพันธ์5 สิงหาคม5 เมษายน6 กันยายน6 กุมภาพันธ์6 มกราคม7 พฤศจิกายน7 มกราคม7 มิถุนายน7 สิงหาคม7 ตุลาคม8 กันยายน8 กุมภาพันธ์8 สิงหาคม8 เมษายน9 พฤศจิกายน9 กันยายน9 สิงหาคม ขยายดัชนี (324 มากกว่า) »

บรอญิสวัฟ กอมอรอฟสกี

รอญิสวัฟ มาเรีย กอมอรอฟสกี (Bronisław Maria Komorowski; 4 มิถุนายน พ.ศ. 2495 –) เป็นนักการเมืองชาวโปแลนด์และนักประวัติศาสตร์ผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโปแลนด์ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบรอญิสวัฟ กอมอรอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต วิชยสุทธิ์

นายชวลิต วิชยสุทธิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชวลิต วิชยสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต จุลาสัย

ตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบัณฑิต จุลาสัย · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง

นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชาญชัย ชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล กรอสเวเนอร์

ร์ล กรอสเวเนอร์ (อังกฤษ: Charles Grosvenor เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ.1952) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชาร์ล กรอสเวเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บานเย็น รากแก่น

นเย็น รากแก่น (14 ตุลาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน-หมอลำ) ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบานเย็น รากแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ

มิยะโมะโตะ ในงานนิทรรศการเกม e3 ชิเงะรุ มิยะโมะโตะ (เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นนักออกแบบเกมชาวญี่ปุ่น ผู้บริหารของนินเทนโด เป็นผู้คิดค้นเกม มาริโอ ดองกีคอง ตำนานแห่งเซลดา และเกมอื่นของนินเทนโด และเป็นผู้ควบคุมการผลิตเกมหลายเกม รวมถึงล่าสุดนินเทนโด วี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และชิเงะรุ มิยะโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

บุษบา ดาวเรือง

ษบา ดาวเรือง (ชื่อเล่น เล็ก) เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุษบา ดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

บุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์

นายบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ (เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2495) หรือ บุณยวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ หรือชื่อเดิม บุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบุณคณาวัฒน์ ภู่จีนาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บ๋าว นิญ

๋าว นิญ (Bảo Ninh) นักเขียนชาวเวียดนาม เกิดที่ ฮานอยเมื่อ พ.ศ. 2495 ช่วงสงครามเวียดนาม เขาเป็นทหารสังกัดกองพลน้อยยุวชนที่ 27 ที่เข้ารบในสมรภูมิเวียดนามใต้ และเป็นหนึ่งในทหารสังกัดกองพลนี้ไม่กี่คนที่รอดชีวิตกลับมา เขาเริ่มเขียนนวนิยายเมื่อ พ.ศ. 2512 ขณะอายุ 17 ปี นวนิยายเรื่องแรกของเขาคือ "ปวดร้าวแห่งสงคราม" ตีพิมพ์ในเวียดนามเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และบ๋าว นิญ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2402

ทธศักราช 2402 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1859.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2402 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2423

ทธศักราช 2423 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1880.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2423 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย รุจิประภา

รชัย รุจิประภา เป็น ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน และอดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพรชัย รุจิประภา · ดูเพิ่มเติม »

พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ

นายพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพรศักดิ์ เจริญประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล)

ระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล) เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (ธรรมยุต) เจ้าอาาวาสวัดเขาศาลาอตุลฐานะจาโร บ้านจรัส ตำบลจรัส อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน ขนฺติพโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวิมลญาณ (ถาวร จิตฺตถาวโร)

ระเทพวิมลญาณ นามเดิม ถาวร ฉายา จิตฺตถาวโร เป็นพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร และรองเจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) ผู้มีชื่อเสียงจากการสอนกรรมฐาน และก่อตั้งศาสนสถานหลายแห่ง เช่น วัดพุทธไทยถาวรรัฐนิวยอร์ค วัดป่าศรีถาวรรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา วัดเนรัญชราวาส ประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพระเทพวิมลญาณ (ถาวร จิตฺตถาวโร) · ดูเพิ่มเติม »

พฤณท์ สุวรรณทัต

ลเอก พฤณท์ สุวรรณทัต อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชุดที่ 3 อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และเป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 10.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพฤณท์ สุวรรณทัต · ดูเพิ่มเติม »

พัก กึน-ฮเย

ัก กึน-ฮเย (Park Geun-hye;; เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495) เป็นนักโทษ และ อดีตประธานาธิบดีคนที่ 11 ของสาธารณรัฐเกาหลี พักเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ถูกถอดถอนจากการปฏิบัติหน้าที่โดยรัฐสภาและการรับรองโดยศาลรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ ส่งผลให้นาย ฮวัง กโย-อัน นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐเกาหลีเป็นรักษาการประธานาธิบดีเกาหลีใต้ พักเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ และเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของประเทศในภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นประมุขหญิงของรัฐในภูมิภาคประเทศเอเชียตะวันออกลำดับที่สามต่อจากมาดามชุคบาตาร์ แห่งมองโกเลียและซ่ง ชิ่งหลิง แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อนดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี พักดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแกรนด์เนชั่นแนล (จีเอ็นพี) ซึ่งเป็นพรรคการเมืองอนุรักษ์นิยมของเกาหลีใต้ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพัก กึน-ฮเย · ดูเพิ่มเติม »

พันธ์เลิศ ใบหยก

ันธ์เลิศ ใบหยก ประธานกรรมการเครือโรงแรมใบหยก เจ้าของตึกใบหยก 2 และอดีตรองเลขาธิการพรรคไทยรักไทยคนแรก (ชุดจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพันธ์เลิศ ใบหยก · ดูเพิ่มเติม »

พิราวรรณ ประสพศาสตร์

ราวรรณ ประสพศาสตร์ (ชื่อเล่น: ต้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของดาราอาวุโส เฉลา ประสพศาสตร์ และ เดิมรับราชการเป็นพยาบาลกองทัพบก และเข้าทำงานเป็นพยาบาลของโรงพยาบาลเปาโล ก่อนที่จะเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยภาพยนตร์เรื่อง อยู่กับก๋ง ในบทนางเอก 1 ใน 2 คนเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพิราวรรณ ประสพศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พุฒ ล้อเหล็ก

ล้อเหล็ก หรือชื่อจริง ทวี พิพัฒกุล เป็นนักมวยไทยระดับแถวหน้า โดยเป็นแชมป์ของสนามมวยเวทีลุมพินี และเวทีราชดำเนิน ฉายา ไอ้หนูเมืองตรัง มีชื่อเสียงระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพุฒ ล้อเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย

นายพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และพุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

กมลา ประสาท-พิเสสร

กมลา ประสาท-พิเสสร (Kamla Persad-Bissessar, เกิด 22 เมษายน ค.ศ. 1952) อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 7 ของสาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศ ซึ่งดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกมลา ประสาท-พิเสสร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกฤษณา ไกรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กัส แวน แซงต์

กัส กรีน แวน แซงต์ จูเนียร์ (Gus Green Van Sant, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน นักเขียนบท ช่างถ่ายภาพ นักดนตรีและนักเขียน เขาเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงประสบความสำเร็จด้านการกำกับสำหรับภาพยนตร์ในปี 1997 เรื่อง Good Will Hunting และผลงานในปี 2008 เรื่อง Milk และได้รับรางวัลปาล์มดอร์ ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ปี 2003 ในภาพยนตร์เรื่อง Elephant ผลงานภาพยนตร์ในด้านการเขียนและกำกับของเชาอย่างเช่น ภาพยนตร์ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของทอม ร็อบบินส์ เรื่อง Even Cowgirls Get the Blues และ My Own Private Idaho นำแสดงโดยเคียนู รีฟส์และริเวอร์ ฟีนิกซ์ (เดิมทีแวน แซงต์ วางแผนว่าจะกำกับภาพยนตร์ชีวประวัติเกี่ยวกับแอนดี้ วอร์ฮอล แสดงโดยฟีนิกซ์ แต่ก็ยกเลิกไปหลังจากที่ฟีนิกซ์เสียชีวิต) เขาเขียนบทในภาพยนตร์แรก ๆ ของเขาเอง และยังประพันธ์เรื่อง Pink นอกจากนี้ยังมีหนังสือภาพถ่ายของเขาในชื่อ 108 Portraits.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกัส แวน แซงต์ · ดูเพิ่มเติม »

กันตธีร์ ศุภมงคล

ร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกันตธีร์ ศุภมงคล · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

กุเทพ ใสกระจ่าง

ร้อยโท ดร.กุเทพ ใสกระจ่าง (15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 - 18 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศรีสะเกษ เขต 2 เป็นอดีตโฆษกพรรคพลังประชาชน และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกุเทพ ใสกระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร

กิรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือที่รู้จักกันในชื่อ เขียว คาราบาว เป็นนักร้องและมือกีตาร์ อดีตสมาชิกวงคาราบาว และเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร มีผลงานเพลงที่โด่งดังคือเพลง สัญญาหน้าฝน และ เพลง ไม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

กนกอร บุญมา

นางสาวกนกอร บุญมา (8 กันยายน พ.ศ. 2495) นางสาวไทย พ.ศ. 2515 เป็นปีสุดท้ายในยุคที่ 3 ของการประกวดนางสาวไทย ผู้ได้รับตำแหน่งในปีนั้น คือ กนกอร บุญมา สาวงามจากจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีผู้ส่งเข้าประกวดคือภัตตาคารแม่น้ำ และมีรองนางสาวไทยอีก 4 คน ได้แก่.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และกนกอร บุญมา · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา

ลตำรวจเอก ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง)รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง อดีตที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตว่าที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค5 อดีตกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ. 10) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2495จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล สำเร็จปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์จากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ (นรต.) รุ่นที่ 28 ร่วมรุ่นกับ พล.ต.อ.ปานศิริ ประภาวัต และ พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พล.ต.อ.ภาณูพงศ์ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบคนหนึ่ง โดยเมื่อครั้งติดยศ ร้อยตำรวจโท (ร.ต.ท.) ที่ สน.เตาปูน เคยเป็นหัวหน้าสายสืบที่ร่วมปราบจอมโจรชื่อดังแห่งยุค คือ ตี๋ใหญ่ มาแล้ว จากนั้นจึงได้เลื่อนยศและพื้นที่นครบาลเหนือ และโยกย้ายไปสู่ตำแหน่งต่าง ๆ ซึ่งในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 เมื่อครั้งที่ติดยศ พลตำรวจตรี (พล.ต.ต.) ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้กำกับการตำรวจภูธรภาค 7 ได้เป็นหัวหน้าชุดตำรวจที่วิสามัญฆาตกรรมนักโทษชาวพม่าที่แหกเรือนจำมหาชัยเสียชีวิตทั้งหมด 9 คนมาแล้ว โดยในเหตุการณ์ครั้งนี้ได้เป็นที่กล่าวขานเนื่องจาก ช่อง 9 ได้ทำการถ่ายทอดรายงานข่าวที่เกิดขึ้นอย่างสด ๆ ในปี พ.ศ. 2547 เป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 มีผลงานเด่นคือ การกวาดล้างยาเสพย์ติดและอาชญากรรม ในพื้นที่ภาคเหนือ จนได้รับรางวัลจาก สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นองค์กรยอดเยี่ยมป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ประจำปี พ.ศ. 2548 แต่จากผลงานด้านนี้ ทำให้ถูกบางส่วนมองว่าเป็นไปเพื่อรับใช้.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ซึ่งมีนโยบายทำสงครามกับยาเสพย์ติด ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้เลื่อนขึ้นเป็น ผู้ช่วย ผ.ตร.รับผิดชอบฝ่ายปราบปราม มีผลงานคดีสำคัญระดับชาติต่าง ๆ จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2553 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษ.10 ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ารอง ผ.ตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ

ลโท ศาสตราจารย์คลินิก ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ตุ้ย) อดีตเจ้ากรมแพทย์ทหารบก/ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก ท่านที่ 37 (1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556), อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า (1 ต.ค.54 - 30 ก.ย.55), อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า/ผู้อำนวยการวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (28 เม.ย.49 - 31 มี.ค.50).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

มารุต มัสยวาณิช

นายแพทย์มารุต มัสยวาณิช อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตกรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมารุต มัสยวาณิช · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน โอนีลล์

มาร์ติน ฮิว ไมเคิล โอนีลล์ (Martin Hugh Michael O'Neill) เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1952 ในเมืองคิลเร ไอร์แลนด์เหนือ โอนีลล์เป็นผู้จัดการทีมคนหนึ่งของสกอตแลนด์ที่เคยประสบความสำเร็จมาแล้วหลายครั้ง โดยเขาเคยนำเลสเตอร์ซิตีได้แชมป์ลีกคัพถึง 2 สมัย และโด่งดังมาก ๆ สมัยที่คุมเซลติก โดยในช่วงปี ค.ศ. 2001 โอนีลล์นำเซลติกคว้าแชมป์ 3 แชมป์ใน 1 ฤดูกาล ปัจจุบันโอนีลล์เป็นผู้จัดการทีมของสโมสรฟุตบอลซันเดอร์แลนด์ โอนีลล์เป็นผู้จัดการทีมคนเดียวของซันเดอร์แลนด์ในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2011-12 ที่พาทีมของเขาขึ้นชั้นจากทีมท้ายกลางตาราง (อันดับที่ 15) ขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 8 ในช่วงเวลาแค่ 1 เดือน ซึ่งผลนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2011.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาร์ติน โอนีลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน เดมป์ซีย์

ลเอก มาร์ติน เอ็ดวาร์ด เดมป์ซีย์ (Martin Edward Dempsey) เป็นพลเอกแห่งกองทัพบกสหรัฐอเมริกา และเป็นประธานคณะเสนาธิการร่วมกองทัพสหรัฐคนที่ 18 ก่อนหน้านี้เขาเคยดำรงตำแหน่งเสนาธิการกองทัพบกสหรัฐ (ผบ.ทบ.) และเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองบัญชาการทหารส่วนกลางมาก่อน ในระหว่างสงครามอิรัก พลตรีเดมปซีย์ ในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รับผิดชอบการควบคุมพื้นที่ภายในกรุงแบกแดด ก่อนที่ในปี 2550 ก่อนที่จะได้ขึ้นเป็นผู้บัญชาการกองกำลังผสมสหรัฐในอิรักในยศพลโท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาร์ติน เดมป์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มาลา คำจันทร์

มาลา คำจันทร์ เป็นนามปากกาของ เจริญ มาลาโรจน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมาลา คำจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิกกีย์ รูร์ก

มิกกีย์ รูร์ก (Mickey Rourke) เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1952 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานโดยมากในภาพยนตร์แอ็กชัน, ดราม่า และทริลเลอร์ ในการทำงานของเขาช่วงแรก เขาเริ่มจากการเป็นนักมวย โดยเป็นนักมวยอาชีพในช่วงสั้น ๆ ในทศวรรษ 1990 เขาได้รับรางวัลลูกโลกทองคำและรางวัลบาฟต้า ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมิกกีย์ รูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มิยะโกะ ยะมะงุชิ

มิยะโกะ ยะมะกุชิ เกิดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมิยะโกะ ยะมะงุชิ · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์ที

มิสเตอร์ที (Mr. T) เกิดวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมิสเตอร์ที · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

มุกดา พงษ์สมบัติ

นางมุกดา พงษ์สมบัติ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคกิจสังคม ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และมุกดา พงษ์สมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

ยรรยง พวงราช

นายยรรยง พวงราช (14 เมษายนพ.ศ. 2495-) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ อดีตอธิบดีกรมการค้าภายใน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยรรยง พวงราช · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา มุกดาสนิท

ทธนา มุกดาสนิท (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยุทธนา มุกดาสนิท · ดูเพิ่มเติม »

ยงค์วิมล เลณบุรี

ตราจารย์ ยงค์วิมล เลณบุรี (23 สิงหาคม 2495 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาคณิตศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการยกย่องให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2541 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2550 สาขาคณิตศาสตร์ และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิต ประเภทวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และยงค์วิมล เลณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท (5 เมษายน พ.ศ. 2495-) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตนักศึกษาหลบหนีเข้าป่าจากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 "สหายศรัทธา" เป็นชื่อจัดตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกิจ มานะทัต

รัฐกิจ มานะทัต(Rathakit Manathat) ตุลาการศาลปกครองสูงสุด อดีตเอกอัครราชทูตไทย อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศ และอดีตโฆษกกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรัฐกิจ มานะทัต · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ราเกซ สักเสนา

นายราเกซ สักเสนา ราเกซ สักเสนา (Rakesh Saxena) (13 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักการเงินการธนาคาร ชาวอินเดีย อดีตที่ปรึกษานายเกริกเกียรติ ชาลีจันทร์ อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชยการ (บีบีซี) เจ้าของฉายา "พ่อมดการเงิน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และราเกซ สักเสนา · ดูเพิ่มเติม »

รีว มุระกะมิ

ริว มูราคามิ (村上 龍) เกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 1952 ในซาเซโบะ, นางาซากิ เป็นนักเขียนนวนิยายและนักสร้างหนัง เขาถูกยกย่องว่าเป็น 'มาราโดนาแห่งวงวรรณกรรมญี่ปุ่น'.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรีว มุระกะมิ · ดูเพิ่มเติม »

รีวอิชิ ซะกะโมะโตะ

รีวอิชิ ซะกะโมะโตะ เป็นนักดนตรี, นักกิจกรรม, นักประพันธ์เพลง, นักเขียน, นักแสดง และนักเปียโนชาวญี่ปุ่น เขามีแหล่งพำนักหลักอยู่ในโตเกียว และ นิวยอร์ก เขาเริ่มเข้าสู่เส้นทางอาชีพด้านดนตรีเมื่อปี 1978 ด้วยแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ ในฐานะสมาชิกของวง เยลโล แมจิก ออร์เคสตรา (YMO) ซึ่งซะกะโมะโตะรับหน้าที่คีย์บอร์ดและบางครั้งเป็นผู้ร้อง ในที่สุด วง YMO ก็ประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติและระดับโลก ภาพยนตร์เรื่อง Merry Christmas Mr. Lawrence ในปี 1983 เป็นหนึ่งในผลงานแจ้งเกิดของเขาในฐานะผู้ประพันธ์ดนตรีประกอบและนักแสดง ภาพยนตร์ได้รับรางวัลแบฟตา และเพลงธีมหลักของเพลงก็ถูกนำไปดัดแปลงเป็นเพลงป๊อปที่ชื่อว่า "Forbidden Colours" ซึ่งโด่งดังในระดับโลก ในฐานะนักประพันธ์เพลง ซะกะโมะโตะได้รับรางวัลมากมาย อาทิ รางวัลลูกโลกทองคำ, รางวัลแกรมมี และ รางวัลออสการ์ จากภาพยนตร์เรื่อง จักรพรรดิโลกไม่ลืม ในปี 2009 เขาได้รับมอบเครื่องรัฐอิสริยาภรณ์ศิลปะและวรรณกรรม จากรัฐบาลฝรั่งเศส นอกเหนือไปจากนี้ ซะกะโมะโตะ ยังเป็นผู้ประพันธ์เพลงของ อะนิเมะ และ วีดีโอเกม หลายเรื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และรีวอิชิ ซะกะโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ลี เซียนลุง

ลี เซียนลุง (จีนตัวย่อ: 李显龙; จีนตัวเต็ม: 李顯龍; พินอิน: Lǐ Xiǎnlóng, หลี่ เสี่ยนหลง) คือนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันและคนที่สามของประเทศสิงคโปร์ เขาเป็นบุตรชายคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวนยู และมีภรรยาเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ของบริษัทเทมาเส็กโฮลดิ้งส์ ลี เซียนลุง ฉายแววความฉลาด มาตั้งแต่ ยังเล็ก โดยสามารถพูด ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนแมนดาริน ภาษารัสเซีย ได้ ในขณะที่มีอายุเพียง 10 ปี พอจบชั้นมัธยม ก็ได้รับทุนจาก รัฐบาล ไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในสาขาคณิตศาสตร์ และจบปริญญาตรีด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 หลังจากนั้น ลี ก็ไปต่อโทที่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ในสาขารัฐประศาสนศาสตร์ ลี เซียนลุงนั้น มาจากการเลือกตั้ง จากประชาชน ตามระบอบประชาธิปไตย อย่างแท้จริง ในตอนสมัครเข้าเป็น..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และลี เซียนลุง · ดูเพิ่มเติม »

วรรณทิพย์ ว่องไว

ลเอกวรรณทิพย์ ว่องไวอดีตแม่ทัพภาคที่ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวรรณทิพย์ ว่องไว · ดูเพิ่มเติม »

วรวิทย์ บารู

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรวิทย์ บารู (1 มกราคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวรวิทย์ บารู · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ ปูติน

วลาดีมีร์ วลาดีมีโรวิช ปูติน (Владимир Владимирович Путин; Vladimir Vladimirovich Putinr) เป็นนักการเมืองชาวรัสเซียผู้ดำรงตำแหน่ง ประธานาธิบดีรัสเซียคนที่สี่และคนปัจจุบัน เช่นเดียวกับประธานพรรคยูไนเต็ดรัสเซียและประธานสภารัฐมนตรีสหภาพรัสเซียและเบลารุส เขารักษาการตำแหน่งประธานาธิบดีเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวลาดีมีร์ ปูติน · ดูเพิ่มเติม »

วารินทร์ ลิ้มศักดากุล

นายวารินทร์ ลิ้มศักดากุล (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2495) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมัย และเป็นนักธุรกิจชาวเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวารินทร์ ลิ้มศักดากุล · ดูเพิ่มเติม »

วิรัช ชินวินิจกุล

วิรัช ชินวินิจกุล (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นอดีตองคมนตรีและอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ,อดีตรองประธานศาลฎีกา,เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม,เลขานุการศาลฎีกา,ผู้พิพากษาศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิรัช ชินวินิจกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

ตราจารย์ วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นกรรมการในหน่วยงานต่างๆ อีกหลายหน่วยงาน ท่านเป็นผู้พิการทางสายตา ที่มีบทบาทในการเป็นแกนนำรณรงค์เพื่อประโยชน์ของผู้พิการในหลายด้าน และได้รับรางวัลและการยกย่องจากหลายๆ หน่วยงาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิลาศ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทวัส รชตะนันทน์

ลเอก วิทวัส รชตะนันทน์ (27 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รักษาการประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตรักษาการปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตตุลาการศาลทหารสูงสุด และอดีตเลขาธิการสภากลาโหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวิทวัส รชตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์

ร.วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ เป็นกรรมการผู้อำนวยการของสถาบันสหสวรรษ ซึ่งเป็นสถาบันวิชาการของภาคประชาชน ในอดีตเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วีระ โรจน์พจนรัตน์

นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมและ ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และวีระ โรจน์พจนรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลา โคมฉาย

วินัย บุญช่วย นามปากกา ศิลา โคมฉาย วันเกิดวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ที่อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช การศึกษาจบมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ก่อนจะมาเรียนต่อที่เรียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเป็นช่วงเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ด้วยความเป็นหนอนหนังสือ ประกอบกับมีโอกาสได้คลุกคลีอยู่ในแวดวงของนักอ่านนักเขียน ทำให้เขาเริ่มมีงานเขียนตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมด้วยเรื่องสั้น ก่อนจะมีผลงานทั้ง นวนิยาย ความเรียง สารคดี รายงาน และบทความ เริ่มต้นเขียนหนังสือโดยใช้ชื่อสกุลจริง "วินัย บุญช่วย" แต่พอหลัง 6 ตุลา กลับมาจากป่า ก็เขียนเรื่องสั้นมาจำนวนหนึ่ง 6-7 เรื่อง เอาไปทิ้งไว้ที่มติชน เอาไปฝากเสถียร จันทิมาธร บรรณาธิการเครือมติชนในขณะนั้น แล้วเรื่องสั้นก็ได้ลงหนังสือ "เฟื่องนคร" ขณะนั้นไม่มีนามปากกา บรรณาธิการเสถียรก็ใส่ชื่อ "ศิลา โคมฉาย" นักเขียนที่เขาชอบมีหลายคน แต่ส่วนใหญ่ชอบงานทางเยอรมนีและฝรั่งเศส เขาไม่ค่อยชอบงานด้านฝั่งสหรัฐอเมริกาสักเท่าไหร่ นักเขียนที่ชอบก็มีอาลแบร์ กามูว์, หลู่ ซฺวิ่น, เลโอ ตอลสตอย, ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน ส่วนนักเขียนไทยชอบอ่านงานของลาว คำหอม, ศรีบูรพา, นิคม รายยวา ศิลา โคมฉาย เคยอยู่ในวงการสื่อมวลชน ทำให้เขาเขียนหนังสือได้หลากหลาย ตั้งแต่งานวิจารณ์กีฬา วิจารณ์เพลง วิจารณ์หนัง ซึ่งก็จะใช้นามปากกาอื่น ๆ ไปตามสาระของคอลัมน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และศิลา โคมฉาย · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรัตน์ ควัฒน์กุล

รัตน์ ควัฒน์กุล อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และศุภรัตน์ ควัฒน์กุล · ดูเพิ่มเติม »

สมบัด สมพอน

มบัด สมพอน (ສົມບັດ ສົມພອນ) เป็นนักพัฒนาสังคมชาวลาวและเจ้าของรางวัลแมกไซไซ ซึ่งได้หายตัวไปเนื่องจากการลักพาตัว ที่กรุงเวียงจันทน์ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2555 แม้ว่ารัฐบาลลาวปฏิเสธการเชื่อมโยงและอ้างว่าไม่มีส่วนรู้เห็น แต่เชื่อว่ามีทฤษฎีสมคบคิดมากพอที่ทำให้เชื่อว่ารัฐบาลลาววางแผนการลักพาตัว เนื่องจากว่าไม่เคยยอมเปิดเผยการลักพาตัวเลยแม้แต่น้อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมบัด สมพอน · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด บาลไธสง

นายสมคิด บาลไธสง อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมคิด บาลไธสง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุก พระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ จำปาศรี

.ต.อ.สวัสดิ์ จำปาศรี พันตำรวจเอกสวัสดิ์ จำปาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรของพ่อซึ่งเป็นกำนัน ชื่อ นายทองคำ และแม่คือ นางกองศรี จำปาศรี.ต.อ.สวัสดิ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เริ่มรับราชการตำรวจ โดยเริ่มตั้งแต่เป็นลูกแถวและผู้บังคับหมู่ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน และเป็นสารวัตรประจำแผนกสืบสวนสอบสวนในสถานีตำรวจแถบฝั่งธนบุรีหลายท้องที่นานถึง 25 ปี เช่น หนองค้างพลู, บางขุนเทียน เป็นต้น จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2548 ในยศ พันตำรวจเอก (พ.ต.อ.) เพื่อออกมาเล่นการเมือง โดยในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548.ต.อ.สวัสดิ์ ได้ลงรับสมัคร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสวัสดิ์ จำปาศรี · ดูเพิ่มเติม »

สัณฐาน ชยนนท์

ลตำรวจโท ดร.สัณฐาน ชยนนท์ อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบ.ชน.) เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดสงขลา เดิมมีนามสกุลว่า "คงกำเนิด" จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนสามัคคีวิทยา จังหวัดยะลา, มัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนโยธินบูรณะ, โรงเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 (ตท.12-รุ่นเดียวกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และ พล.ร.อ.พะจุณณ์ ตามประทีป), โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 28 (นรต.28-รุ่นเดียวกับ พล.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี, พล.ต.อ.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา, พล.ต.อ.ปานศิริ ประภาวัต), ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และหลักสูตรบริหารงานตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 17..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสัณฐาน ชยนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ พร้อมพัฒน์

ันติ พร้อมพัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทยแบบบัญชีรายชื่อ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสันติ พร้อมพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ ธาดาธำรงเวช

ตราจารย์ สุชาติ ธาดาธำรงเวช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษาธิการ อดีตอาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2495 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ รุ่นที่ 77 เลขประจำตัว 8293 จบการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ The London School of Economics and Political Science สหราชอาณาจักร ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ ประเทศแคนาดา ประกาศนียบัตรเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย(University of East Anglia) สหราชอาณาจักร ปริญญาบัตรหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช สมรสกับนางวัชรี ธาดาธำรงเวช (สกุลเดิม พิพัฒน์ประทานพร) นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มีบุตร 2 คน คือ นายกรกฎ จัสติน ธาดาธำรงเวช และนางสาวอรณิชา ธาดาธำรงเว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุชาติ ธาดาธำรงเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุชน ชาลีเครือ

นายสุชน ชาลีเครือ (12 มีนาคม พ.ศ. 2495 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานวุฒิสภา อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดชัยภูมิ เป็นสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งสมัยแรก (พ.ศ. 2543-2549) เป็นประธานวุฒิสภาคนที่สามของวุฒิสภาชุดนี้ สืบต่อจาก นายสนิท วรปัญญา และพลโทมนูญกฤต รูปขจร ก่อนหน้าจะดำรงตำแหน่งประฐานวุฒิสภา นายสุชนดำรงตำแหน่งรองประธานวุฒิสภาคนที่ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุชน ชาลีเครือ · ดูเพิ่มเติม »

สุกรี เจริญสุข

รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ สุกรี เจริญสุข หรือ ดร.แซ็ก (เกิด พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช) เป็นผู้ก่อตั้ง ผู้อำนวยการและคณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งวงดนตรีคลาสสิกเยาวชน ดร.แซ็ก เชมเบอร์ ออร์เคสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุกรี เจริญสุข · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา ชินพันธุ์

ริยา ชินพันธุ์ มีชื่อจริงคือ ธนยศ ชินพันธุ์ (ชื่อเดิม: ประมูล ชินพันธุ์) มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" หรือ "เอ" เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เป็นลูกชายคนที่ 3 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 6 คนซึ่งเป็นชาย 4 หญิง 2 ในบรรดาลูก ๆ ของนายวิบูลย์และนางจิตรา ชินพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุริยา ชินพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเชษฐ์ แวอาแซ

นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 5 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุรเชษฐ์ แวอาแซ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ วัดหนู

วิทย์ วัดหนู (20 ธันวาคม พ.ศ. 2495 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2550) เป็นนักพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย สลัม และคนจนเมือง เคยเป็นเลขาธิการคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.), ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน, ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัม 4 ภาค เลขาธิการเครือข่ายคนเดือนตุลา มีบทบาทขับไล่เผด็จการในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 และเข้าร่วมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุวิทย์ วัดหนู · ดูเพิ่มเติม »

สุนันทา นาคสมภพ

นันทา นาคสมภพ เป็นอดีตผู้จัด ผู้กำกับ และนักแสดงละครโทรทัศน์ชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครเรื่อง คุณหญิงบ่าวตั้ง ทางช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ในปี พ.ศ. 2534-2535 สุนันทา มีชื่อเล่นว่า อู๊ด สำเร็จการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหรัฐอเมริกา เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิง โดยเป็นผู้จัดการด้านการตลาดให้กับค่ายละครสีบุญเรือง แต่เมื่อดาวน้อย สีบุญเรือง เสียชีวิต จึงแยกตัวมาเป็นผู้จัดละครด้วยตนเองในนาม "ดาวเรืองสตูดิโอ" โดยผลิตละครออกอากาศทาง ททบ.5 และ ช่อง 9 อ..ม.ท. ในปี พ.ศ. 2533 สุนันทา เริ่มกำกับการแสดงละครเรื่องแรกคือ ขิงก็รา ข่าก็แรง และมีชื่อเสียงโด่งดังสุดขีดจากการแสดงบทนำในละครเรื่อง คุณหญิงบ่าวตั้ง โดยยังสร้างละครอีกนับสิบเรื่อง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2536 ชื่อของสุนันทาและดาวเรืองสตูดิโอค่อยๆ จางหายจากวงการ จนหยุดการสร้างละครลงอย่างถาวร ชีวิตส่วนตัว สมรสกับ นิพนธ์ นาคสมภพ นายกสมาคมโทรทัศน์ดาวเทียม (ประเทศไทย) มีบุตรด้วยกัน 3 คน คือ กีรติกร นาคสมภพ (อุ๋ม) หรือ ทิวลิป นาคสมภพ, ปาริฉัตร นาคสมภพ (ออย) และ กัลยกร นาคสมภพ(เอิน) โดยเฉพาะบุตรสาวคนโตเคยแสดงละครร่วมกับคุณแม่ในเรื่อง คุณหญิงบ่าวตั้ง ด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสุนันทา นาคสมภพ · ดูเพิ่มเติม »

สีเผือก คนด่านเกวียน

ีเผือก คนด่านเกวียน นักร้องนำของวงคนด่านเกวียน วงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงวงหนึ่งของไทย มีชื่อจริงว่า อิศรา อนันตทัศน์ (ชื่อเดิม: สำรอง อนันตทัศน์) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนองคาย) ต่อมาเมื่อเข้าเรียนประถมศึกษาได้ย้ายมาอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ต่อมาสามารถสอบเข้าเรียนวิชาช่างกลเกษตร ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานได้ แต่ทว่าเนื่องจากสถานการณ์การเมืองในเวลานั้นเป็นยุคของเผด็จการทหาร จึงได้มีโอกาสพบปะและร่วมกิจกรรมกับศิลปินหรือนักศึกษาศิลปะคนอื่น ๆ เช่น มงคล อุทก, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, สุรชัย จันทิมาธร และได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ 14 ตุลา ด้วย หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา สีเผือกสอบบรรจุครูได้ ด้วยความที่พ่อเป็นครู จึงอยากให้ลูกชายเป็นครูตามด้วย แต่ติดที่พ่อเป็นข้าราชการ ขณะที่สีเผือกมีแนวความคิดต่อต้านระบบราชการอยู่ จึงเข้าทำงานเป็นครูอยู่ตามแถบชายป่า จากนั้นจึงเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ในนาม "สหายครู" มีหน้าที่รับส่งเอกสาร, ส่งเสบียง, รับผิดชอบสมาชิกพรรคที่เข้าไปในเมือง พร้อมกับทำหน้าที่สอนหนังสือไปด้วย จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2526 ได้ออกอัลบั้มชุดแรกในชื่อชุด "เด็กปั๊ม" กับวงคนด่านเกวียน ประสบความสำเร็จ จนถึงปัจจุบันนี้มีผลงานอัลบั้มออกมามากกว่า 20 อัลบั้ม มีเพลงที่ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จัก อาทิ เด็กปั๊ม, ชาวนาอาลัย, ตาผุยชุมแพ, กุหลาบปากซัน รวมถึง เดือนเพ็ญ ที่เป็นบทกวีของอัศนี พลจันทร์ มาร้องใหม่ด้ว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสีเผือก คนด่านเกวียน · ดูเพิ่มเติม »

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์

นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ นายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 18 มกราคม พ.ศ. 2551) เป็นนายแพทย์ที่มีผลงานดีเด่นในการบุกเบิกและผลักดันโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า รัฐบาลที่รับเอานโยบายนี้ไปปฏิบัติจริงคือรัฐบาลพรรคไทยรักไทย ใช้ชื่อว่า "30 บาทรักษาทุกโรค" นายแพทย์สงวนเป็นเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คนแรกและดำรงตำแหน่ง 2 สมัยติดกัน จนกระทั่งเสียชีวิต และเป็นประธานชมรมแพทย์ชนบท รุ่นที่ 8 (พ.ศ. 2528-2529) กลุ่มแพทย์ชนบทและผู้เคยร่วมงานกับน.สงวน เช่น น.เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ ประธานชมรมแพทย์ชนบทรุ่นที่ 22 และ น.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้อำนวยการสำนักงานวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.) ยกย่องน.สงวนว่าเป็น "รัฐบุรุษแห่งวงการสาธารณสุขไทย".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสงวน นิตยารัมภ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน ซีกัล

ตีเวน ฟรีเดอริก ซีกัล (Steven Frederic Seagal, เกิด 10 เมษายน 2495) เป็นนักแสดง ผู้ผลิตภาพยนตร์ ผู้เขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ นักศิลปะการต่อสู้ ผู้ฝึกสอนไอคิโด นักดนตรี รองนายอำเภอสำรองและผู้ประกอบวิสาหกิจชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสตีเวน ซีกัล · ดูเพิ่มเติม »

สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ หรือ สเวน โอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต

หม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นธิดาคนเล็กของหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร กับ หม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต พระธิดาใน พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ และหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ วรวรรณ เป็นพระปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ในรัชกาลที่ 5 และยังเป็นปนัดดาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยมเล็ก และเป็นอดีตคู่สมรสของพระโอรสในมหาราชาแห่งแคว้นชัยปุระ ประเทศอินเดีย อีกด้วย ม.ร.ว.ปรียนันทนา เป็นสมาชิกว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหม่อมราชวงศ์ปรียนันทนา รังสิต · ดูเพิ่มเติม »

หลิน เจิ้งอิง

หลิน เจิ้งอิง (林正英, พินอิน: Lín zhèngyīng, Lam Ching-ying) อดีตนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ ชาวฮ่องกงผู้ล่วงลับ มีชื่อจริงแต่แรกเกิดว่า หลิน เกิ้นเป่า (林根寶) เกิดเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1952 ที่เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน เริ่มต้นอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นเด็กฝึกหัดงิ้วในโรงเรียนสอนอุปรากรณ์จีน ที่ฮ่องกง ด้วยรูปร่างที่เล็ก ผอมบาง ทำให้มักได้รับบทประจำเป็นตัวนาง ซึ่งความถนัดดังกล่าวนี้ได้สืบทอดต่อเนื่องมาเมื่อได้ก้าวสู่วงการภาพยนตร์ ทำให้มักจะได้รับหน้าที่เป็นสแตนด์อินให้กับนักแสดงหญิง ต่อมา หง จินเป่าชักชวนให้เข้าร่วมทีมสตั้นแมน และตัวประกอบในภาพยนตร์กังฟูและกำลังภายใน ซึ่งก็ได้รับบทเด่นและบทรองมาเรื่อย เช่น A Touch of Zen ในปี ค.ศ. 1971 และ Fist of Fury ในปี ค.ศ. 1972 จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1985 โด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง Mr. Vampire ในบทของ อาจิ่ว นักพรต ลัทธิเหมาซาน ผู้ชำนาญการปราบผี ซึ่งกลายเป็นบทเด่นประจำตัว ซึ่งได้รับบทเดิมนี้และบทที่ใกล้เคียงซ้ำต่อมาอีกหลายเรื่องด้วยกัน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ประจำตัวไป ในบั้นปลายชีวิตการแสดง หลิน เจิ้งอิง ได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ต้นทุนต่ำรวมทั้งซีรีส์หรือละครโทรทัศน์ ซึ่งก็ได้รับบทของอาจารย์ปราบผีอีก โดยมีผลงานเรื่องสุดท้ายคือ Vampire Expert หลิน เจิ้งอิง เสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 ที่โรงพยาบาลเซนต์เทเรซ่า ที่ฮ่องกง ด้วยโรคมะเร็งตับ อายุได้ 44 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหลิน เจิ้งอิง · ดูเพิ่มเติม »

หวงอี้ (นักเขียน)

หวงอี้ (อักษรจีน: 黄易 พินอิน: Huáng Yì; พ.ศ. 2495 – 5 เมษายน พ.ศ. 2560) เป็นนามปากกาของนักเขียนนิยายกำลังภายใน ชื่อภาษาอังกฤษคือ Huang Yi (ในปกหลังของหนังสือที่จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ใช้คำว่า Wong Yi อันเป็นสำเนียงกวางตุ้ง) ชื่อ หวงอี้ เป็นจีนกลาง ส่วนจีนแต้จิ๋วเรียกว่า อึงเอี๊ยะ หวงอี้เป็นชาวฮ่องกง เริ่มเขียนนิยายกำลังภายในเมื่อ ค.ศ. 1987 โดยช่วงแรกเขียนควบคู่ไปกับนิยายวิทยาศาสตร์ ในภายหลังจึงเปลี่ยนมาเขียนกำลังภายในเพียงอย่างเดียว หวงอี้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 5 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหวงอี้ (นักเขียน) · ดูเพิ่มเติม »

หะยีสุหลง

หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ หรือ หะยีสุหลง โต๊ะมีนา หรือที่รู้จักและนิยมเรียกชื่อกันสั้น ๆ ว่า หะยีสุหลง เป็นโต๊ะอิหม่ามที่มีชื่อเสียงในอดีต เป็นผู้นำและปัญญาชนของชาวไทยมุสลิมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหะยีสุหลง · ดูเพิ่มเติม »

หง จินเป่า

หง จินเป่า (อักษรจีนตัวเต็ม: 洪金寶, อักษรจีนตัวย่อ: 洪金宝, พินอิน: Hóng Jīnbǎo) เป็นนักแสดงและผู้กำกับ, ผู้ออกแบบฉากแอ็คชั่นชาวฮ่องกงร่างอ้วนที่มีชื่อเสียงร่วมกับ เฉินหลง และ หยวนเปียว หง จินเป่า เกิดเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1952 ที่เมืองหนิงโป มณฑลเจ้อเจียง ในครอบครัวที่มีกิจการผลิตภาพยนตร์อยู่แล้ว จึงทำให้หง จินเป่า อยากจะเป็นนักแสดงตั้งแต่อายุ 8 ขวบ หง จินเป่าขอให้ทางครอบครัวส่งไปเรียนการแสดงที่สถาบัน China Drama Academy ในฮ่องกง ซึ่งสอนศิลปะการต่อสู้ รวมทั้งงิ้วแบบงิ้วปักกิ่ง ด้วย ตอนแรกอาจารย์ไม่แน่ใจความสามารถของเขานัก เนื่องจากเห็นร่างที่อ้วนและความช่างกิน แต่ในไม่ช้าอาจารย์ก็เปลี่ยนใจหันมายอมรับในความสามารถ ภายหลังหง จินเป่าและคนอื่น ๆ ในสถาบันล้วนแต่กลายมาเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงทั้งสิ้น เช่น เฉินหลง และ หยวนเปียว ในทศวรรษที่ 70 หง จินเป่าเป็นสตั๊นต์แมนที่มีชื่อของฮ่องกงจนได้เซ็นสัญญากับบริษัทโกลเดนฮาร์เวสต์ เขาพยายามที่จะเริ่มมีบทบาทในการแสดงให้มากขึ้นโดยยอมแม้กระทั่งรับบทที่ถ่อยเถื่อน หยาบคาย ใบหน้ามีรอยแผลเป็นเหวอะ ซึ่งในปี ค.ศ. 1978 นับได้ว่าหง จินเป่าและทีมได้รับการยอมรับว่าเป็นสตั๊นต์แมนที่ดีที่สุดของฮ่องกง ปี ค.ศ. 1983 หง จินเป่า ได้ร่วมกับเฉินหลงและหยวนเปียว เพื่อนรักอีก 2 คน สร้างภาพยนตร์แอ๊คชั่นคอมาดี้ เรื่อง Winners and Sinners ทำให้วงการภาพยนตร์แอ๊คชั่นฮ่องกงกลับมาคึกคักอีกครั้งหลังซบเซาไปนานจากการเสียชีวิตของ บรูซ ลี จน 3 คนได้รับฉายาว่า "3 พี่น้องร่วมสาบาน" ซึ่งหง จินเป่า ได้รับฉายาว่า "พี่ใหญ่" (Big Brother) เนื่องจากมีอายุมากที่สุด และได้แสดงภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จร่วมกันอีก อาทิ เอไกหว่า ในปี ค.ศ. 1984, Wheels On Meals, Heart of The Dragon ในปีเดียวกัน และ Dragon Forever ในปี ค.ศ. 1988 เป็นต้น อย่างไรก็ตามหลังร่วมแสดงเรื่อง Dragon Forever แล้ว มีข่าวในทำนองที่ว่า หง จินเป่า และ เฉินหลงเริ่มแตกคอกัน มีบางกระแสกล่าวว่าหง จินเป่าอิจฉาเฉินหลงที่ประสบความสำเร็จสูงสุดจากเรื่อง วิ่งสู้ฟัด ในปี ค.ศ. 1985 แต่เฉินหลงสัมภาษณ์ว่าตัวเองมีส่วนทำให้ 3 พี่น้องร่วมสาบานผิดใจกัน และแม้มีกระแสข่าวทางลบ แต่หง จินเป่าก็ไม่สะทกสะท้าน เขายังทำงานต่อไปโดยมีทั้งงานแสดงและกำกับภาพยนตร์ ยุคกลางของทศวรรษที่ 90 ความกระทบกระทั่งกันระหว่างเฉินหลงและหง จินเป่าค่อย ๆ ซาลง หง จินเป่ารับ งานกำกับคิวแอ๊คชั่นให้เฉินหลง ในเรื่อง Thunderbolt ในปี ค.ศ. 1995 และ Mr. Nice Guy ในปี ค.ศ. 1997 นอกจากนี้ หง จินเป่ายังมีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง หวงเฟยหงพิชิตตะวันตก ภาพยนตร์ภาคสุดท้ายของหวง เฟยหง ที่นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย หรือ เจ็ทลี ในปี ค.ศ. 1997 ต่อจาก ฉีเคอะ แล้ว ซึ่งก็สามารถทำรายได้สูงสุดในฮ่องกง ในปี ค.ศ. 1998 หง จินเป่าย้ายไปสหรัฐอเมริกาและรับแสดงซีรีส์ชุด Law of Honour โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า ซัมโม หง (Summo Hung) แต่ทว่าผลตอบรับกลับมาออกมาไม่ดีนัก จึงย้ายกลับมาฮ่องกงและร่วมงานกับเฉินหลงอีกครั้ง ผลงานในระยะหลังของหง จินเป่า มักเป็นผู้กำกับฉากแอ๊คชั่นหรือผู้กำกับคิวบู๊ และอาจรับเป็นนักแสดงประกอบบ้างในบางเรื่อง ซึ่งผลงานในระยะหลัง ๆ ได้แก่ การเป็นผู้ออกแบบคิวบู๊ในเรื่อง ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา ในปี ค.ศ. 2008, ออกแบบคิวบู๊และร่วมแสดงใน ยิปมัน อาจารย์บรู๊ซ ลี ในปี ค.ศ. 2010 ร่วมแสดงเป็นตัวประกอบใน 8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร และรับบทเป็น เฉินหว่านซุน อาจารย์ของยิปมัน ในเรื่อง The Legend is Born – Ip Man ซึ่งร่วมแสดงกับหยวนเปียว ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และหง จินเป่า · ดูเพิ่มเติม »

อรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์

นางอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ (เกิด 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 (การเลือกตั้งซ่อม) สังกัดพรรคเพื่อไทย จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอรุณลักษณ์ กิจเลิศไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ฮัน ปามุก

ฟอริต ออร์ฮัน ปามุก (Ferit Orhan Pamuk) เป็นนักเขียนแนวโพสต์โมเดิร์นชาวตุรกีคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ปามุกเกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1952 ณ นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี จบการศึกษาทางด้านวารสารศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอิสตันบูล เขาแต่งงานในปีค.ศ. 1982 แต่ก็หย่าในปีค.ศ. 2001 เขาเริ่มสร้างงานเขียนในปีค.ศ. 1974 โดยผลงานชิ้นแรกมีชื่อว่า Karanlık ve Işık (ความมืดและแสงสว่าง) และมีผลงานชิ้นอื่น ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ปามุกได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม โดยเป็นนักเขียนคนแรกจากประเทศตุรกี และเป็นนักเขียนคนที่สองจากประเทศมุสลิมที่ได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และออร์ฮัน ปามุก · ดูเพิ่มเติม »

อะลี ญุมอะฮ์

อะลี ญุมอะฮ์ อะลี ญุมอะฮ์ (علي جمعة; Ali Gomaa) ปราชญ์ศาสนาอิสลาม เกิดวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอะลี ญุมอะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัญชลี วิวัธนชัย

อัญชลี วิวัธนชัย หรือที่รู้จักกันในนามปากกา อัญชัน (26 กันยายน พ.ศ. 2495 -) เกิดที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ อัญชลี สุธรรมพิทักษ์ สมรสกับ อนุสรณ์ วิวัธนชัย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัญชลี วิวัธนชัย · ดูเพิ่มเติม »

อัศวัชร์ อภัยวงศ์

นายอัศวัชร์ อภัยวงศ์ นักธุรกิจและนักการเมืองไทย อดีตเลขาธิการพรรคถิ่นไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรครวมใจไทยชาติพัฒน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัศวัชร์ อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (ชื่อเล่น: จิ๊) ซึ่งเป็นที่รู้จัก และเรียกกันติดปากว่า ป้าจิ๊ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลจากผลงานการแสดง ครบทั้ง 4 รางวัลหลักคือ รางวัลพระสุรัสวดี, รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลเมขลา มีน้องชายหนึ่งคน (ชื่อเล่น: โจ้)อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ, รักแม่ สุดหัวใจ, ลิปส์ พับลิชชิง,..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อาลี โมฮัมเหม็ด เกดี

อาลี โมฮัมเหม็ด เกดี (Cali Maxamed Geedi, علي محمد جيدي) (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2495) เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่านแห่งโซมาเลียตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาลี โมฮัมเหม็ด เกดี · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซิส อาร์กูเอโย

อาเลกซิส อาร์กูเอโย (Alexis Argüello) เกิดวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1952 ที่เมืองมานากัว ประเทศนิการากัว อาร์กูเอโยเริ่มชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1968 เมื่ออายุได้เพียง 16 ปี และใช้เวลาถึง 6 ปี จึงได้เป็นแชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นเฟเทอร์เวตของสมาคมมวยโลก (WBA) เมื่อชนะน็อก รูเบน โอลิวาเลส ยก 13 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974 ซึ่งก่อนหน้านี้อาร์กูเอโยเคยชกชิงแชมป์ในรุ่นเดียวกันนี้มาแล้วครั้งนึงกับ เอร์เนสโต มาร์เซล เจ้าของตำแหน่งชาวปานามา แต่เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน หลังได้เป็นแชมป์โลกเฟเทอร์เวตแล้ว อาร์กูเอโยก็ชกป้องกันตำแหน่งไว้ได้ 4 ครั้ง ก่อนที่จะสละเพื่อขึ้นไปชกในรุ่นที่เหนือกว่า อาร์กูเอโยขึ้นแชมป์โลกในรุ่นที่สอง ในรุ่นซูเปอร์เฟเทอร์เวตของสภามวยโลก (WBC) เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1978 ที่เมืองบายามอน เปอร์โตริโก และเป็นฝ่ายชนะน็อกไปในยกที่ 13 ต่อ อัลเฟรโด เอสดาเลรา เจ้าของตำแหน่งเดิมซึ่งเป็นนักมวยเจ้าถิ่นด้วย จากนั้นจึงป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ถึง 8 ครั้ง ก่อนที่จะสละตำแหน่งในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1980 เนื่องจากควบคุมน้ำหนักไม่ไหว 20 มิถุนายน ค.ศ. 1981 ขึ้นชิงแชมป์โลกในรุ่นไลต์เวตของสภามวยโลก กับ จิม วัตต์ เจ้าของตำแหน่งชาวสก็อต ที่สนามเวมบลีย์ ในมหานครลอนดอน สหราชอาณาจักร และเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไปได้อย่างขาวสะอาดเมื่อชกกันครบ 15 ยก อาเลกซิส อาร์กูเอโย กลายเป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมาทันทีจากการเป็นแชมป์โลกถึง 3 รุ่น ในรุ่นไลต์เวตนี้เขาสามารถป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ 4 ครั้ง และการชกที่น่าประทับใจก็คือการป้องกันตำแหน่งกับ เรย์ "บูม บูม" มานชินี่ นักมวยจอมตะลุยผิวขาวชาวอเมริกัน ที่กำลังมีฟอร์มการชกร้อนแรงและเป็นขวัญใจชาวอเมริกัน แต่อาร์กูเอโยได้แสดงให้เห็นว่าเขามีการชกที่เหนือชั้นกว่า เมื่อเป็นฝ่ายชนะที.เค.โอ.มานชินี่ ไปได้ในยกที่ 14 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1981 อาร์กูเอโยป้องกันตำแหน่งครั้งสุดท้ายในรุ่นไลต์เวต เมื่อชนะน็อกยก 5 ต่อ แอนดี้ กานิแกน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1982 และข้ามขึ้นไปชิงแชมป์โลกรุ่นที่ 4 ในรุ่นจูเนียร์เวลเตอร์เวต สมาคมมวยโลก กับ อารอน ไพรเออร์ นักมวยอันตรายชาวอเมริกัน ผู้ยังไม่เคยแพ้ใครในขณะนั้น ผลการชกไพรเออร์แข็งแกร่งกว่า และสามารถเอาชนะน็อกอาร์กูเอโยไปในยกที่ 14 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982 แต่ต่อมาทั้งคู่ได้มีโอกาสล้างตากันอีก ผลการชกก็ออกมาในรูปแบบเดิม คือ อาร์กูเอโยเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 10 ชวดตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นที่ 4 อาร์กูเอโยวางนวมไปนาน จนหลายฝ่ายคาดว่าเขาคงแขวนนวมไปแล้ว แต่แล้วอาร์กูเอโยก็หวนคืนมาชกมวยอีกครั้ง และชกครั้งสุดท้ายชนะน็อก บิล คอสเตลโล่ อดีตแชมป์โลกซูเปอร์ไลต์เวต ของสภามวยโลก ไปในยกที่ 4 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 ก่อนที่จะหยุดชกไป เมื่อถูกตรวจพบว่าเป็นโรคหัวใจ อาร์กูเอโยหยุดไปรักษาตัวนานเกือบ 10 ปี ก่อนที่จะกลับมาชกอีกครั้ง แต่ก็มีสถิติลุ่ม ๆ ดอน ๆ เนื่องจากสภาพชีวิตย่ำแย่ และในครั้งสุดท้ายก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนอย่างหมดรูปต่อนักมวยโนเนมอย่าง สก็อต วอล์กเกอร์ ในปี ค.ศ. 1995 ก่อนที่จะอำลาชีวิตการชกไปอย่างเป็นทางการในที่สุด หลังแขวนนวม อาร์กูเอโยได้หันไปเล่นการเมือง และได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกเทศมนตรีกรุงมานากัวด้วย เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2008 แต่ก็มีปัญหารุมเร้าหลายประการ จนในที่สุดอาร์กูเอโยได้ทำอัตวินิบาตกรรมด้วยการยิงเข้าที่ขั้วหัวใจตนเองเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 รวมอายุได้ 57 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอาเลกซิส อาร์กูเอโย · ดูเพิ่มเติม »

อิศอม ชะร็อฟ

อิศอม ชะร็อฟ อิศอม อับเดลอะซีซ ชะร็อฟ (عصام عبد العزيز شرف; Essam Abdel-Aziz Sharaf; เกิด 26 ตุลาคม พ.ศ. 2495) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศอียิปต์ระหว่างวันที่ 3 มีนาคม-7 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยก่อนหน้าเขาดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอิศอม ชะร็อฟ · ดูเพิ่มเติม »

อิทธพร ศุภวงศ์

ลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์ ปัจจุบันเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เขาเป็นผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 และที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และอดีตผู้บัญชาการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอิทธพร ศุภวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลา รอสเซลลินี

อิซาเบลลา รอสเซลลินี (18 มิถุนายน ค.ศ. 1952 -) เป็นนักแสดง นางแบบ นักเขียนชาวอิตาลี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการเป็นนางแบบโฆษณาเครื่องสำอางลังโคม เป็นเวลาถึง 14 ปีติดต่อกัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1982 ถึง ค.ศ. 1996 และมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง Blue Velvet และ Death Becomes Her อิซาเบลลา รอสเซลลินี เกิดที่กรุงโรม เป็นบุตรสาวของอิงกริด เบิร์กแมน นักแสดงหญิงชาวสวีเดน กับโรแบร์โต รอสเซลลินี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี เธอมีฝาแฝด ชื่อ อิซอตตา อิงกริด รอสเซลลินี ซึ่งไม่ได้เป็นนักแสดง แต่เป็นศาสตราจารย์ด้านวรรณคดีอิตาลี ด้านชีวิตส่วนตัว เธอสมรสกับมาร์ติน สกอร์เซซี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอิซาเบลลา รอสเซลลินี · ดูเพิ่มเติม »

อึชตานิฌเลา ดา ซิลวา

อึชตานิฌเลา ดา กงไซเซา อาไลชู มารีอา ดา ซิลวา (Estanislau da Conceição Aleixo Maria da Silva; เกิดวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495) เป็นนักการเมืองติมอร์-เลสเต และสมาชิกคนสำคัญของแนวร่วมปฏิวัติเพื่อเอกราชติมอร์ตะวันออก เขาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอึชตานิฌเลา ดา ซิลวา · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ เมิ่งต๋า

อู๋ เมิ่งต๋า (คนไทยนิยมเรียก อู๋ม่งต้ะ)() (2 มกราคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักแสดงชาวฮ่องกง ที่มีชื่อเสียงจากบทตลก เป็นลูกคู่ของตัวเอก ในภาพยนตร์ของโจว ซิงฉือเป็นจำนวนมาก อู๋ เมิ่งต๋า เป็นชาวมณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มแสดงภาพยนตร์ครั้งแรกตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอู๋ เมิ่งต๋า · ดูเพิ่มเติม »

อดิศร เพียงเกษ

รองศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ ประธานสถานีประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดิศรเกิดเมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอดิศร เพียงเกษ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ผลอำนวย

นายอนันต์ ผลอำนวย (เกิด 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 3 อดีตสมาชิกวุฒิสภา ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอนันต์ ผลอำนวย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ

อนุสรณ์ วงศ์วรรณ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน พรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และอนุสรณ์ วงศ์วรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี

มัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี เจ้าผู้ครองรัฐแห่งกาตาร์ (ซ้าย) ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช (ขวา) เชคฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี เจ้าผู้ครองรัฐพระองค์ที่ 7 แห่งรัฐกาตาร์ (ประสูติ 1 มกราคม พ.ศ. 2495) เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 2 ในเชคเคาะลีฟะฮ์ บิน ฮะมัด อัษษานี เจ้าผู้ครองรัฐองค์ที่ 6 แห่งรัฐกาตาร์ เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ สเตรต

อร์จ สเตรตบนตราคันทรีมิวสิกฮอลล์ออฟเฟม จอร์จ ฮาร์วีย์ สเตรต (เกิด: 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1952) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดง และโปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกันจากโพทีต, รัฐเทกซัส, สหรัฐอเมริกา สเตรตได้รับการขนานนามอย่างกว้างขวางให้เป็น "ราชาเพลงคันทรี" (King of Country) และเป็นหนึ่งในผู้ที่มีอิทธิพลต่อวงการคันทรีและยังเป็นศิลปินคันทรีที่อยู่ในกระแสนิยมมากที่สุดคนหนึ่งตลอดกาล สเตรตเป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำแนวคันทรีแนวนีโอมาปรับใช้เข้ากับดนตรีของเขา การแต่งตัวในชุดคาวบอย นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในศิลปินคันทรีแรก ๆ ที่ผลักดันแนว คันทรีแท้ ให้กลับมานิยมอีกครั้งหนึ่ง ในช่วงยุค 80 สเตรตประสบความสำเร็จในซิงเกิลแรกของเขาคือ "Unwound" ซึ่งได้กลายเป็นซิงเกิลฮิตในปี 1981 และนับจากนั้นเป็นต้นมาตลอดช่วงยุค 80 ด้วยความเป็นที่นิยมอย่างสูงทำให้สตูดิโออัลบั้มทั้ง 7 อัลบั้มของสเตรตสามารถติดชาร์ตอันดับ 1 บนคันทรีชาร์ตทั้งหมด ในปี 2000 สเตรตก็ได้รับการบรรจุให้เป็นศิลปินคันทรีแห่งทศวรรษจาก อะแคเดมีออฟคันทรีมิวสิก (Academy of Country Music) ได้รับเลือกเข้าสู่คันทรีมิวสิกฮอลล์ออฟเฟม และได้รับรางวัลแกรมมีครั้งแรกจากอัลบั้ม Troubadour สเตรตได้รับการยกย่องให้เป็นเอนเตอร์เทนเนอร์แห่งปี 1989, 1990 และ 2013 จากสมาคมดนตรีคันทรี (CMA) และจากอะแคเดมีออฟคันทรีมิวสิก (ACM) ในปี 1990 และ 2014 เขายังได้รับการเสนอรับรางวัลทางดนตรีอีกมากมายและก็ได้รับรางวัลอีกหลายครั้งเช่นกัน ในปี 2009 สเตรตก็ได้ล้มสถิติซิงเกิลอันดับ 1 บนคันทรีชาร์ตมากที่สุดจาก คอนเวย์ ทวิตตี (Conway Twitty) ซึ่งทำไว้ที่ 40 ซิงเกิล แทนที่ด้วยสถิติใหม่ถึง 44 ซิงเกิล แต่ถ้านับในทุกชาร์ตสเตรตจะมีซิงเกิลที่ไต่อันดับ 1 มากถึง 60 ซิงเกิล ทำให้สเตรตกลายเป็นศิลปินที่สามารถครองซิงเกิลอันดับ 1 ไว้มากที่สุดในทุกแนวเพลงอีกด้วย สเตรตยังเป็นที่รู้จักในทัวร์คอนเสิร์ตมากมายทั้ง 360- ดีกรี (360- degree) ซึ่งในเวลาเพียง 3 ปีเขาก็สามารถทำกำไรได้สูงถึง 90 ล้านดอลลาร์ จึงกล่าวได้ว่าจอร์จ สเตรต เป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อวงการคันทรีมากที่สุดคนหนึ่งและยังคงมีซิงเกิลอีกเป็นจำนวนมากที่ได้รับความนิยมจวบจนถึงปัจจุบันนี้ ตลอดช่วงเวลาในวงการเพลงของสเตรตสามารถทำยอดขายรวมมากกว่า 160 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้เขาเป็นหนึ่งในศิลปินที่ทำยอดขายได้สูงสุดตลอดกาล ได้รับการยืนยันยอดจำหน่ายสมาคมอุตสาหกรรมบันทึกเสียงของสหรัฐ (RIAA) ระดับ 13 มัลติแพลทินัม, 33 ทองคำขาว และ 38 ทอง โดยมีอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จในแง่ยอดขายมากที่สุดคือ Pure Country (1992) ซึ่งจำหน่ายได้ถึง 6 ล้านชุด (6× ทองคำขาว) ส่วนอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จในแง่การยืนยันยอดมากที่สุดคือ Strait Out of the Box (1995) ด้วยยอดจำหน่าย 2 ล้านชุด (8× ทองคำขาว) และอ้างจากอาร์ไอเอเอ จอร์จ สเตรตสามารถจำหน่ายอัลบั้มได้สูงที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ในบรรดาศิลปินสัญชาติอเมริกันทั้งหมด ด้วยยอดจำหน่ายกว่า 70 ล้านชุด นอกจากนี้สเตรตยังเป็นรองแค่เอลวิส เพรสลีย์และเดอะบีเทิลส์ ในฐานะศิลปินที่มียอดยืนยันระดับทองคำขาว-ทอง มากที่สุดอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจอร์จ สเตรต · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ดูอี

แสตมป์ของสหรัฐอเมริการูปจอห์น ดูอี จอห์น ดูอี (John Dewey) (20 ตุลาคม ค.ศ. 1859 – 1 มิถุนายน ค.ศ. 1952) เป็นนักปรัชญา นักจิตวิทยา และนักปฏิรูปการศึกษาชาวอเมริกัน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยเวอร์มอนต์ ในปี ค.ศ. 1879 หลังจากนั้นใช้เวลาว่างช่วงสั้นๆ เป็นอาจารย์สอนพิเศษที่โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ในปี ค.ศ. 1884 ดูอีเคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิชาปรัชญา จิตวิทยา และการสอน ของมหาวิทยาลัยชิคาโก เขามีบทบาทสำคัญในการบุกเบิกแนวคิดและวิธีการสอนแบบใหม่ๆ ทั้งยังได้สร้างโรงเรียนสาธิตขึ้นเพื่อใช้สำหรับทดสอบพัฒนาและวิเคราะห์ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอนและที่สำคัญ ยังถือได้ว่าเขาเป็นนักปรัชญาทางการศึกษาแนวหน้าของโลก โดยมีปรัชญามากมายซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาที่แตกแขนงออกไปอย่างมากมาย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2402 หมวดหมู่:ทฤษฎีการศึกษา หมวดหมู่:ปรัชญาการศึกษา หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักจิตวิทยา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจอห์น ดูอี · ดูเพิ่มเติม »

จังก์ยาร์ด ด็อก

ซิลเวสเตอร์ ริตเตอร์ (Sylvester Ritter) (13 ธันวาคม ค.ศ. 1952 – 2 มิถุนายน ค.ศ. 1998) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพและนักเล่นฟุตบอลวิทยาลัยชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักกันในสมาคม Mid-South Wrestling และเวิลด์เรสต์ลิงเฟเดเรชัน ภายใต้ชื่อว่า จังก์ยาร์ด ด็อก (Junkyard Dog) (หรือ JYD ชื่อสั้นๆ) และได้เข้าสู่ หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2004 เข้าสู่สังเวียนที่มีห่วงโซ่เครื่องหมายการค้าของเขาที่แนบมากับปลอกคอสุนัข เพลงของสมเด็จพระราชินีฯ "อีกหนึ่งกัดฝุ่น" JYD ประจำบัตรพาดหัวที่ดึงฝูงชนขนาดใหญ่และขายเป็นประจำออกลุยเซียนาซูเปอร์และอื่น ๆ ที่สำคัญ สถานที่กลายเป็น "นักมวยปล้ำผิวดำคนแรกที่จะทำบนดาวไม่มีปัญหาของการส่งเสริมการขายของเขา" JYD เป็นหนึ่งในนักมวยปล้ำติดมากที่สุดและมีเสน่ห์ในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงจุดสูงสุดของเขาในช่วงต้นทศวรรษ 1980 JYD เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดสำหรับความแข็งแรงของเขาชนศีรษะและร่างกายส่วนบนหลังจากที่เห็นเขาร่างกายสแลมเป็นประจำนักมวยปล้ำขนาดใหญ่เช่นที่ วันแมนแก๊ง กามาลา และ คิงคอง บันดี คำว่า "กระหน่ำ" ซึ่งเรียกว่าอำนาจ JYD สแลมของได้ปรากฏเด่นชัดบนลำมวยปล้ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจังก์ยาร์ด ด็อก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จิกมี ทินเลย์

ลียนโป จิกมี โยวเซอ ทินเลย์ (Lyonpo Jigmi Yoeser Thinley; ค.ศ. 1952 —) อดีตนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของภูฏาน ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคสหภูฏาน (Druk Phuensum Tshogpa - DPP, Bhutan United Party) ซึ่งชนะการเลือกตั้ง ได้เสียงข้างมากในสภา 44 ที่นั่ง จากทั้งหมด 47 ที่นั่ง ในการเลือกตั้งครั้งแรกของภูฏาน จิกมี ทินเลย์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจิกมี ทินเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิม รอสส์

มส์ วิลเลียม "จิม" รอสส์ (James William "Jim" Ross) เกิดวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจิม รอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี คอนเนอร์ส

มส์ สกอตต์ "จิมมี" คอนเนอร์ส นักเทนนิสชายชาวอเมริกัน อดีตมือวางอันดับหนึ่งของโลกจากการจัดอันดับของเอทีพี คอนเนอร์สเป็นมือวางอันดับหนึ่งของโลกเป็นเวลาถึง 268 สัปดาห์ โดยติดอันดับหนึ่งติดต่อกันถึง 160 สัปดาห์ ระหว่างเดือนกรกฎาคม 1974 ถึง สิงหาคม 1977 ก่อนจะเสียอันดับให้กับบิยอร์น บอร์ก คอนเนอร์สเป็นแชมเปียนเทนนิสแกรนด์สแลมประเภทชายเดี่ยว 8 สมัย และประเภทชายคู่ (คู่กับอีลลี นัสตาเซ) 2 สมัย และเป็นรองแชมป์ประเภทคู่ผสม (จับคู่กับคริส เอเวิร์ต) อีก 1 สมัย เขาได้รางวัลชนะเลิศประเภทชายเดี่ยวทั้งสิ้น 109 รางวัล ประเภทชายคู่ 15 รางวัล คอนเนอร์สเป็นหนึ่งในห้านักเทนนิสชาย ที่ได้เป็นแชมเปียนเทนนิสแกรนด์สแลมครบจากทุกประเภทสนาม (คือ ฮาร์ดคอร์ต คอร์ตหญ้า และคอร์ตดิน) ถึงแม้ว่าเขาจะไม่เคยชนะเลิศเฟรนช์โอเพน เนื่องจากในปี 1976 ที่เขาชนะเลิศยูเอสโอเพนนั้น เป็นการแข่งบนสนามดิน และปี 1974 เป็นการแข่งบนสนามหญ้า ด้านชีวิตส่วนตัว คอนเนอร์สเคยหมั้นกับคริส เอเวิร์ต และวางแผนจะแต่งงานกันในปี 1974 แต่ยกเลิกเสียก่อน เขาแต่งงานกับแพตตี แม็กไกวร์ นางแบบนิตยสารเพลย์บอย ในปี 1979 จนถึงปัจจุบัน, The Independent, 19 June 2004.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจิมมี คอนเนอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

จุง ฟุบุกิ

ง ฟุบุกิ เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และจุง ฟุบุกิ · ดูเพิ่มเติม »

ธวัชชัย สมุทรสาคร

ลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร กรรมการในคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่ายตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 336/2558 สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เป็นอดีตแม่ทัพภาคที่ 2 เป็นคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการ และการบริหารงานของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และเป็นประธานบริหารบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธวัชชัย สมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

ธีรยุทธ ศศิประภา

ลโท ธีรยุทธ ศศิประภา อดีตเจ้ากรมแพทย์ทหารบก/ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก ท่านที่ 38 (1 ตุลาคม 2556 - 30 กันยายน 2557), ผู้อำนวยการกองการศึกษา วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (1 ต.ค.50 - 30 ก.ย.52), ผู้อำนวยการโรงพยาบาลค่ายสุรนารี (1 ต.ค.52 - 30 ก.ย.55), รองเจ้ากรมแพทย์ทหารบก (1 ต.ค.55 - 30 ก.ย.56), นายทหารพิเศษ กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1 รักษาพระองค์ (7 พ.ค.57 - ปัจจุบัน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และธีรยุทธ ศศิประภา · ดูเพิ่มเติม »

ถัง กั๋วเฉียง

กบท ขงเบ้ง ถัง กั๋วเฉียง (Tang Guoqiang, จีน: 唐国强, พินอิน: Táng Guóqiáng) นักแสดงชาวจีน ผู้รู้จักบทบาทดีจากการรับบท ขงเบ้ง ในสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของ CCTV เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 ในครอบครัวที่เป็นแพทย์ ที่เมืองชิงเต่า มณฑลซานตง เริ่มต้นอาชีพนักแสดงในปี ค.ศ. 1970 หลังสำเร็จการศึกษาระดับมัธยม ถัง กั๋วเฉียง มีบทบาทที่รู้จักดีจากการรับบทเป็น ขงเบ้ง จากสามก๊กฉบับละครโทรทัศน์ของ CCTV และจากการรับทเป็น จักรพรรดิหย่งเจิ้น, จักรพรรดิหลี่ซื่อหมิน และ รับบท เหมาเจ๋อตุง หลายต่อหลายครั้ง เช่น The Founding Of A Republic ในปี ค.ศ. 2009 เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว เคยผ่านการสมรสมาแล้ว 2 ครั้ง โดยมีลูกสาวเกิดกับภรรยาคนแรก และลูกชายกับภรรยาคนที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และถัง กั๋วเฉียง · ดูเพิ่มเติม »

ถาวร เกียรติไชยากร

ร.ถาวร เกียรติไชยากร นายกสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยครู-มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ อดีตสมาชิกวุฒิสภา เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดเชียงใหม่ น้องชายของสุรพล เกียรติไชยากร..จังหวัดเชียงใหม่ ดร.ถาวร เป็นนักการเมืองที่ให้ความสำคัญกับงานด้านการศึกษา โดยการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่ (จอมทอง) และการพัฒนาสร้างชุมชนการเรียนรู้ของวิทยาลัยการอาชีพจอมทอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และถาวร เกียรติไชยากร · ดูเพิ่มเติม »

ทรนง ศรีเชื้อ

ทรนง ศรีเชื้อ (เกิด: 20 มิถุนายน พ.ศ. 2495; ชื่อเดิม: สุวัฒน์ ศรีเชื้อ) ผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้สร้าง และผู้เขียนบทชาวไทย ทรนง ศรีเชื้อ เกิดในครอบครัวที่มีพ่อเป็นนายทหาร และพี่น้องที่เป็นผู้ชายล้วนแต่เป็นทหาร เริ่มต้นงานในวงการบันเทิงด้วยการเป็นช่างภาพให้กับนิตยสารเครื่องเสียงและรถยนต์ รวมถึงในเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นผู้จัดทำและผู้เขียนหนังสือของวงคาราวาน มีผลงานกำกับภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2523 จากเรื่อง สัตว์สงคราม ซึ่งได้รับรางวัลตุ๊กตาทองบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และหลังจากนั้นก็ได้มีผลงานมากมายทั้งภาพยนตร์แอ๊คชั่น และภาพยนตร์อีโรติก ซึ่งสำหรับภาพยนตร์อีโรติกนั้น ถือว่า เป็นภาพยนตร์แนวที่สร้างชื่อให้กับเจ้าตัวอย่างมาก เช่น กลกามแห่งความรัก 1..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทรนง ศรีเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ทอง ตรีธารา

อาจารย์ทอง ตรีธารา เกิดวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทยและเป็นอดีตนักมวยไทย เป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในผู้ฝึกสอนมวยไทยรุ่นแรกในอเมริกา ผู้ก่อตั้งสถาบันมวยไทยในสปริงฟิลด์ รัฐมิสซูรี ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทอง ตรีธารา · ดูเพิ่มเติม »

ทาริกา ธิดาทิตย์

ทาริกา ธิดาทิตย์ เกิดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2495 ที่จังหวัดเชียงใหม่ มีพี่น้อง 5 คนและเธอเป็นคนที่ 3 จบการศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนสัตย์สงวนวิทยา มัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย และประกาศนียบัตรวิชาชีพด้านธุรกิจโรงแรม ระยะแรกได้ฝึกฝนการร้องเพลงจากการแนะนำของคุณเพ็ญแข กัลย์จารึก แล้วมาเป็นนักร้องที่มูแลงรูจไนต์คลับ ต่อมาได้มีโอกาสเดินแฟชั่นให้สถานเสริมสวยต่างๆ จากนั้นคุณพิมพรรณ บูรณะพิมพ์ ได้ชักนำเธอให้มาเป็นนางเอกภาพยนตร์โทรทัศน์ของรัชฟิล์มของคุณพยุง พึ่งศิลป์ เรื่อง สามสาววัยสวาท และ หุ่นไล่กา ทางช่อง 5 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทาริกา ธิดาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีโอฟิโล สตีเวนสัน

ทีโอฟิโล สตีเวนสัน (Teófilo Stevenson) นักมวยสากลสมัครเล่นชาวคิวบา เกิดเมื่อ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และทีโอฟิโล สตีเวนสัน · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญชัย เพชรร้อยเอ็ด

วัญชัย เพชรร้อยเอ็ด เป็นนักร้องลูกทุ่งชื่อดังในอดีต โดยเป็นเจ้าของเพลงดังทั่วฟ้าเมืองไทยอย่าง "จดหมายเป็นหมัน" ปัจจุบันได้เสียชีวิตไปแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และขวัญชัย เพชรร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ รีฟ

ริสโตเฟอร์ ดี'โอเลียร์ รีฟ (Christopher D'Olier Reeve) (25 กันยายน ค.ศ. 1952 - 10 ตุลาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ โปรดิวเซอร์และนักเขียนบท ประสบความสำเร็จที่สุดในบทในภาพยนตร์ที่เขารับบทเป็น ซูเปอร์แมน เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม รีฟกลายเป็นอัมพาตหลังจากตกจากหลังม้าขณะแข่งขันในคัลปีเปอร์ รัฐเวอร์จิเนีย เขาต้องอยู่บนรถเข็นและต้องใช้เครื่องช่วยหายใจตลอดชีวิตที่เหลือของเขา เขาดำเนินการเป็นตัวแทนของคนเส้นประสาทไขสันหลังเสียและสำหรับสเต็มเซลล์จากตัวอ่อนมนุษย์ ในการค้นคว้าหลังจากนั้น เขาก่อตั้งมูลนิธิคริสโตเฟอร์รีฟ และร่วมก่อตั้งรีฟ-เออร์วีนรีเสิร์ชเซนเตอร์ CNN, October 11, 2004, accessed November 3, 2006 รีฟแต่งงานกับเดนา โมโรซินี เมื่อเดือนเมษายน 1992 ทั้งคู่มีบุตรชายชื่อ วิลเลียม เกิดในเดือนมิถุนายนปีนั้น รีฟมีบุตรอีก 2 คน ชื่อ แมททิว (เกิดปี 1979) และอเล็กซานดรา (เกิดปี 1983) จากแฟนสาวที่มีความสัมพันธ์อันยาวนานทีชื่อ เก เอกซ์ตัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคริสโตเฟอร์ รีฟ · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ ดอยล์

ริสโตเฟอร์ ดอยล์ (Christopher Doyle) (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ช่างภาพ และผู้กำกับภาพชาวออสเตรเลีย ผู้มีผลงานกำกับภาพให้กับ ผู้กำกับภาพยนตร์ระดับโลกหลายคน โดยมักจะมีผลงานร่วมกับผู้กำกับภาพยนตร์ชาวเอเชีย เช่น หว่อง คาไว จาง อี้โหมว เฉิน ข่ายเกอ รวมทั้งภาพยนตร์ของเป็นเอก รัตนเรือง 2 เรื่อง คือ เรื่องรัก น้อยนิด มหาศาล และคำพิพากษาของมหาสมุทร และตอนหนึ่งของภาพยนตร์ไทยเรื่อง อารมณ์ อาถรรพ์ อาฆาต กำกับโดย ปีเตอร์ ชาน นอกเหนือจากผลงานกำกับภาพแล้ว คริสโตเฟอร์ ดอยล์ ยังเคยร่วมแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Comrade: Almost a Love Story (2539) กำกับภาพยนตร์ของตัวเองเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคริสโตเฟอร์ ดอยล์ · ดูเพิ่มเติม »

ควน เปรอน

วน โดมิงโก เปรอง (Juan Domingo Perón; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1895 – 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1974) เป็นพลโทและนักการเมืองชาวอาร์เจนตินา หลังรับราชการในหลายตำแหน่งของรัฐ ซึ่งรวมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและรองประธานาธิบดี เขาได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอาร์เจนตินาสามสมัย ดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และควน เปรอน · ดูเพิ่มเติม »

คณิต สาพิทักษ์

ลเอก คณิต สาพิทักษ์ อดีตประธานที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 อดีตประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2495 มีชื่อเล่นว่า "อ๊อด" เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ปฏิบัติหน้าที่ตาม พรก.บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคณิต สาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

คนุท ฮัมซุน

นุท ฮัมซุน (Knut Hamsun; 4 สิงหาคม ค.ศ. 1859 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และคนุท ฮัมซุน · ดูเพิ่มเติม »

ตรี ด่านไพบูลย์

นายมนตรี ด่านไพบูลย์ หรือ นายตรี ด่านไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของนายศักดิ์ - นางทองพูน ด่านไพบูลย์ ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตรี ด่านไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋ใหญ่

ตี๋ใหญ่ เป็นอดีตจอมโจรชื่อกระฉ่อนของไทยในยุคระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และตี๋ใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา

ซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา (เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2495) เป็นประมุขแห่งรัฐอุมม์อัลไกไวน์ และยังเป็นสมาชิกสภาสูงสุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ พระองค์เป็นพระราชโอรสของรอชิด บิน อะห์มัด อัลมุอัลลาที่ 3 พระองค์ได้ทรงเป็นผู้ครองรัฐอุมม์อัลไกไวน์ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซะอูด บิน รอชิด อัลมุอัลลา · ดูเพิ่มเติม »

ซัยยิด อับบาส อัลมูสะวีย์

ซัยยิด อับบาส อัลมูสะวีย์ หรือ อัลมูซาวี เกิดในปี 1952 เป็นเลขาธิการใหญ่ของพรรคฮิซบุลลอหฺ ในปี 1991-1992 ถูกอิสราเอลสังหารด้วยการยิงจากเฮลิคอปเตอร์ทำให้อัลมูสะวีย์ ภรรยา บุตรชาย พร้อมกับพรรคพวกอีก 4 คนเสียชีวิต เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 1992 หมวดหมู่:ชาวเลบานอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซัยยิด อับบาส อัลมูสะวีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยั่นจุน

ในบทของเล่าปี่ ซุน ยั่นจุน เป็นนักแสดงชาวจีน เกิดที่เทียนจิน ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และซุน ยั่นจุน · ดูเพิ่มเติม »

ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์

นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ มีชื่อเดิมว่า ประพัฒน์ แซ่ฉั่ว กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติและกรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ในฐานะประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อดีตนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ต่อมาได้เป็นนักการเมือง เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และประธานคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสินเชื่อเกษตรแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการมันสำปะหลัง ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 105/2557 ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง และประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ อดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอดีตกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประสาร ไตรรัตน์วรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ

ประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ (9 สิงหาคม พ.ศ. 2495 -) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ครูประทีป อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร, นักสิทธิมนุษยชน ซึ่งปฏิบัติงานช่วยเหลือเด็กยากไร้ ภายในชุมชนแออัดคลองเตย, ผู้ก่อตั้งมูลนิธิดวงประทีป และมูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม ประทีปเป็นผู้รับมอบรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ประจำปี พ.ศ. 2521 นอกจากนี้ ประทีปยังเป็น นักเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อประชาธิปไตย โดยเข้าร่วมกับสมาพันธ์ประชาธิปไตย องค์กรหลักของผู้ชุมนุม ในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ เมื่อ พ.ศ. 2535 และเป็นหนึ่งในแกนนำชุดที่ 2 ของแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (นปก.) ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มขององค์กร ซึ่งมีจุดยืนต่อต้านรัฐประหาร ที่คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ก่อขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ประทีปสมรสกับทัตซึยะ ฮาตะ นักสังคมสงเคราะห์ชาวญี่ปุ่น มีบุตรชายด้วยกันสองคนคือ อิสระและมิ่งบุญ ฮาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ผ่องเจริญกุล

นายปรีชา ผ่องเจริญกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคสามัคคีธรรม และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ (อลงกรณ์ พลบุตร) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอดีตนักกิจกรรมสมัย 14 ตุลา เป็นบุคคล ควบคุมรถบัญชาการ ฝ่ายนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปรีชา ผ่องเจริญกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล ปาโอเลตตี

ปาโอโล ปาโอเลตตี (Paolo Paoletti) เกิดวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 ที่เมืองฟรัสกาตี เป็นอดีตนักกีฬารักบี้ยูเนียน, เจ้าหน้าที่การแข่งขันรักบี้ยูเนียน และนักแสดงละครเวทีชาวอิตาลี ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งฮุกเกอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปาโอโล ปาโอเลตตี · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะมาศ โมนยะกุล

รัสรินทร์ ปริยไชยพงศ์ หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ปิยะมาศ โมนยะกุล (ชื่อเล่น: ปุ๊; เกิด: 23 ตุลาคม พ.ศ. 2495) ที่จังหวัดนครราชสีมา โดยที่มาของชื่อ ปิยะมาศ เนื่องจากเกิดวันที่ 23 ตุลาคม ซึ่งตรงกับวันปิยะมหาราช จบการศึกษาจากโรงเรียนศรีสุริโยทัยและระดับปว.ที่จังหวัดนครสวรรค์ ขณะเรียนด้านนาฏศิลป์กับ สัมพันธ์ พันธ์มณี ได้รับการชักนำเข้าสู่วงการโดยสุรินทร์ แสงขำ ผู้ทำงานทางฝ่ายรายการทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม โดยเริ่มจากการเดินแฟชั่นเมื่ออายุ 18 ปี ต่อมาในปี 2514 ได้รับการทาบทามให้ประกวดนางงามในงานสมาคมศิษย์เก่ากรุงเทพคริสเตียน จนคว้าตำแหน่งรองมิสบีซีซี และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ในปี 2515 เริ่มแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกโดย วินิจ ภักดีวิจิตร คือ ขัง 8 ของ ซึ่งทำรายได้ได้ถึง 3 ล้านบาท และมีผลงานตามมาหลายเรื่อง เช่น หัวใจ 100 ห้อง, เสาร์ 5, โรงแรมผี, หอหญิง, ชุมแพ ฯลฯ ภายหลังเป็นนางเอกผูกขาดของผู้กำกับและอดีตคู่ชีวิต กำธร ทัพคัลไลย เจ้าของบริษัทสยามสตาร์โปรดักชั่นในภาพยนตร์เรื่อง ทายาทป๋องแป๋ง คู่กับ สมบัติ เมทะนี โดยปิยะมาศได้แสดงคู่กับสมบัติอีกหลายเรื่อง เช่น เขยใหม่ปึ๋งปั๋ง, เต้าฮวยไล้เหลี่ยว, ไอ้หยาอาตือ ต่อมาได้แสดงคู่กับสรพงษ์ ชาตรีในเรื่อง มาดามยี่หุบ, สวัสดีคุณนาย, ตะวันยิ้มแฉ่ง และคู่กับทูน หิรัญทรัพย์ เรื่อง นางสาวเย็นฤดี จนได้รับฉายาว่า นางเอกหนังตลก 100 ล้าน และได้ผันตัวไปเป็นผู้อำนวยการสร้างให้กับกำธร ทัพคัลไลย เช่น “จงรัก”, “แฝดแบบว่า” ฯลฯ ต่อมาได้เข้าสู่วงการโทรทัศน์ตั้งแต่ปี 2534 จนถึงปัจจุบัน โดยเริ่มจากการแสดงละครเรื่องแรก คือ พ่อปลาไหล แม่พังพอน ตามด้วย วิมานมะพร้าว, แม่ครัวคนใหม่, รักข้ามรั้ว, นางสาวเย็นฤดี, เจ้าสาวผมไม่ใช่ผี, ปลาไหลป้ายแดง, ภารกิจพิชิตดอกฟ้า ฯลฯ รวมทั้งละครซิตคอมเรื่อง เฮง เฮง เฮง และมีกิจการส่วนตัวร่วมกับ คุณอ้วน – อนันต์ เสมา คือ บริษัท รีเทิร์น จำกัด ดำเนินธุรกิจผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เครื่องสำอางบำรุงผิว ภายใต้แบรนด์ รีเทิร์น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และปิยะมาศ โมนยะกุล · ดูเพิ่มเติม »

นาราดา ไมเคิล วอลเดน

นาราดา ไมเคิล วอลเดน (Narada Michael Walden) เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1952 ในคาลามาซู รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา เป็นโปรดิวเซอร์ มือกลอง นักร้องและนักแต่งเพลง ชาวอเมริกัน ชื่อของเขา นาราดา มาจาก ศรี ชินมอย ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 อาชีพของเขามีช่วง 3 ทศวรรษ ที่ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ แผ่นเสียงทองคำขาวและหลายรางวัลแผ่นเสียงทองคำขาว ไมเคิล วอลเดนยังเป็นเจ้าของและดำเนินการทาร์ปันสตูดิโอ ซึ่งเป็นสตูดิโอที่มีชื่อเสียงแซนราฟาเอล รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1980 หมวดหมู่:นักดนตรีชาวอเมริกัน หมวดหมู่:โปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลแกรมมี หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐมิชิแกน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนาราดา ไมเคิล วอลเดน · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ แล.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

แบร์ต ฟัน มาร์ไวก์

ลัมแบร์ตึส "แบร์ต" ฟัน มาร์ไวก์ (Lambertus "Bert" van Marwijk OON) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1952 เป็นผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวดัตช์ ขณะเป็นนักฟุตบอลอาชีพ เขาเคยเล่นให้กับหลายสโมสร เช่น โกอะเฮดอีเกิลส์, อาเซต, เอ็มเฟเฟ, ฟอร์ตือนาซิตตาร์ด และเคยเป็นตัวแทนของประเทศเนเธอร์แลนด์อยู่ครั้งหนึ่ง ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแบร์ต ฟัน มาร์ไวก์ · ดูเพิ่มเติม »

แพทริก สเวซี

แพทริก สเวซี (Patrick Wayne Swayze) (18 สิงหาคม ค.ศ. 1952 - 14 กันยายน ค.ศ. 2009) นักเต้น นักแสดง ชาวอเมริกัน อีกทั้งยังเป็นนักร้องและนักแต่งเพลง มีชื่อเสียงจากบทครูสอนนักเต้นในภาพยนตร์เรื่อง Dirty Dancing ที่ฉายในปี พ.ศ. 2530 และมีชื่อเสียงสูงสุดจากภาพยนตร์เรื่อง Ghost คู่กับ เดมี มัวร์ ที่ฉายในปี พ.ศ. 2533 แพทริก สเวซี เคยได้รับเลือกเป็นผู้ชายที่เซ็กซี่ที่สุดแห่งปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแพทริก สเวซี · ดูเพิ่มเติม »

แกรี มัวร์

รเบิร์ต วิลเลียม แกรี มัวร์ (4 เมษายน ค.ศ. 1952 - 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011) เป็นนักกีตาร์ นักร้อง นักแต่งเพลงแนวบลูส์ร็อกจากเบลฟาสต์ ไอร์แลนด์เหนือ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในชื่อ "แกรี มัวร์" มัวร์เริ่มอาชีพการแสดงดนตรีตั้งแต่ช่วงปลายทศวรรษ 1960 เมื่ออายุเพียง 17 ปี เคยแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีในระดับตำนานเช่น บี. บี. คิง, อัลเบิร์ต คิง, จอร์จ แฮร์ริสัน มาร์ก นอฟเลอร์ เดวิด กิลมอร์ เขามีผลงานทดลองในแนวทางต่างๆ มากมาย ทั้งดนตรีร็อก แจ๊ส บลูส์ คันทรี อิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดร็อก และเฮฟวีเมทัล ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา คืออัลบัมและซิงเกิล Still Got the Blues ในปี 1990 ผลงานชิ้นนี้ถูกกล่าวหาว่าลอกเลียนท่อนโซโลกีตาร์มาจากผลงานเพลงในปี 1974 ชื่อ Nordrach ของวงดนตรีเยอรมันชื่อ Jud's Gallery มัวร์ปฏิเสธข้อกล่าวหานี้ว่าเขาไม่รู้จักเพลงดังกล่าว ศาลเยอรมันมีคำตัดสินเมื่อปี 2008 ว่ามัวร์อาจไม่ได้จงใจ แต่เนื่องจากทำนองเพลงทั้งสองใกล้เคียงกันมากจึงถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และมัวร์ต้องจ่ายค่าเสียหายให้กับเจอร์เกน วินเทอร์ หัวหน้าวง Jud's Gallery เป็นจำนวนเงินที่ไม่ได้ระบุ แกรี มัวร์เสียชีวิตอย่างกะทันหันด้วยวัยเพียง 58 ปี ขณะเดินทางไปพักผ่อนในประเทศสเปนกับแฟนสาว สันนิษฐานว่าเนื่องจากอาการหัวใจล้มเหลว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแกรี มัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

แรมง ดอแมแน็ก

แรมง ดอแมแน็ก (Raymond Domenech; เกิดเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1952 ในลียง) เป็นอดีตกองหลังทีมชาติฝรั่งเศสและอดีตผู้จัดการทีมชาติฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแรมง ดอแมแน็ก · ดูเพิ่มเติม »

แรนดี ซาเวจ

แรนดี มาริโอ พอฟโฟ (Randy Mario Poffo) (15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 - 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2011) อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันของWWFในชื่อ แรนดี ซาเวจ (Randy Savage) ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงด้วยวัย 58 ปี และได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำปี 2015.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแรนดี ซาเวจ · ดูเพิ่มเติม »

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2494 — 16 เมษายน พ.ศ. 2552) อดีตนักมวยแชมป์โลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท (140 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) มีชื่อจริงว่า บุญส่ง มั่นศรี เป็นชาวตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ แสนศักดิ์ เป็นนักมวยที่มีช่วงแขนยาวกว่าปกติ และมีหมัดซ้ายหนักโดยธรรมชาติ นับเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 5 และเป็นนักมวยแชมป์โลกรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา นอกจากนี้แสนศักดิ์ยังเป็นเจ้าของสถิติโลก ที่ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งก็ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลกอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮตตี แม็กแดเนียล

แฮตตี แม็กแดเนียล (Hattie McDaniel) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1895 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1952) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน และถือเป็นชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์ ไม่ว่าจะในสาขาใด ๆ เธอได้รับรางวัลนักแสดงสมทบยอดเยี่ยมจากบทบาท แมมมี ใน Gone with the Wind (1939) แม็กแดเนียล ยังเป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงอาชีพ ดาราตลก นักแสดงละครเวที นักแสดงละครวิทยุ และดาราโทรทัศน์ เธอยังถือเป็นหญิงชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่ร้องเพลงบนวิทยุอเมริกัน ในอาชีพการทำงานของเธอ แม็กแดเนียลมีผลงานแสดงภาพยนตร์ 300 เรื่อง ถึงแม้ว่าเธอยังได้รับเครดิตเพียง 80 เรื่อง เธอยังได้รับความนับถือในสังคมธุรกิจชาวแอฟริกันอเมริกัน ในความเอื้อเฟื้อ ความดีเลิศและเสน่ห์ แม็กแดเนียลมีชื่อบนดวงดาวบนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม ในฮอลลีวูด 2 ดวงดาว โดยดวงดาวหนึ่งสำหรับวิทยุ อยู่บน 6933 ฮอลลีวูดบูเลวาร์ด อีกดวงดาวสำหรับภาพยนตร์ อยู่ที่ 1719 ไวน์สตรีท และในปี 1975 เธอมีชื่ออยู่ในแบล็กฟิล์มเมกเกอร์สฮอลออฟเฟม และในปี 2006 เธอมีผู้ชนะรางวัลออสการ์ผิวดำคนแรกที่ได้รับเกียรติให้มีภาพอยู่บนแสตมป์อเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแฮตตี แม็กแดเนียล · ดูเพิ่มเติม »

แดน แอครอยด์

แดเนียล เอ็ดเวิร์ด "แดน" แอครอยด์ (Daniel Edward "Dan" Aykroyd; เกิด 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1952) เป็นนักแสดง นักแสดงตลก นักเขียนบท และนักดนตรีชาวแคนาดา-อเมริกัน เขามีชื่อเสียงครั้งแรกในฐานะเป็นตัวละครในช่วงไพรม์ไทม์ในรายการ แซตเทอร์เดย์ไนต์ไลฟ์ ซึ่งทำให้เขาคว้ารางวัลเอมมี่สาขาบทที่โดดเด่นในประเภทคอมเมดี้-วาไรตี้ และรับบทเป็น เรย์ สแตนด์ ในภาพยนตร์ Ghostbusters (1984) และ Ghostbusters II (1989) ในปี 1990 เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง Driving Miss Daisy ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแดน แอครอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โภคิน พลกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโภคิน พลกุล · ดูเพิ่มเติม »

โยชิตากะ อามาโนะ

ตากะ อามาโนะ โยชิตากะ อามาโนะ เกิดเมื่อ 28 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโยชิตากะ อามาโนะ · ดูเพิ่มเติม »

โยสไตน์ กอร์เดอร์

Jostein Gaarder โยสไตน์ กอร์เดอร์ (นอร์เวย์: Jostein Gaarder) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ และเป็นเจ้าของผลงานชื่อดังหลายเล่ม ทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น และหนังสือสำหรับเด็ก กอร์เดอร์มักจะเขียนงานจากมุมมองของเด็กที่สำรวจและมองเห็นความอัศจรรย์ของโลก งานหลายชิ้นของเขาเป็นงานเขียนแบบเรื่องซ้อนเรื่อง (Metafiction) ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของกอร์เดอร์คือโลกของโซฟี ซึ่งเป็นนวนิยายเกี่ยวกับประวัติความคิดทางปรัชญา โดยงานชิ้นนี้ได้รับการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ ถึง 53 ภาษา และมียิดพิมพ์มากกว่า 30 ล้านเล่ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโยสไตน์ กอร์เดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โยะชิโอะ ชิระอิ

() นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 เสียชีวิตเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2546 รวมอายุได้ 80 ปี สถิติการชก 58 ครั้ง ชนะ 46 (น็อค 18) เสมอ 4 แพ้ 8 เป็นแชมป์โลกมวยสากลคนแรกของประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโยะชิโอะ ชิระอิ · ดูเพิ่มเติม »

โยคานัน อาเฟ็ก

นัน อาเฟ็ก (יוחנן אפק; Yochanan Afek) เกิดวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโยคานัน อาเฟ็ก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นโรงเรียนสาธิตในสังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่เลขที่ 174 ซอยสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ได้พัฒนาจากโรงเรียนประสานมิตร ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญศึกษาในบริเวณโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงเป็นระบบโรงเรียนสาธิต เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติงานในการฝึกสอนระดับมัธยมศึกษาของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และต่อมาได้ตั้งโรงเรียนประถมสาธิต วิทยาลัยวิชาการศึกษา เพิ่มเป็นสถานที่ปฏิบัติงานในการฝึกสอนระดับประถมศึกษา และได้มีการพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มีการแบ่งหน่วยงานออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) และ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์โต เบนิญญี

รแบร์โต เรมีโจ เบนิญญี (Roberto Remigio Benigni; เกิด 27 ตุลาคม ค.ศ. 1952) เป็นนักแสดง นักแสดงตลก นักเขียนบท ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรแบร์โต เบนิญญี · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต เซเม็กคิส

รเบิร์ต ลี "บ็อบ" เซเม็กคิส (Robert Lee "Bob" Zemeckis) เป็นผู้กำกับ ผู้อำนวยการสร้าง และ นักเขียนบทภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เขามีผลงานสร้างชื่อครั้งแรกในยุค 1980 จากผลงานโด่งดัง ภาพยนตร์ตลกเกี่ยวกับการท่องไปในกาลเวลาเรื่อง เจาะเวลาหาอดีต ที่ทำออกมา 3 ภาค และยังมีผลงานไลฟ์-แอกชัน/แอนิเมชัน เรื่อง Who Framed Roger Rabbit (1988) ถึงแม้ว่าต่อมาเขายังมีผลงานแนวดราม่า อย่างเช่นเรื่อง Forrest Gump (1994), ที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม ผลงานของเขามีความน่าสนใจในงานผสมผสานศิลปะแบบสเปเชียลเอฟเฟกต์เข้าไป รวมถึงในตอนต้นกับภาพยนตร์เรื่อง เจาะเวลาหาอดีต 2 และ The Polar Express (2004).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรเบิร์ต เซเม็กคิส · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ มิลลา

อัลเบิร์ต โรเจอร์ มิลลา (Albert Roger Milla) (เกิด 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 ที่เมืองยาอุนเด) นักฟุตบอลจากประเทศแคเมอรูน ถึงแม้ว่า โรเจอร์ มิลลา ได้เริ่มเล่นให้ทีมชาติแคเมอรูนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2521 ลงเล่นฟุตบอลโลกครั้งแรกในปี พ.ศ. 2525 แต่มีชื่อเสียงในฟุตบอลโลก 1990 และฟุตบอลโลก 1994 ในการแข่งขันที่สหรัฐอเมริกา โรเจอร์ มิลลา ได้ทำประตูของเขาในขณะที่อายุ 42 ปี 39 วัน ทำให้เป็นสถิติฟุตบอลโลก นักฟุตบอลที่อายุสูงสุดที่ทำประตูได้ ในนัดที่แข่งกับทีมชาติรัสเซีย ชีวิตในช่วงเด็กของ โรเจอร์ มิลลา ได้ย้ายที่อยู่บ่อยเนื่องจากพ่อทำงานสร้างทางรถไฟ เริ่มเล่นฟุตบอลครั้งแรกเมื่ออายุ 13 ปี ให้กับสโมสร เอแคลร์ เมื่ออายุ 25 ปี ได้นำทีม ตงแนร์ เป็นแชมป์ ในปี พ.ศ. 2520 (1977) โรเจอร์ มิลลาได้ไปยุโรปและเล่นให้กับสโมสร วาล็องเซียนส์ ในฝรั่งเศส แต่ไม่ได้ลงเล่นตลอดเวลา 2 ปี และได้ย้ายต่อไปที่ อาแอส โมนาโก และ บาสเตีย จนในที่สุดได้ย้ายไปเล่นให้กับ แซงต์-เอเตียง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโรเจอร์ มิลลา · ดูเพิ่มเติม »

โคอิชิ มะชิโมะ

อิชิ มะชิโมะ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และโคอิชิ มะชิโมะ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา สะสมทรัพย์

มทรัพย์ (18 กันยายน พ.ศ. 2495 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไชยา สะสมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว (ชื่อเล่น ปั่น) เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2495 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ไอน์สไตเนียม

ไอน์สไตเนียม (Einsteinium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 99 และสัญลักษณ์คือ Es เป็นธาตุโลหะหนักกัมมันตรังสี มีลักษณะสีเงินวาว อยู่ในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide group) ไอน์สไตเนียมสังเคราะห์ครั้งแรกโดยการยิงธาตุพลูโทเนียมด้วยอนุภาคนิวตรอน ธาตุใหม่ที่ได้ตั้งชื่อตาม อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ไอน์สไตเนียมพบในซากปรักหักพังของการทดลองระเบิดไฮโดรเจนด้วย อไน์สตไนเอียม อไน์สตไนเอียม อไน์สตไนเอียม อไน์สตไนเอียม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และไอน์สไตเนียม · ดูเพิ่มเติม »

เบน วิลลาฟอร์

น วิลลาฟอร์ (Ben Villaflor) เกิดเมื่อ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเบน วิลลาฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนนี เออร์คิวเดซ

นนี เออร์คิวเดซ (Benny Urquidez; ชื่อเล่น: เดอะเจ็ท; 20 มิถุนายน ค.ศ. 1952 —) เป็นทั้งคิกบ็อกเซอร์, นักออกแบบคิวบู๊ และนักแสดงชาวอเมริกัน เออร์คิวเดซเดิมเป็นผู้เข้าแข่งขันคาราเต้แบบนอน-คอนแท็ก (แบบไม่ปะทะจริง) ก่อนที่จะมาเป็นผู้บุกเบิกการต่อสู้แบบฟูล-คอนแท็ก (แบบปะทะจริง) ในสหรัฐ โดยได้หันเหสู่คาราเต้แบบฟูล-คอนแท็กในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเบนนี เออร์คิวเดซ · ดูเพิ่มเติม »

เฟอร์เมียม

เฟอร์เมียม (Fermium.) เป็นธาตุในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide group) มีเลขอะตอม 100 และสัญลักษณ์ Fm โดยตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์นิวเคลียร์ชื่อ เอนรีโก แฟร์มี (Enrico Fermi) มีสีเงินวาว เป็นธาตุโลหะหนักกัมมันตรังสี และเป็นธาตุสังเคราะห์โดยสังเคราะห์ได้ครั้งแรกจากการยิงพลูโทเนียมด้วยนิวตรอน หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:สารกัมมันตรังสี หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเฟอร์เมียม · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ

แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ เป็นแพทย์แผนปัจจุบันคนแรกของไทยที่บุกเบิกนำเอาสมุนไพรมาใช้ร่วมกับการรักษาแบบแผนปัจจุบัน ในโรงพยาบาลวังน้ำเย็นจังหวัดสระแก้วและเป็นผู้ก่อตั้งสถาบันการแพทย์แผนไทยซึ่งทำให้ศาสตร์องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยที่ถึงหลงลืมไปนานกลับมาได้ความนิยมอีกครั้งหนึ่ง อีกทั้งยังได้รับเลือกเป็นแพทย์ดีเด่นชนบท ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียง กัลป์ตินันท์

นายเกรียง กัลป์ตินันท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี อดีตสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเกรียง กัลป์ตินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ ชินวัตร

วเรศ ชินวัตร อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20 เป็นผู้ดูแลพื้นที่ภาคใต้ของพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย และเป็นพี่สาวของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเยาวเรศ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

เร็กซ์ ทิลเลอร์สัน

ร็กซ์ เวย์น ทิลเลอร์สัน (Rex Wayne Tillerson) เกิดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเร็กซ์ ทิลเลอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

เล เลือง มิญ

ล เลือง มิญ (เกิด 1 กันยายน ค.ศ. 1952) เขาเป็นนักการเมืองประเทศเวียดนาม และเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คนปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเล เลือง มิญ · ดูเพิ่มเติม »

เลียม นีสัน

วิลเลียม จอห์น "เลียม" นีสัน, โอบีอี (William John "Liam" Neeson, OBE) เป็นนักแสดงชาวไอร์แลนด์ ที่ต่อมาเป็นพลเมืองอเมริกันตั้งแต่ปี 2009 เขาเป็นที่รู้จักจากบทบาทออสการ์ ชินด์เลอร์ ในภาพยนตร์เรื่อง Schindler's List, บทไมเคิล คอลลินส์ใน Michael Collins, บทไควกอน จินน์ ใน Star Wars Episode I: The Phantom Menace, บทอัลเฟรด คินเซย์ ใน Kinsey, บทแอสลัน ในภาพยนตร์ซีรีส์ The Chronicles of Narnia และจะรับบทจอห์น "แฮนนิบอล" สมิธ ใน A-Team movie เขาเกิดในบัลลีเมนา เคาน์ตีแอนทริม และศึกษาที่นั่นที่มหาวิทยาลัยเบลฟาสต์ เขาย้ายไปดับลินหลังจากจบมหาวิทยาลัยและเริ่มอาชีพการแสดง ร่วมกับคณะละครเวทีแอบบี ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เขาย้ายมาที่สหรัฐอเมริกา ที่เขาเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการแสดงเรื่อง Schindler's list ทำให้เขาเป็นบุคคลมีฐานชื่อเสียงที่ดี เขายังเล่นในหนังแนวบล็อกบัสเตอร์หลายเรื่องอย่างเช่น The Dead Pool, Darkman, Rob Roy, Kingdom of Heaven, Batman Begins, และ Taken ด้านชีวิตส่วนตัวเขาเป็นพ่อม่ายอยู่ในนิวยอร์กกับบุตรชาย 2 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเลียม นีสัน · ดูเพิ่มเติม »

เสาวนีย์ อัศวโรจน์

ตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ สกุลเดิม สุจริตกุล (เกิด 15 มิถุนายน พ.ศ. 2495) หนึ่งในตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2546 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ศาสตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย ศาสตราจารย์ เสาวนีย์ อัศวโรจน์ หรือที่รู้กันในนาม ศาสตราจารย์ ดร.เสาวนีย์ อัศวโรจน์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน คตส. ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเสาวนีย์ อัศวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ เชาว์สุรินทร์

น่ห์ เชาว์สุรินทร์ (26 มกราคม พ.ศ. 2495 —) เป็นนักฟันดาบสากลชาวไทย ผู้ซึ่งเข้าแข่งขันทั้งประเภทบุคคลและประเภททีม ในรายการเอเป้ที่โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 และเคยดำรงตำแหน่งที่ปรึกษา 11 ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหมียว เข่อซิ่ว

หมียว เข่อซิ่ว (Nora Miao Ke Hsiu;; 8 ก.พ. 1952 (อายุ 65) ชื่อจริง 陳詠嫻 เฉินหย่งเสียน, พินอิน :Chényǒngxián ; ดารานักแสดงหญิงของฮ่องกง,พรีเซ็นเตอร์ โด่งดังในยุค 70-80 เหมียเข่อซิ่ว เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1952 ที่ ฮ่องกง พื้นเพเดิมของบรรพชนเป็นชาวหนานไห่ 南海 มณฑลกวางตุ้ง 廣東 ประเทศจีน เหมียวเข่อซิ่ว จบการศึกษาที่ วิทยาลัยเซนต์โรสออฟลิม่า St. Rose of Lima's College ชื่อจีน 聖羅撒書院 เซิงหลัวซาซูย่วน, พินอิน :Shèngluó sā shūyuàn เหมียวเข่อซิ่ว มีชื่อเสียงโด่งดังจากภาพยนตร์ของบริษัท โกลเด้นท์ฮาร์เวสต์ Golden Harvest ในยุค 1970 เธอมักจะได้แสดงภาพยนตร์ร่วมกับพระเอกชื่อ เคอจุ้นสง 柯俊雄, พินอิน: Kējùnxióng ; ในภาพยนตร์แนวรักโรแมนติค อีกทั้งยังเคยแสดงร่วมกับบรูซลี และ เฉินหลงอีกด้วย ภาพยนตร์ชุดทางจอแก้วที่เรารู้จักก็คือผลงานการแสดงเรื่อง กระบี่ไร้เทียมทาน รับบทเป็น ต๊กโกวหงส์ และซิลเวสเตอร์ สตอลโลน ได้เล่นในค่ายนี้รับบทเป็นจอห์น แรมโบ้ ในภาพยนตร์เรื่อง แรมโบ้ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเหมียว เข่อซิ่ว · ดูเพิ่มเติม »

เอบา เปรอน

มารีอา เอบา ดัวร์เต เด เปรอน (María Eva Duarte de Perón; 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 – 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1952) เป็นผู้นำการเมืองของประเทศอาร์เจนตินา เป็นภริยาคนที่ 2 ของประธานาธิบดี ควน เปรอน (ค.ศ. 1895–1974) และเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของอาร์เจนตินาระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเอบา เปรอน · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี (เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์เผ่า เป็นศิษย์รุ่นแรกของศิลปินแห่งชาติ รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟ์ โกลด์บลุม

ฟฟ์ โกลด์บลุม (Jeff Goldblum) มีชื่อเต็มว่า เจฟฟรีย์ ลินน์ โกลด์บลุม (Jeffrey Lynn Goldblum) เกิดเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) ที่เมืองพิทท์สเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ผลงานดัง ๆ ที่สร้างชื่อเสียง ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเจฟฟ์ โกลด์บลุม · ดูเพิ่มเติม »

เทร์รี โอควินน์

ทร์รันซ์ "เทร์รี" โอควินน์ (Terrance "Terry" O'Quinn) เกิดเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานครั้งแรกในภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่อง F.D.R.: The Last Year จากนั้นเขาได้รับแสดงสมทบในภาพยนตร์และทางโทรทัศน์หลายเรื่องอย่างเช่น Young Guns, All the Right Moves, Silver Bullet, Places in the Heart และ Between Two Women ยังเป็นแขกให้รายการโทรทัศน์อย่าง Miami Vice, The Twilight Zone, Tales of the Unexpected, The West Wing และ Remington Steele โอควินน์มีชื่อเสียงในเรื่อง The Stepfather และ Stepfather II และในปี 1996 เขาแสดงในบทปีเตอร์ วัตส์ใน Millennium ที่มีอยู่ 3 ฤดูกาล (1996-1999) เขายังแสดงบทจอห์น ล็อก ในซีรีส์ทางช่องเอบีซี เรื่อง Lost ที่เขาได้รับรางวัลเอมมีในปี 2007 และเคยได้รับการเสนอชื่อก่อนหน้านี้นปี 2005 อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเทร์รี โอควินน์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระโขนง

ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตวัฒนา

ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเขตวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด แฮสเซลฮอฟ

วิด ไมเคิล แฮสเซลฮอฟ (David Michael Hasselhoff) หรือฉายา เดอะฮอฟ (The Hoff) เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเดวิด แฮสเซลฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพ

รือจักรภพ (commonwealth) เป็นคำภาษาอังกฤษเดิมใช้กับชุมชนการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในอดีต บางครั้งคำนี้สมนัยกับ "สาธารณรัฐนิยม" ภายหลังคำนี้ใช้กับสมาคมรัฐเอกราช ที่โดดเด่นที่สุด คือ เครือจักรภพแห่งชาติ สมาคมสำหรับอดีตสมาชิกจักรวรรดิอังกฤษเป็นหลัก มักเรียกย่อเป็น "เครือจักรภพ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

เตรียม ชาชุมพร

ตรียม ชาชุมพร ภาพตัวละครในแบบเรียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาชุด มานะ มานี ปิติ ชูใจ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ผลงานการวาดของเตรียม ชาชุมพร เตรียม ชาชุมพร (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 — 24 มกราคม พ.ศ. 2533) นักเขียนการ์ตูนฝีมือระดับแนวหน้าของไทย ผู้มีผลงานอันโดดเด่นอยู่จากลายเส้นและบรรยากาศแบบไทยๆ ในงานเขียนต่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานภาพประกอบแบบเรียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาชุด มานะ มานี ปิติ ชูใ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเตรียม ชาชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

เตือนใจ ดีเทศน์

ตือนใจ ดีเทศน์ (สกุลเดิม: กุญชร ณ อยุธยา; เกิด: 8 เมษายน พ.ศ. 2495) เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงราย และเป็นนักพัฒนาสังคม ปัจจุบันเป็นกรรมการสิทธิมนุษยชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเตือนใจ ดีเทศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน ข่ายเกอ

ฉิน ข่ายเกอ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2495 -) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวจีน ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เฉิน ข่ายเกอ เกิดที่ปักกิ่ง ในวัยรุ่น ขณะประเทศจีนกำลังอยู่ในช่วงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เขาร่วมเป็นหนึ่งในกองทัพพิทักษ์แดง (เรดการ์ด - Red Guard) หลังสิ้นสุดการปฏิวัติวัฒนธรรม เขาเข้าศึกษาต่อที่สถาบันภาพยนตร์แห่งปักกิ่ง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเฉิน ข่ายเกอ · ดูเพิ่มเติม »

เซลมัน แวกส์มัน

ซลมัน อับราฮัม แวกส์มัน (Selman Abraham Waksman; 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1888 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1973) เป็นนักชีวเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวอเมริกันเชื้อสายยิว เกิดที่เขตเคียฟ จักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันอยู่ในประเทศยูเครน) เป็นบุตรของยาคอบ แวกส์มันและเฟรเดีย ลอนดอน แวกส์มันย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเซลมัน แวกส์มัน · ดูเพิ่มเติม »

เซียร์เกย์ จูคอฟ

ซียร์เกย์ วลาดิมิโรวิช จูคอฟ (Сергей Владимирович Жуков.) เก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเซียร์เกย์ จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปรีโก เฟร์นันเดซ

ปโดร เฟร์นันเดซ กัสตีเยโคส (Pedro Fernández Castillejos) หรือ เปรีโก เฟร์นันเดซ (Perico Fernández) หรือ นักมวยสากลชาวสเปน เกิดเมื่อ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่เมืองซาราโกซา ประเทศสเปน สถิติการชก 128 ครั้ง ชนะ 83 (น็อก 48) เสมอ 15 แพ้ 28.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และเปรีโก เฟร์นันเดซ · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ11 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ11 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ12 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

13 สิงหาคม

วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤศจิกายน

วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ17 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 สิงหาคม

วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ18 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 ธันวาคม

วันที่ จันทร์ 19 ธันวาคม เป็นวันที่ 353 ของปี (วันที่ 354 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ19 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กุมภาพันธ์

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 51 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 314 วันในปีนั้น (315 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ21 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ23 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ธันวาคม

วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ24 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤษภาคม

วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เป็นวันที่ 146 ของปี (วันที่ 147 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 219 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

26 ตุลาคม

วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ26 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ธันวาคม

วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ27 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ28 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ29 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มีนาคม

วันที่ 3 มีนาคม เป็นวันที่ 62 ของปี (วันที่ 63 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 303 วันในปีนั้น/.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ3 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ30 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ30 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

30 มีนาคม

วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันที่ 89 ของปี (วันที่ 90 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 276 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ30 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤษภาคม

วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ5 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ5 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ5 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ6 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ8 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ8 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2495และ9 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1952

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »