โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไฟดิปพิดีส

ดัชนี ไฟดิปพิดีส

ฟดิปพิดีส (Pheidippides, Phidippides หรือ Philippides; Φειδιππίδης เป็นวีรบุรุษในสมัยกรีกโบราณ ว่ากันว่าเป็นแรงบันดาลใจของการจัดการแข่งขันวิ่งทน (marathon) ในปัจจุบันAubrey de Sélincourt and A. R. Burn. Herodotus - The Histories. Penguin Classics, 1954, 1972. F. J. Frost. "The Dubious Origins of the Marathon". American Journal of Ancient History, 4 (1979) 159-163. Luc-Olivier Merson, 1869 The traditional story relates that Pheidippides (530 BC–490 BC), an Athenian herald, was sent to Sparta to request help when the Persians landed at Marathon, Greece. He ran 240 km (150 miles) in two days. He then ran the 40 km (25 miles) from the battlefield near Marathon to Athens to announce the Greek victory over Persia in the Battle of Marathon (490 BC) with the word "Νενικήκαμεν" (Nenikékamen, "We have won") and collapsed and died on the spot from exhaustion. Most accounts incorrectly attribute this story to the historian Herodotus, who wrote the history of the Persian Wars in his Histories (composed about 440 BC). In reality, the traditional story appears to be a conflation from several different ancient Greek sources having varying levels of authenticity. Robert Browning gave a version of the traditional story in his 1879 poem Pheidippides. ("Fennel-field" is a reference to the Greek word for fennel, marathon, the origin of the name of the battlefield.) It was this poem which inspired Baron Pierre de Coubertin and other founders of the modern Olympic Games to invent a running race of 42 km called the Marathon. The story is improbable, as the Athenians would more likely have sent the messenger on horseback. However, it may have been possible that they used a runner, as a horse's movements would have been hindered by the rocky, mountainous terrain. In any case, no such story appears in Herodotus. The relevant passage of Herodotus (Histories, Book VI, 105...106) is: The significance of this story is only understood in the light of the legend that the god Pan returned the favor by fighting with the Athenian troops and against the Persians at Marathon. This was important because Pan, in addition to his other powers, had the capacity to instill the most extreme sort of fear, an irrational, blind fear that paralysed the mind and suspended all sense of judgment - panic. Herodotus was writing about 30 to 40 years after the events he describes, so it is reasonably likely that Pheidippides is a historical figure. If he ran the 246 km over rough roads from Athens to Sparta within two days, it would be an achievement worthy of remembrance. Whether the story is true or not, it has no connection with the Battle of Marathon itself, and Herodotus's silence on the subject of a herald running from Marathon to Athens suggests strongly that no such event occurred. The first known written account of a run from Marathon to Athens occurs in the works of the Greek writer Plutarch (46–120), in his essay On the Glory of Athens. Plutarch attributes the run to a herald called either Thersippus or Eukles. Lucian, a century later, credits one "Philippides." It seems likely that in the 500 years between Herodotus's time and Plutarch's, the story of Pheidippides had become muddled with that of the Battle of Marathon, and some fanciful writer had invented the story of the run from Marathon to Athens. While the marathon celebrates the mythical run from Marathon to Athens, since 1982 an annual footrace from Athens to Sparta, known as the Spartathlon, celebrates Pheidippides's at least semi-historical run across 250 km of Greek countryside.

11 ความสัมพันธ์: พลูทาร์กกรีซโบราณกีฬาโอลิมปิกลูเชียนสปาร์ตาผักชีล้อมจักรวรรดิอะคีเมนิดแพนแพน (เทพปกรณัม)เอเธนส์เฮอรอโดทัส

พลูทาร์ก

ลูทาร์ก (Plutarch) เมื่อเกิดมีชื่อว่า ปลูตาร์โคส (Πλούταρχος) ต่อมาเมื่อเป็นพลเมืองโรมันได้เปลี่ยนชื่อเป็น ลูกิอุส แม็สตริอุส ปลูตาร์คุส (Lvcivs Mestrivs Plvtarchvs; ราว ค.ศ. 46 – ราว ค.ศ. 120) เป็นนักประวัติศาสตร์ นักเขียนชีวประวัติ นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโตชาวชาวโรมันเชื้อสายกรีกผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียนชีวประวัติและสาขาวิชาต่าง ๆ ''Moralia'', 1531 งานเขียนที่สำคัญของพลูทาร์กก็คือ ชีวิตของชาวกรีกและโรมันชนชั้นขุนนาง (Parallel Lives) และ โมราเลีย (Moralia) พลูทาร์กเกิดในครอบครัวจากตระกูลสูงในเคโรเนียที่อยู่ทางตะวันออกของเดลฟีราว 20 ไมล.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและพลูทาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ลูเชียน

ลูเชียนแห่งซามอซาทา (Lucian of Samosata; Λουκιανὸς ὁ Σαμοσατεύς, Lucianus Samosatensis; ค.ศ. 125 – หลัง ค.ศ. 180) เป็นนักพูดชาวอัสซีเรีย และนักเขียนเรื่องเสียดสีซึ่งเขียนเป็นภาษากรีก มีชื่อเสียงจากความหลักแหลมในการเปรียบเปรยและเสียดสี ลูเชียนนับเป็นหนึ่งในนักเขียนนวนิยายยุคแรกๆ ของอารยธรรมตะวันตก ในเรื่อง A True Story เขาเขียนบทบรรยายร้อยแก้วเป็นการสนทนาในจินตนาการจากเรื่องเล่าแฟนตาซีของโฮเมอร์ ใน โอดิสซีย์ และเทพนิยายอื่นๆ ที่มีชื่อเสียงในยุคสมัยของเขา เขาเขียนเรื่องราว "ทันสมัย" เช่นการเดินทางไปดวงจันทร์และดาวศุกร์ ชีวิตจากต่างดาว และสงครามระหว่างดาว ตั้งแต่เมื่อพันปีก่อนยุคของจูลส์ เวิร์น และ เอช. จี. เวลส์ เสียอีก นิยายของเขานับได้ว่าเป็นนิยายวิทยาศาสตร์ยุคแรกๆ ของโลก แม้จะไม่ใช่เรื่องแรกที่สุดก็ตาม.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและลูเชียน · ดูเพิ่มเติม »

สปาร์ตา

แผนที่สปาร์ตาโบราณ สปาร์ตา (Doric: Spártā, Attic: Spártē) เป็นชื่อเรียกของรัฐอิสระ ของชาวดอเรียน ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าที่สำคัญของกรีกในยุคโบราณ สปาร์ตามีศูนย์กลางอยู่ที่ลาโอเนีย และมีจุดเด่นที่เน้นการฝึกทหาร จนอาจจะกล่าวได้ว่าสปาร์ตาเป็นรัฐทางทหาร ที่เป็นที่เข้มแข็งที่สุดในประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณ โดยกองทัพสปาร์ตาสามารถมีชัยเหนือจักรวรรดิเปอร์เซีย และ จักรวรรดิเอเธนเนียน และได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ปกป้องรัฐอื่น ๆ ในกรีก พวกสปาร์ตาสามารถตั้งนครรัฐของตนและยึดครองดินแดนต่าง ๆ ได้ด้วยการทำสงคราม ดั้งนั้นจึงให้ความสำคัญกับระบบทหาร หมวดหมู่:กรีซโบราณ หมวดหมู่:นครรัฐในกรีซโบราณ.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและสปาร์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ผักชีล้อม

''Foeniculum vulgare'' ผักชีล้อม (ชื่อวิทยาศาสตร์ Foeniculum vulgare Mill.) เป็นเครื่องเทศที่มีลักษณะใบสีเขียวสด ขี้นในน้ำหรืออาจปลูกในอ่างบัวก็ได้ นิยมใช้แพร่หลายมาช้านาน ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก กล่าวกันว่าเดิมนั้นเป็นพืชประจำท้องถิ่นของแถบเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นพืชที่ให้น้ำมันระเหย ซึ่งมีกล่าวไว้ในนิทานปรัมปราของกรีก และนิทานพื้นบ้านของอิตาลีด้วย ในช่วงขณะหนึ่งที่ยังเรียกกันอย่างสับสนนั้น เรียกผักชีล้อมว่า ยี่หร่าบ้าง ผักชีฝรั่งบ้าง เพื่อความเป็นกลาง กรมวิชาการเกษตร จึงประกาศไว้ใน บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย กำหนดให้เรียกเครื่องเทศชนิดนี้ ว่า ผักชีล้อม เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไทย อันหมายถึง fennel ในภาษาอังกฤษ ส่วนชื่อในท้องถิ่นอื่นของไทยเรียกว่า เทียนแกลบ ผักชีเดือนห้า หรือเรียกแค่ ผักชี ก็มี ในภาษาอังกฤษเรียกว่า fennel มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า fenum อันเป็นคำศัพท์ที่ใช้บรรยายกลิ่นที่หอมหวาน เล่ามาว่าสตรีชาวโรมันนิยมรับประทานผักชีล้อมเพื่อลดความอ้วน ปัจจุบันมีการใช้ผักชีล้อมมากมายในตำรับอาหาร ซึ่งมีส่วนช่วยให้อาหารที่มีมันมากไม่เลี่ยน และย่อยได้ง่าย เชื่อกันว่าผักชีล้อมนั้นช่วยเสริมความแข็งแกร่งและความกล้าหาญ และยังทำให้มีชีวิตยืนยาวด้วย เชื่อกันว่างูนั้นกินผักชีล้อมเพื่อช่วยให้ลอกคราบ ในสมัยกลางนั้น มีการห้อยผักชีล้อมไว้เหนือประตูเพื่อขจัดวิญญาณชั่วร้าย ดอกผักชีล้อมนั้นสีขาว เป็นพืชปรุงรสที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีกลิ่นฉุนรสร้อนแรง ใช้ปรุงอาหารหลายชนิด เชื่อว่ายังช่วยรักษาโรคตา และรักษาสายตาด้ว.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและผักชีล้อม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอะคีเมนิด

ักรวรรดิอะคีเมนียะห์ หรือ จักรวรรดิเปอร์เชียอะคีเมนียะห์ (Achaemenid Empire หรือ Achaemenid Persian Empire, هخامنشیان) (550–330 ก.ค.ศ.) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิแรกของจักรวรรดิเปอร์เชียที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของเกรตเตอร์อิหร่านที่ตามมาจากจักรวรรดิมีเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดจักรวรรดิอะคีเมนียะห์มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7.5 ล้านตารางกิโลเมตร ที่ทำให้เป็นจักรวรรดิที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และเป็นจักรวรรดิที่วางรากฐานของระบบการปกครองจากศูนย์กลางSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty) จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปที่รวมทั้งดินแดนในอัฟกานิสถาน และ ปากีสถาน, บางส่วนของเอเชียกลาง, อานาโตเลีย, เธรซ, บริเวณริมฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่, อิรัก, ตอนเหนือของซาอุดีอาระเบีย, จอร์แดน, ปาเลสไตน์, เลบานอน, ซีเรีย และอียิปต์ไปจนถึงลิเบีย จักรวรรดิอะคีเมนียะห์เป็นศัตรูของนครรัฐกรีกในสงครามกรีซ-เปอร์เชีย เพราะไปปล่อยชาวยิวจากบาบิโลเนีย และในการก่อตั้งให้ภาษาอราเมอิกเป็นภาษาราชการ และพ่ายแพ้ต่ออเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 330 ก่อนคริสต์ศักราช ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โลกของจักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชก็คือกาวางรากฐานที่ได้รับความสำเร็จของระบบการบริหารการปกครองจากศูนย์กลาง และของรัฐบาลที่มีปรัชญาในการสร้างประโยชน์ให้แก่มวลชนSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty).

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและจักรวรรดิอะคีเมนิด · ดูเพิ่มเติม »

แพน

แพน อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและแพน · ดูเพิ่มเติม »

แพน (เทพปกรณัม)

ทพแพนสอนให้แดฟนิสเล่น panpipes (งานก็อปปีของโรมันจากคริสต์ศตวรรษที่ 2 จากงานกรีกของราวร้อยปีก่อนคริสต์ศักราช) แพน (Pan, Πάν) เป็นเทพเจ้าในเทพปกรณัมกรีกที่คู่กับนิมฟ์ เป็นเทพเจ้าแห่งคนเลี้ยงแกะและฝูงแกะ ป่าเขา การล่าสัตว์ และดนตรีพื้นเมือง ชื่อของเทพแพนมาจากภาษากรีก “paein” ที่แปลว่า “ในท้องทุ่ง” (to pasture) ลักษณะของแพนเป็นกึ่งสัตว์กึ่งมนุษย์ที่เดินบนขาหลัง มีเขาเหมือนแพะ ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายฟอน (faun) หรือ ซาไทร์ แพนทรงพำนักอยู่ในอาร์เคเดียเป็นเทพเจ้าแห่งท้องทุ่ง ป่าโปร่ง และลำธารน้ำในป่าโปร่ง และเป็นผู้มีความเกี่ยวพันธ์กับการเจริญพันธุ์ (fertility) และฤดูใบไม้ผลิ นอกจากนั้นกรีกโบราณก็ยังเห็นว่าแพนทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการวิพากษ์นาฏกรรม แพนเทียบเท่ากับฟอนัส (Faunus) ในเทพปกรณัมโรมัน ผู้เป็นพระบิดาของโบนาเดีย (Bona Dea) เทพเจ้าแห่งการเจริญพันธุ์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 แพนกลายมาเป็นเทพเจ้าองค์สำคัญของขบวนการจินตนิยมของยุโรปตะวันตกและในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขบวนการของลัทธิเพกันใหม.

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและแพน (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

เอเธนส์

อเธนส์ (Athens; Αθήνα อธีนา) เป็นเมืองหลวงของประเทศกรีซ และยังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศกรีซ ใช้ชื่อตามพระเจ้าอะธีนาในปุราณวิทยา เป็นหนี่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดนกินช่วงระยะเวลามากกว่า 3,400 ปี และมีการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่ประมาณช่วงสหัสวรรษที่ 11 และ 7 ก่อนคริสตกาล ในช่วงยุคคลาสสิกของกรีซ หรือประมาณปีที่ 508-322 ก่อนคริสต์ศักราช เอเธนส์ขึ้นสู่จุดสูงสุดของอำนาจ และเป็นนครรัฐที่มีอิทธิพลอย่างมากในยุคนั้น อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางของศิลปะ การเรียนรู้ และปรัชญา เมืองเอเธนส์ยังได้รับการอ้างอิงอย่างกว้างขวางว่าเป็นต้นกำเนิดของอารยธรรมตะวันตก และเป็นที่ที่การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรก ปัจจุบันเอเธนส์เป็นเมืองนานาชาติที่ทันสมัย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน อุตสาหกรรม การเมือง และชีวิตทางวัฒนธรรมในกรีซ และภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป เป็นที่ตั้งของท่าเรือไพรีอัส ซึ่งเป็นท่าเรือผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป เอเธนส์ถูกจัดอันดับให้เป็นเมืองที่รวยที่สุดอันดับที่ 39 ของโลก ในปี 2012 ประชากรในเขตเทศบาลเมือง บนขนาดพื้นที่ มีประมาณ 655,442 คน (796,442 คน ณ ปี ค.ศ. 2004) ส่วนประชากรในเขตเมือง (urban area) ทั้งหมด บนขนาดพื้นที่ มี 3,090,508 คน ตามสถิติเมื่อปี..

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮอรอโดทัส

รูปแกะสลักเฮอโรโดทัส เฮอโรโดทัส (Herodotos หรือ Herodotus – ประมาณ พ.ศ. 58-118) นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกผู้บันทึกสงครามเปอร์เซีย ผู้เริ่มต้นประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตก เกิดที่เมืองฮาลิคาร์นาสซัส ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียไมเนอร์ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของเปอร์เซีย เฮอโรโดทัสได้เดินทางท่องเที่ยวศึกษาทั่วดินแดนในเอเชียไมเนอร์และตะวันออกกลาง และยังได้เดินทางลงใต้ไปอียิปต์ถึงเมืองเอเลแฟนทีน (อัสวานในปัจจุบัน) Oikumene) ประมาณ พ.ศ. 90 หรือ 450 ปีก่อนคริสตกาล โดยจำลองจากบันทึกของเฮอโรโดทัส เฮอโรโดทัส เคยอาศัยอยู่ที่กรุงเอเธนส์ หรืออย่างน้อยก็ตอนกลางของกรีกและได้พบกับโสโฟเคิลส์ (Sophocles) ก่อนที่จะไปเข้าเป็นพลเมืองร่วมอยู่กับอาณานิคมกรีกที่เมืองธุริ (Thurii) เมื่อปี..

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและเฮอรอโดทัส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฟิดิปปิเดส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »