โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไฟดิปพิดีส

ดัชนี ไฟดิปพิดีส

ฟดิปพิดีส (Pheidippides, Phidippides หรือ Philippides; Φειδιππίδης เป็นวีรบุรุษในสมัยกรีกโบราณ ว่ากันว่าเป็นแรงบันดาลใจของการจัดการแข่งขันวิ่งทน (marathon) ในปัจจุบันAubrey de Sélincourt and A. R. Burn. Herodotus - The Histories. Penguin Classics, 1954, 1972. F. J. Frost. "The Dubious Origins of the Marathon". American Journal of Ancient History, 4 (1979) 159-163. Luc-Olivier Merson, 1869 The traditional story relates that Pheidippides (530 BC–490 BC), an Athenian herald, was sent to Sparta to request help when the Persians landed at Marathon, Greece. He ran 240 km (150 miles) in two days. He then ran the 40 km (25 miles) from the battlefield near Marathon to Athens to announce the Greek victory over Persia in the Battle of Marathon (490 BC) with the word "Νενικήκαμεν" (Nenikékamen, "We have won") and collapsed and died on the spot from exhaustion. Most accounts incorrectly attribute this story to the historian Herodotus, who wrote the history of the Persian Wars in his Histories (composed about 440 BC). In reality, the traditional story appears to be a conflation from several different ancient Greek sources having varying levels of authenticity. Robert Browning gave a version of the traditional story in his 1879 poem Pheidippides. ("Fennel-field" is a reference to the Greek word for fennel, marathon, the origin of the name of the battlefield.) It was this poem which inspired Baron Pierre de Coubertin and other founders of the modern Olympic Games to invent a running race of 42 km called the Marathon. The story is improbable, as the Athenians would more likely have sent the messenger on horseback. However, it may have been possible that they used a runner, as a horse's movements would have been hindered by the rocky, mountainous terrain. In any case, no such story appears in Herodotus. The relevant passage of Herodotus (Histories, Book VI, 105...106) is: The significance of this story is only understood in the light of the legend that the god Pan returned the favor by fighting with the Athenian troops and against the Persians at Marathon. This was important because Pan, in addition to his other powers, had the capacity to instill the most extreme sort of fear, an irrational, blind fear that paralysed the mind and suspended all sense of judgment - panic. Herodotus was writing about 30 to 40 years after the events he describes, so it is reasonably likely that Pheidippides is a historical figure. If he ran the 246 km over rough roads from Athens to Sparta within two days, it would be an achievement worthy of remembrance. Whether the story is true or not, it has no connection with the Battle of Marathon itself, and Herodotus's silence on the subject of a herald running from Marathon to Athens suggests strongly that no such event occurred. The first known written account of a run from Marathon to Athens occurs in the works of the Greek writer Plutarch (46–120), in his essay On the Glory of Athens. Plutarch attributes the run to a herald called either Thersippus or Eukles. Lucian, a century later, credits one "Philippides." It seems likely that in the 500 years between Herodotus's time and Plutarch's, the story of Pheidippides had become muddled with that of the Battle of Marathon, and some fanciful writer had invented the story of the run from Marathon to Athens. While the marathon celebrates the mythical run from Marathon to Athens, since 1982 an annual footrace from Athens to Sparta, known as the Spartathlon, celebrates Pheidippides's at least semi-historical run across 250 km of Greek countryside.

1 ความสัมพันธ์: การวิ่งทางไกล

การวิ่งทางไกล

กลุ่มของนักวิ่งสมัครเล่นในการแข่งวิ่งทางไกลในสวิตเซอร์แลนด์ ภาพถ่ายของ Burton Holmes ชื่อ ''"1896: Three athletes in training for the marathon at the Olympic Games in Athens"'' การวิ่งทางไกล หรือ การวิ่งทน เป็นการวิ่งอย่างต่อเนื่องเป็นระยะทางอย่างน้อย 5 กิโลเมตร (3.1 ไมล์) ตามสรีรวิทยาแล้ว นับว่าเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิกตามธรรมชาติและต้องใช้ความอดทน ในหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มนุษย์ รวมถึงสัตว์ในอันดับวานร สามารถปรับตัวเพื่อวิ่งระยะทางไกลได้ดี สมมุติฐานการวิ่งทนเสนอไว้ว่าสัตว์สกุล โฮโม วิ่งทนเพราะการเดินทางข้ามพื้นที่กว้างใหญ่เพิ่มโอกาสในการไล่ล่า และยังสามารถล่าต่อเนื่องได้อีกด้วย การวิ่งทนยังพบในสัตว์กีบที่กำลังอพยพ และสัตว์กินเนื้อที่อาศัยบนพื้นดินบางประเภท เช่น หมา หมาป่า และไฮยีน่า ในสังคมมนุษย์รุ่นใหม่ มนุษย์มีหลายเหตุผลที่จะวิ่งทางไกล อาจทำไปเพื่อการออกกำลัง นันทนาการ การเดินทาง เหตุผลทางเศรษฐกิจ หรือเหตุผลทางวัฒนธรรม การวิ่งทางไกลสามารถช่วยปรับสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดให้ดีขึ้น และยังช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกายแบบแอโรบิกดีขึ้นโดยเป็นการเพิ่มกิจกรรมให้เอนไซม์และฮอร์โมน ซึ่งจะไปทำการกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อและหัวใจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น บ่อยครั้ง ทั้งปัจจุบันและในอดีต ที่การวิ่งทางไกลจะถูกมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของการผึกทหาร การวิ่งเป็นอาชีพพบมากที่สุดในส่วนของการกีฬา ถึงแม้ว่าในสมัยก่อนยุคอุตสาหกรรม ผู้ส่งสาส์นเดินเท้าก็วิ่งเพื่อส่งข้อมูลไปยังสถานที่ที่ห่างไกลเช่นเดียวกัน การวิ่งทางไกลยังเป็นรูปแบบของประเพณีหรือพิธีของชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชนเผ่า Hopi และ Tarahumara ในกรีฑา ได้มีการกำหนดให้การแข่งขันวิ่งทางไกลต้องวิ่งเป็นระยะ 3 กิโลเมตร (1.86 ไมล์) ขึ้นไป ปกติจะมีการวิ่งอยู่ 3 ประเภท คือ ลู่และลาน การวิ่งบนถนน และการวิ่งวิบาก ซึ่งแตกต่างตามลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ ลู่วิ่งราดยาง ถนน และสภาพตามธรรมชาติ ตามลำดับ โดยปกติการวิ่งแข่งบนลู่จะมีระยะทางตั้งแต่ 3,000 เมตร ถึง 10,000 เมตร (6.2 ไมล์) ส่วนการวิ่งวิบากจะแข่งในระยะทางตั้งแต่ 5 ถึง 12 กิโลเมตร (3 ถึง 7.5 ไมล์) ในขณะที่การวิ่งแข่งบนถนนอาจมีระยะทางได้ยาวขึ้นถึง 100 กิโลเมตร (60 ไมล์) หรือมากกว่า การวิ่งวิบากในมหาวิทยาลัยที่สหรัฐอเมริกา ผู้ชายมีจะวิ่งเป็นระยะทาง 8000 เมตร ส่วนผู้หญิงจะวิ่งเป็นระยะทาง 6000 เมตร รายการวิ่งในโอลิมปิกฤดูร้อนมีระยะทาง 5,000 เมตร 10,000 เมตร และยังมีประเภทมาราธอน (42.195 กิโลเมตร หรือ 26 ไมล์ 385 หลา).

ใหม่!!: ไฟดิปพิดีสและการวิ่งทางไกล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ฟิดิปปิเดส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »