โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผักชีล้อมและไฟดิปพิดีส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ผักชีล้อมและไฟดิปพิดีส

ผักชีล้อม vs. ไฟดิปพิดีส

''Foeniculum vulgare'' ผักชีล้อม (ชื่อวิทยาศาสตร์ Foeniculum vulgare Mill.) เป็นเครื่องเทศที่มีลักษณะใบสีเขียวสด ขี้นในน้ำหรืออาจปลูกในอ่างบัวก็ได้ นิยมใช้แพร่หลายมาช้านาน ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก กล่าวกันว่าเดิมนั้นเป็นพืชประจำท้องถิ่นของแถบเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นพืชที่ให้น้ำมันระเหย ซึ่งมีกล่าวไว้ในนิทานปรัมปราของกรีก และนิทานพื้นบ้านของอิตาลีด้วย ในช่วงขณะหนึ่งที่ยังเรียกกันอย่างสับสนนั้น เรียกผักชีล้อมว่า ยี่หร่าบ้าง ผักชีฝรั่งบ้าง เพื่อความเป็นกลาง กรมวิชาการเกษตร จึงประกาศไว้ใน บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย กำหนดให้เรียกเครื่องเทศชนิดนี้ ว่า ผักชีล้อม เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไทย อันหมายถึง fennel ในภาษาอังกฤษ ส่วนชื่อในท้องถิ่นอื่นของไทยเรียกว่า เทียนแกลบ ผักชีเดือนห้า หรือเรียกแค่ ผักชี ก็มี ในภาษาอังกฤษเรียกว่า fennel มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า fenum อันเป็นคำศัพท์ที่ใช้บรรยายกลิ่นที่หอมหวาน เล่ามาว่าสตรีชาวโรมันนิยมรับประทานผักชีล้อมเพื่อลดความอ้วน ปัจจุบันมีการใช้ผักชีล้อมมากมายในตำรับอาหาร ซึ่งมีส่วนช่วยให้อาหารที่มีมันมากไม่เลี่ยน และย่อยได้ง่าย เชื่อกันว่าผักชีล้อมนั้นช่วยเสริมความแข็งแกร่งและความกล้าหาญ และยังทำให้มีชีวิตยืนยาวด้วย เชื่อกันว่างูนั้นกินผักชีล้อมเพื่อช่วยให้ลอกคราบ ในสมัยกลางนั้น มีการห้อยผักชีล้อมไว้เหนือประตูเพื่อขจัดวิญญาณชั่วร้าย ดอกผักชีล้อมนั้นสีขาว เป็นพืชปรุงรสที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีกลิ่นฉุนรสร้อนแรง ใช้ปรุงอาหารหลายชนิด เชื่อว่ายังช่วยรักษาโรคตา และรักษาสายตาด้ว. ฟดิปพิดีส (Pheidippides, Phidippides หรือ Philippides; Φειδιππίδης เป็นวีรบุรุษในสมัยกรีกโบราณ ว่ากันว่าเป็นแรงบันดาลใจของการจัดการแข่งขันวิ่งทน (marathon) ในปัจจุบันAubrey de Sélincourt and A. R. Burn. Herodotus - The Histories. Penguin Classics, 1954, 1972. F. J. Frost. "The Dubious Origins of the Marathon". American Journal of Ancient History, 4 (1979) 159-163. Luc-Olivier Merson, 1869 The traditional story relates that Pheidippides (530 BC–490 BC), an Athenian herald, was sent to Sparta to request help when the Persians landed at Marathon, Greece. He ran 240 km (150 miles) in two days. He then ran the 40 km (25 miles) from the battlefield near Marathon to Athens to announce the Greek victory over Persia in the Battle of Marathon (490 BC) with the word "Νενικήκαμεν" (Nenikékamen, "We have won") and collapsed and died on the spot from exhaustion. Most accounts incorrectly attribute this story to the historian Herodotus, who wrote the history of the Persian Wars in his Histories (composed about 440 BC). In reality, the traditional story appears to be a conflation from several different ancient Greek sources having varying levels of authenticity. Robert Browning gave a version of the traditional story in his 1879 poem Pheidippides. ("Fennel-field" is a reference to the Greek word for fennel, marathon, the origin of the name of the battlefield.) It was this poem which inspired Baron Pierre de Coubertin and other founders of the modern Olympic Games to invent a running race of 42 km called the Marathon. The story is improbable, as the Athenians would more likely have sent the messenger on horseback. However, it may have been possible that they used a runner, as a horse's movements would have been hindered by the rocky, mountainous terrain. In any case, no such story appears in Herodotus. The relevant passage of Herodotus (Histories, Book VI, 105...106) is: The significance of this story is only understood in the light of the legend that the god Pan returned the favor by fighting with the Athenian troops and against the Persians at Marathon. This was important because Pan, in addition to his other powers, had the capacity to instill the most extreme sort of fear, an irrational, blind fear that paralysed the mind and suspended all sense of judgment - panic. Herodotus was writing about 30 to 40 years after the events he describes, so it is reasonably likely that Pheidippides is a historical figure. If he ran the 246 km over rough roads from Athens to Sparta within two days, it would be an achievement worthy of remembrance. Whether the story is true or not, it has no connection with the Battle of Marathon itself, and Herodotus's silence on the subject of a herald running from Marathon to Athens suggests strongly that no such event occurred. The first known written account of a run from Marathon to Athens occurs in the works of the Greek writer Plutarch (46–120), in his essay On the Glory of Athens. Plutarch attributes the run to a herald called either Thersippus or Eukles. Lucian, a century later, credits one "Philippides." It seems likely that in the 500 years between Herodotus's time and Plutarch's, the story of Pheidippides had become muddled with that of the Battle of Marathon, and some fanciful writer had invented the story of the run from Marathon to Athens. While the marathon celebrates the mythical run from Marathon to Athens, since 1982 an annual footrace from Athens to Sparta, known as the Spartathlon, celebrates Pheidippides's at least semi-historical run across 250 km of Greek countryside.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ผักชีล้อมและไฟดิปพิดีส

ผักชีล้อมและไฟดิปพิดีส มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ผักชีล้อมและไฟดิปพิดีส

ผักชีล้อม มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไฟดิปพิดีส มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (12 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ผักชีล้อมและไฟดิปพิดีส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »