สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: ชุดแปลโปรแกรมของกนูการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุภาษาสมอลล์ทอล์กภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจภาษาจาวาภาษาซีภาษาซีพลัสพลัสมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีสตีฟ จอบส์คริสต์ทศวรรษ 1980คลัง (โปรแกรม)คอมไพเลอร์แบรด ค็อกซ์แอปเปิล (บริษัท)
- ตระกูลภาษาซี
- ภาษาโปรแกรมที่มีชนิดข้อมูลแบบพลวัต
- ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
- ภาษาโปรแกรมแบบคลาส
- เน็กซ์คอมพิวเตอร์
ชุดแปลโปรแกรมของกนู
GCC เริ่มพัฒนาใน..
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและชุดแปลโปรแกรมของกนู
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-oriented programming, OOP) คือหนึ่งในรูปแบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ให้ความสำคัญกับ วัตถุ ซึ่งสามารถนำมาประกอบกันและนำมาทำงานรวมกันได้ โดยการแลกเปลี่ยนข่าวสารเพื่อนำมาประมวลผลและส่งข่าวสารที่ได้ไปให้ วัตถุ อื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทำงานต่อไป แนวคิดการเขียนโปรแกรมแบบดังเดิมมักนิยมใช้ ในการสร้างเว็บไซต์ต่าง.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
ภาษาสมอลล์ทอล์ก
ษาสมอลล์ทอล์ก (Smalltalk) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุที่ได้ออกแบบในปี..
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและภาษาสมอลล์ทอล์ก
ภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจ
ภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจ (Objective-J) พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ใน Cappuccino สำหรับใช้ทำ web application ภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจ มีลักษณะวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี แต่ใช้ ECMAScript หรือ JavaScript แทนส่วนที่เป็นภาษาซี ภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจ ในแบบที่ใช้บนเว็บจะใช้ runtime ที่พัฒนาเลียนแบบ Objective-C runtime โดยตัวโปรแกรมจะใช้ชุดคำสั่งภาษา ECMAScript คอมไพล์ชุดคำสั่งภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจ เป็น ECMAScript ก่อน ทั้งนี้ นอกจากใช้ในการทำเว็บแอปพลิเคชันแล้ว ยังมีการเริ่มใช้ภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจเพื่องาน application scripting ด้วย หมวดหมู่:ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและภาษาอ็อบเจกทีฟ-เจ
ภาษาจาวา
ลโก้ของภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java programming language) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและภาษาจาวา
ภาษาซี
ษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมสำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป เริ่มพัฒนาขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2512-2516 (ค.ศ. 1969-1973) โดยเดนนิส ริชชี่ (Denis Retchie) ที่เอทีแอนด์ทีเบลล์แล็บส์ (AT&T Bell Labs) ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมและมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและอนุญาตให้มีขอบข่ายตัวแปร (scope) และการเรียกซ้ำ (recursion) ในขณะที่ระบบชนิดตัวแปรอพลวัตก็ช่วยป้องกันการดำเนินการที่ไม่ตั้งใจหลายอย่าง เหมือนกับภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่งส่วนใหญ่ในแบบแผนของภาษาอัลกอล การออกแบบของภาษาซีมีคอนสตรักต์ (construct) ที่โยงกับชุดคำสั่งเครื่องทั่วไปได้อย่างพอเพียง จึงทำให้ยังมีการใช้ในโปรแกรมประยุกต์ซึ่งแต่ก่อนลงรหัสเป็นภาษาแอสเซมบลี คือซอฟต์แวร์ระบบอันโดดเด่นอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดตลอดกาล และตัวแปลโปรแกรมของภาษาซีมีให้ใช้งานได้สำหรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นส่วนมาก ภาษาหลายภาษาในยุคหลังได้หยิบยืมภาษาซีไปใช้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างเช่น ภาษาดี ภาษาโก ภาษารัสต์ ภาษาจาวา จาวาสคริปต์ ภาษาลิมโบ ภาษาแอลพีซี ภาษาซีชาร์ป ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ภาษาเพิร์ล ภาษาพีเอชพี ภาษาไพทอน ภาษาเวอริล็อก (ภาษาพรรณนาฮาร์ดแวร์) และซีเชลล์ของยูนิกซ์ ภาษาเหล่านี้ได้ดึงโครงสร้างการควบคุมและคุณลักษณะพื้นฐานอื่น ๆ มาจากภาษาซี ส่วนใหญ่มีวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาซีเป็นอย่างมากโดยรวม (ยกเว้นภาษาไพทอนที่ต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง) และตั้งใจที่จะผสานนิพจน์และข้อความสั่งที่จำแนกได้ของวากยสัมพันธ์ของภาษาซี ด้วยระบบชนิดตัวแปร ตัวแบบข้อมูล และอรรถศาสตร์ที่อาจแตกต่างกันโดยมูลฐาน ภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีเดิมเกิดขึ้นในฐานะตัวแปลโปรแกรมที่สร้างรหัสภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีพลัสพลัสแทบจะเป็นเซตใหญ่ของภาษาซี ในขณะที่ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีก็เป็นเซตใหญ่อันเคร่งครัดของภาษาซี ก่อนที่จะมีมาตรฐานภาษาซีอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้และผู้พัฒนาต่างก็เชื่อถือในข้อกำหนดอย่างไม่เป็นทางการในหนังสือที่เขียนโดยเดนนิส ริตชี และไบรอัน เคอร์นิกัน (Brian Kernighan) ภาษาซีรุ่นนั้นจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาเคแอนด์อาร์ซี (K&R C) ต่อม..
ภาษาซีพลัสพลัส
ษาซีพลัสพลัส (C++) เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ มีโครงสร้างภาษาที่มีการจัดชนิดข้อมูลแบบสแตติก (statically typed) และสนับสนุนรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่หลากหลาย (multi-paradigm language) ได้แก่ การโปรแกรมเชิงกระบวนคำสั่ง, การนิยามข้อมูล, การโปรแกรมเชิงวัตถุ, และการโปรแกรมแบบเจเนริก (generic programming) ภาษาซีพลัสพลัสเป็นภาษาโปรแกรมเชิงพาณิชย์ที่นิยมมากภาษาหนึ่งนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1990 เบียเนอ สเดราสดร็อบ (Bjarne Stroustrup) จากเบลล์แล็บส์ (Bell Labs) เป็นผู้พัฒนาภาษาซีพลัสพลัส (เดิมใช้ชื่อ "C with classes") ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและภาษาซีพลัสพลัส
มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี
300px มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี (Free Software Foundation, ชื่อย่อ: FSF) เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่ก่อตั้งโดย ริชาร์ด สตอลล์แมน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและมูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี
สตีฟ จอบส์
ตีฟ จอบส์ เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย มีชื่อจริงว่า สตีเวน พอล จอบส์ เป็นบุตรบุญธรรมของพอล แรนโฮลด์ จอบส์ กับคลารา จอบส์ (สกุลเดิม ฮาโกเพียน) ครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายอาร์เมเนีย*.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและสตีฟ จอบส์
คริสต์ทศวรรษ 1980
ริสต์ทศวรรษ 1980 (1980s) หรือยุคเอจตี้ส์ เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1980 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เป็นช่วงเวลาที่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทั่วไปอย่างความร่ำรวย การผลิตที่เปลี่ยนไปสู่ยุคเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรีที่พัฒนาไปทั่วโลก บริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมที่เข้าสู่ประเทศอย่าง ประเทศไทย มาเลเซีย เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ประเทศจีน และเศรษฐกิจตลาดใหม่ในยุโรปตะวันออก ตามมาด้วยการล่มสลายของคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นและเยอรมนีถือเป็นประเทศที่เห็นเด่นชัดว่าพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตลอดทศวรรษนี้ ประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกมีประสบความยากลำบากด้านความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศเหล่านั้นพบกับปัญหาหนี้สินในคริสต์ทศวรรษ 1980 ประเทศเหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ประเทศเอธิโอเปียประสบปัญหาความยากจนในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผลคือประเทศต้องการความช่วยเหลือจากต่างชาติในด้านอาหารกับประชากรและทั่วโลกต่างกันช่วยหาเงินช่วยเหลือต่อชาวเอธิโอเปีย อย่างเช่นคอนเสิร์ตไลฟ์เอด ในปี 1985 ที่จัดขึ้นเพื่อหาเงินดังกล่าว ปัญหาด้านสงคราม เกิดความรุนแรงในตะวันออกกลาง อย่างสงครามอิรัก-อิหร่าน และความขัดแย้งในเลบานอนช่วงปี 1982 ถึง 1983 และกองทัพอเมริกันเข้าบุกลิเบียในปี 1985 และ Intifada ในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์ คริสต์ทศวรรษ 1980 ยังเป็นยุคที่มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างมาก ไปทั่วโลก มากกว่าแม้ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และคริสต์ทศวรรษ 1990 มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะชาวแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ตลอดทศวรรษ ด้วยอัตราการเพิ่มใกล้หรือมากกว่า 4% ต่อปี.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและคริสต์ทศวรรษ 1980
คลัง (โปรแกรม)
ตัวอย่างแผนภาพแสดงการเรียกใช้งานไลบรารีของโปรแกรมเล่นสื่อผสมประเภท Ogg Vorbis คลังโปรแกรม หรือ ไลบรารี (library) ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ คือส่วนที่รวบรวมกระบวนการ (process) และฟังก์ชันย่อย (subroutine) ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะรวมซอร์สโค้ดหรือไม่ก็ได้ ที่จำเป็นต้องใช้ในการเขียนซอฟต์แวร์หรือใช้ในการทำงานของโปรแกรมหนึ่ง.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและคลัง (โปรแกรม)
คอมไพเลอร์
คอมไพเลอร์ (compiler) หรือ โปรแกรมแปลโปรแกรม, ตัวแปลโปรแกรม เป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าแปลงชุดคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์หนึ่ง ไปเป็นชุดคำสั่งที่มีความหมายเดียวกัน ในภาษาคอมพิวเตอร์อื่น คอมไพเลอร์ส่วนใหญ่ จะทำการแปล รหัสต้นฉบับ (source code) ที่เขียนในภาษาระดับสูง เป็น ภาษาระดับต่ำ หรือภาษาเครื่อง ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถที่จะทำงานได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม การแปลจากภาษาระดับต่ำเป็นภาษาระดับสูง ก็เป็นไปได้ โดยใช้ตัวแปลโปรแกรมย้อนกลับ (decompiler) รูปแสดงขั้นตอนการทำงานของตัวแปลโปรแกรม ผลลัพธ์ของการแปลโปรแกรม (คอมไพล์) โดยทั่วไป ที่เรียกว่า ออบเจกต์โค้ด จะประกอบด้วยภาษาเครื่อง (Machine code) ที่เต็มไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับชื่อและสถานที่ของแต่ละจุด และการเรียกใช้วัตถุภายนอก (Link object) (สำหรับฟังก์ชันที่ไม่ได้อยู่ใน อ็อบเจกต์) สำหรับเครื่องมือที่เราใช้รวม อ็อบเจกต์เข้าด้วยกัน จะเรียกว่าโปรแกรมเชื่อมโยงเพื่อที่ผลลัพธ์ที่ออกมาในขั้นสุดท้าย เป็นไฟล์ที่ผู้ใช้งานทั่วไปสามารถใช้งานได้สะดวก คอมไพเลอร์ที่สมบูรณ์ตัวแรก คือ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ของ ไอบีเอ็ม ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและคอมไพเลอร์
แบรด ค็อกซ์
แบรด ค็อกซ์ (Brad Cox) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์คอมพิวเตอร์ และ จบดอกเตอร์ด้าน คณิตศาสตร์ทางชีววิทยา เป็นที่รู้จักกว้างขวางจากงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนา ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ได้รับปริญญาทางด้าน วิทยาศาสตร์ สาขา ออแกนิคเคมี และ คณิตศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเฟอร์แมน และได้รับปริญญาเอกด้าน คณิตศาสตร์ทางชีววิทยา จากมหาวิทยาลัยชิคาโก ในระหว่างที่กำลังทำโครงการด้านซอฟต์แวร์ ที่เป็นที่รู้จักคือ PDP-8 เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานเลียนแบบระบบประสาทของมนุษย์ เขาทำงานให้กับ สถาบันสุขภาพและสถาบันวูดโฮลโอเชียโนกราฟิก ก่อนจะออกไปทำงานเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์คอมพิวเตอร.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและแบรด ค็อกซ์
แอปเปิล (บริษัท)
ริษัทแอปเปิล (Apple Inc.) หรือในชื่อเดิม บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer Inc.) เป็นบริษัทในซิลิคอนแวลลีย์ ทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แอปเปิลปฏิวัติคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในยุค 70 ด้วยเครื่องแอปเปิล I และแอปเปิล II และแมคอินทอช ในยุค 80 ปัจจุบันแอปเปิลมีชื่อเสียงด้านฮาร์ดแวร์ เช่น ไอแมค ไอพอด ไอโฟน ไอแพด และร้านขายเพลงออนไลน์ไอทูน.
ดู ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีและแอปเปิล (บริษัท)
ดูเพิ่มเติม
ตระกูลภาษาซี
- ภาษาจาวา
- ภาษาซี
- ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี
- ภาษาเพิร์ล
ภาษาโปรแกรมที่มีชนิดข้อมูลแบบพลวัต
- จาวาสคริปต์
- ภาษากรูวี
- ภาษาพีเอชพี
- ภาษารูบี
- ภาษาลิสป์
- ภาษาสมอลล์ทอล์ก
- ภาษาอาร์
- ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี
- ภาษาเพิร์ล
- ภาษาเออร์แลง
- ภาษาโปรล็อก
- ภาษาโลโก
- ภาษาไพทอน
- แมตแล็บ
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ
- ภาษากรูวี
- ภาษาจาวา
- ภาษาซีพลัสพลัส
- ภาษาพีเอชพี
- ภาษาฟอร์แทรน
- ภาษารูบี
- ภาษาวิชวลเบสิก
- ภาษาสมอลล์ทอล์ก
- ภาษาอาบัป
- ภาษาอ็อบเจกต์ปาสกาล
- ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี
- ภาษาเพิร์ล
- ภาษาโคบอล
- ภาษาไพทอน
- วิชวลเบสิกดอตเน็ต
ภาษาโปรแกรมแบบคลาส
- ภาษาจาวา
- ภาษาซิมูลา
- ภาษาซีชาร์ป
- ภาษาซีพลัสพลัส
- ภาษาพีเอชพี
- ภาษารูบี
- ภาษาสมอลล์ทอล์ก
- ภาษาอาบัป
- ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี
- ภาษาโคบอล
- ภาษาไพทอน
- แอ็กชันสคริปต์
เน็กซ์คอมพิวเตอร์
- ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี
- สตีฟ จอบส์
- เน็กซ์ (บริษัท)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Objective-Cภาษาอ็อบเจกทีฟซีภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซีอ็อบเจกทีฟ-ซี