สารบัญ
40 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2052พ.ศ. 2084พ.ศ. 2090พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนาพระราชวังพลาเซ็นเทียพระราชวังวินด์เซอร์พระราชวังไวต์ฮอลพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษกรีนิชการยุบอารามการตัดขาดจากศาสนากาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษรัชทายาทที่ได้รับสมมุติราชวงศ์ทิวดอร์ราชอาณาจักรอังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษลอนดอนลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 7ฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก)จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ดยุกแห่งยอร์กดยุกแห่งคอร์นวอลล์คริสตจักรแห่งอังกฤษแองกลิคันแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษแอนน์แห่งคลีฟส์ พระราชินีแห่งอังกฤษแคเธอรีน พารร์ พระราชินีแห่งอังกฤษแคเธอรีน ฮอเวิร์ด พระราชินีแห่งอังกฤษโรมันคาทอลิกโรคอ้วนโปรเตสแตนต์เอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชินีแห่งอังกฤษเจน ซีมัวร์ พระราชินีแห่งอังกฤษเจ้าชายแห่งเวลส์
พ.ศ. 2052
ทธศักราช 2052 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2052
พ.ศ. 2084
ทธศักราช 2084 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2084
พ.ศ. 2090
ทธศักราช 2090 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพ.ศ. 2090
พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา
ระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา (Act of Supremacy) พระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนาฉบับแรกมอบอำนาจให้สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษเป็น “ประมุขสูงสุดของคริสตจักรแห่งอังกฤษ” ซึ่งยังคงเป็นอำนาจตามกฎหมายของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรมาจนถึงทุกวันนี้ ประมุขสูงสุดกำหนดขึ้นโดยเฉพาะในการบรรยายอำนาจทางกฎหมายแพ่งของพระมหากษัตริย์ที่มีอำนาจเหนือกฎบัตรของคริสต์ศาสนจักรในอังกฤษ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระราชบัญญัติอำนาจสูงสุดทางศาสนา
พระราชวังพลาเซ็นเทีย
ระราชวังพลาเซ็นเทีย (Palace of Placentia) เป็นพระราชวังของพระราชวงศ์อังกฤษที่สร้างโดยฮัมฟรีย์ ดยุคแห่งกลอสเตอร์ในปี ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระราชวังพลาเซ็นเทีย
พระราชวังวินด์เซอร์
ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระราชวังวินด์เซอร์
พระราชวังไวต์ฮอล
ระราชวังไวต์ฮอล (Palace of Whitehall) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในลอนดอนในสหราชอาณาจักร ที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์อังกฤษในลอนดอนระหว่าง ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระราชวังไวต์ฮอล
พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (François Ier) (12 กันยายน ค.ศ. 1494 ถึง 31 มีนาคม ค.ศ. 1547) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสตั้งแต่ ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน
ระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน (Felipe II de España; พ.ศ. 2070-พ.ศ. 2141) ทรงสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ์ฮับสบูร์กแห่งออสเตรีย ทรงดำรงฐานะเป็นทั้งกษัตริย์แห่งสเปนและโปรตุเกส โดยทรงเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในพระนาม พระเจ้าฟีลีเปที่ 1 (Filipe I) รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาที่สเปนสามารถดำรงฐานะความเป็นชาติมหาอำนาจที่ทรงอิทธิพลทางทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายขยายอำนาจของสเปนในรัชสมัยของพระอง.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ
พระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ
ระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ (Henry VII of England) (28 มกราคม ค.ศ. 1457 – 21 เมษายน ค.ศ. 1509) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์ทิวดอร์ ระหว่างปี ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ
กรีนิช
หอดูดาวหลวงกรีนิช กรีนิช (Greenwich) เป็นเขตการปกครองของลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ เป็นที่ตั้งของหอดูดาวหลวงกรีนิชระหว่างปี..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและกรีนิช
การยุบอาราม
อดีตกลาสตันบรีแอบบีย์ การยุบอาราม (Dissolution of the Monasteries; Suppression of the Monasteries) เป็นกระบวนการตามกฎหมายและการปกครองในช่วง ค.ศ. 1538 ถึงปี ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและการยุบอาราม
การตัดขาดจากศาสนา
การตัดขาดจากศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเททพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 204 (excommunication) คือการตำหนิโทษทางศาสนา เพื่อขับไล่บุคคลหนึ่งให้พ้นจากการเป็นสมาชิกของศาสนจักร คำว่า excommunication หมายถึง การไม่ร่วมสมานฉันท์ (communion).
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและการตัดขาดจากศาสนา
กาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ
ระนางกาตาลินาแห่งอารากอน (Catalina de Aragón; Catherine of Aragon, Katharine of Aragon; พ.ศ. 2028 — พ.ศ. 2079) พระราชินีแห่งอังกฤษ พระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและกาตาลินาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอังกฤษ
รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ
ราชวงศ์ทิวดอร์
ราชวงศ์ทิวดอร์ (อังกฤษ: Tudor, เวลส์: Tudur) เป็นเชื้อพระวงศ์ชาวเวลส์ มีกษัตริย์ที่ปกครองราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและราชวงศ์ทิวดอร์
ราชอาณาจักรอังกฤษ
ราชอาณาจักรอังกฤษ (Kingdom of England.) เป็นราชอาณาจักรระหว่างปี..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและราชอาณาจักรอังกฤษ
รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ
ลอนดอน
ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและลอนดอน
ลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ
ลำดับเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาของอังกฤษ (Timeline of the English Reformation) เหตุการณ์ข้างล่างนี้เป็นเหตุการณ์ที่มีส่วนเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนาในอังกฤษจากโรมันคาทอลิกมาเป็นนิกายเชิร์ชออฟอิงแลน.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและลำดับเหตุการณ์การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ
สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Mary I of England, 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2059 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอรากอน คาสตีลและเนเปิล และสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ
สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 7
มเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ทรงมีชื่อเดิมว่า จูลิโอ ดิ จูเลียโน เดอ เมดิชี (Giulio di Giuliano de' Medici) ประสูติในปี ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 7
ฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก)
ันส์ ฮอลไบน์ ผู้ลูก (Hans Holbein the Younger; ค.ศ. 1497 - ระหว่างวันที่ 7 ถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1543) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือคนสำค้ญของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพพิมพ์แบบเรอเนสซองซ์ตอนเหนือ ฮอลไบน์เป็นที่รู้จักจากภาพเหมือน และงานภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) ในชุด "Dance of Death" ฮันส์ ฮอลไบน์ถือกันว่าเป็นช่างเขียนภาพเหมือนคนสำคัญของยุคภาพเหมือนสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Period) ซึ่งเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 18 นอกจากภาพเหมือนแล้วฮอลไบน์ก็ยังมีงานเขียนที่เกี่ยวกับศาสนา งานเสียดสี และงานโฆษณาชวนเชื่อของการปฏิรูปศาสนา และมีบทบาทสำคัญในการประวัติศาสตร์ของการออกแบบหนังสือ สร้อย "ผู้ลูก" เพื่อให้ต่างจากบิดาผู้มีชื่อเดียวกัน --ฮันส์ ฮอลไบน์ ผู้พ่อ) ผู้เป็นจิตรกรมีชื่อของสมัยกอทิกตอนปลาย ฮอลไบน์เกิดที่เอาก์สบวร์ค ทำงานส่วนใหญ่ในบาเซิลเมื่อเริ่มเป็นศิลปิน ในระยะแรกก็เขียนจิตรกรรมฝาผนังและศิลปะคริสต์ศาสนางานศาสนา และออกแบบหน้าต่าประดับกระจกสีและหนังสือสำหรับพิมพ์ บางครั้งก็จะเขียนภาพเหมือนและมีชื่อเสียงขึ้นเมื่อเขียนภาพเหมือนของนักมนุษยนิยมเดสิเดอริอัส อีราสมัสแห่งรอตเตอร์ดาม เมื่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ขยายไปถึงบาเซิล ฮอลไบน์ก็ทำงานให้ลูกค้าฝ่ายปฏิรูป ขณะที่ในขณะเดียวกันก็ทำงานให้กับลูกค้าที่ต้องการภาพทางศาสนาแบบดั้งเดิม งานของฮอลไบน์ของปลายสมัยกอทิกมีลักษณะที่เพิ่มคุณค่าของภาพที่มาจากแนวโน้มของศิลปะอิตาลี ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ และจากลัทธิมนุษยนิยมยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา ผลที่ออกมาคืองานที่มีความงามเป็นเอกลักษณ์ของฮอลไบน์เอง ฮอลไบน์เดินทางไปยังอังกฤษในปี..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก)
จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิคาร์ล (ชาลส์) ที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Karl V; Carlos I or Carlos V; Charles V, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2043 - 21 กันยายน พ.ศ. 2101) สมัยราชวงศ์ฮับส์บูร์กในสเปนทรงครองราชย์ในนามของพระเจ้าชาร์ลที่ 1 แห่งสเปน เป็นประมุขแห่งดัชชีเบอร์กันดี (ในปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ดยุกแห่งยอร์ก
กแห่งยอร์ก (Duke of York) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุก ที่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ โดยมักจะพระราชทานให้กับพระราชโอรสพระองค์รอง โดยมีศักดิ์เทียบเท่ากับบรรดาศักดิ์ "ดยุกแห่งอัลบานี"ในระบบบรรดาศักดิ์ของสก็อตแลนด์ ดยุกแห่งยอร์กพระองค์แรกคือเจ้าชายเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก และพระองค์ปัจจุบันคือเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก ในประวัติศาสตร์อังกฤษได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งหมด 11 สมัย โดย 5 สมัยในฐานะ "ดยุกแห่งยอร์ก" ก่อนพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและดยุกแห่งยอร์ก
ดยุกแห่งคอร์นวอลล์
กแห่งคอร์นวอลล์ (Duke of Cornwall) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกบรรดาศักดิ์แรกที่ได้มีการสถาปนาในอังกฤษ โดยตามธรรมเนียมแล้วจะสงวนไว้เพื่อเป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะสำหรับมกุฎราชกุมารของอังกฤษในอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ดัชชีแห่งคอร์นวอลล์ (Duchy of Cornwall) ถือเป็นดัชชีแห่งแรกในอังกฤษ โดยสถาปนาขึ้นในปี..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและดยุกแห่งคอร์นวอลล์
คริสตจักรแห่งอังกฤษ
ภาคแคนเทอร์เบอรี (สีเหลือง) และภาคยอร์ก (สีชมพู) คริสตจักรแห่งอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 44-5 (Church of England) เป็นคริสตจักรประจำชาติ ของอังกฤษ และเป็นคริสตจักรแม่ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลก ในช่วงแรกคริสตจักรในอังกฤษยังเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรโรมันคาทอลิก แต่เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษตัดสินพระทัยหย่าขาดกับพระนางแคเธอรินแห่งอารากอนซึ่งฝ่าฝืนคำสั่งของพระสันตะปาปาไป พระองค์ก็มีพระราชโองการให้คริสตจักรแห่งอังกฤษแยกตัวจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกในปี..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและคริสตจักรแห่งอังกฤษ
แองกลิคัน
นิกายแองกลิคัน (Anglicanism) คือคำที่กล่าวถึงความเชื่อหรือการปฏิบัติของนิกายศาสนาคริสต์ที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับ หรือ มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับคริสตจักรแห่งอังกฤษ คำว่า “อังกลิคัน” มาจากคำว่า “ecclesia anglicana” ในภาษาละตินยุคกลางที่ใช้กันมาตั้งแต..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและแองกลิคัน
แอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนน์ บุลิน (Anne Boleyn) เป็นบุตรีของเซอร์ทอมัส บุลิน กับเลดีเอลิซาเบธ บุลิน และเป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และเป็นพระราชมารดาของเจ้าหญิงเอลิซาเบธ (ต่อมาเสด็จขึ้นเถลิงราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ) พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งเรื่องราว พระราชอำนาจหลังพระราชบัลลังก์ฉายเด่นชัดจากสมเด็จพระราชินีพระองค์นี้ ข้าราชการแบ่งฝักฝ่ายเป็นสองพวกคือ "คนของพระราชา" และ "คนของพระราชินี" แม้จนเมื่อท้ายที่สุดแล้วสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 จะทรงมีชัยชนะเหนือพระมเหสี สามารถสำเร็จโทษพระนางได้ ด้วยการกล่าวหาว่าพระนางสมสู่กับน้องชายแท้ ๆ ของพระนางเอง แต่ความแตกร้าวก็ยังคงมีอยู่ไม่รู้จบ พระองค์ถูกกล่าวขานถึงว่า "ราชินีแห่งอังกฤษที่โดดเด่นและสำคัญที่สุดเท่าที่เคยมี".
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและแอนน์ บุลิน พระราชินีแห่งอังกฤษ
แอนน์แห่งคลีฟส์ พระราชินีแห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีแอนน์แห่งอังกฤษ หรือ แอนน์แห่งคลีฟส์ (22 กันยายน พ.ศ. 2058 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2100) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ระหว่างวันที่ 6 มกราคม-9 กรกฎาคม..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและแอนน์แห่งคลีฟส์ พระราชินีแห่งอังกฤษ
แคเธอรีน พารร์ พระราชินีแห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีแคทเธอรีน พารร์ (พ.ศ. 2055Her precise date of birth is not known; the ODNB says "born in 1512, probably in August." Susan E. James, "Katherine (1512–1548)", Oxford Dictionary of National Biography, Oxford University Press, 2004; online edn, Jan 2008 - 5 กันยายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและแคเธอรีน พารร์ พระราชินีแห่งอังกฤษ
แคเธอรีน ฮอเวิร์ด พระราชินีแห่งอังกฤษ
มเด็จพระราชินีแคเธอรีนแห่งอังกฤษ เดิมชื่อ แคเธอรีน ฮอเวิร์ด (Catherine Howard) เสด็จพระราชสมภพราว..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและแคเธอรีน ฮอเวิร์ด พระราชินีแห่งอังกฤษ
โรมันคาทอลิก
ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและโรมันคาทอลิก
โรคอ้วน
รคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมีผลเสียต่อสุขภาพ ทำให้มีการคาดหมายคงชีพลดลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น หรืออย่างใดอย่างหนึ่งWHO 2000 p.6 การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย (BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) ยกกำลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้ำหนักเกิน โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน การขาดกิจกรรมทางกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีน ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ ยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก สำหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้ำหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้นมีหลักฐานสนับสนุนจำกัด โดยเฉลี่ยแล้ว คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรักษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้น การจำกัดอาหารและการออกกำลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหารหรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสม หากอาหาร การออกกำลังกายและยาไม่ได้ผล การทำบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon) อาจช่วยให้น้ำหนักลดได้ หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลำไส้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้ โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 21 โรคอ้วนถูกระบุว่าเป็นปัญหาในโลกสมัยใหม่อย่างมาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกตะวันตก) ทว่าในอดีต ความอ้วนถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์ และกระทั่งปัจจุบันก็ยังมีความเชื่อดังกล่าวในบางบริเวณของโลก ใน..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและโรคอ้วน
โปรเตสแตนต์
นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและโปรเตสแตนต์
เอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชินีแห่งอังกฤษ
อลิซาเบธแห่งยอร์ค สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Elizabeth of York) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1466 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1503) เอลิซาเบธแห่งยอร์คประสูติเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชินีแห่งอังกฤษ
เจน ซีมัวร์ พระราชินีแห่งอังกฤษ
น ซีมัวร์ (c. 1507/1508 – 24 ตุลาคม 1537) เป็นธิดาของเซอร์จอห์น ซีมัวร์ และมาร์เกอรี เวนต์เวิร์ท หลังการทรงงานในฐานะนางสนองพระโอษฐ์ของสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีน แห่งอรากอน และสมเด็จพระราชินีแอนน์ โบลีน พระองค์ก็ทรงดึงดูดความสนใจจากสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ ในฐานะสมเด็จพระราชินี เจนทรงเคร่งขรึมและไว้พระองค์ มีนางพระกำนัลเพียงไม่กี่คนคอยสนองงาน 2 คนในจำนวนนั้นคือน้องสาวและน้องสะใภ้ของพระองค์ ใน..
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและเจน ซีมัวร์ พระราชินีแห่งอังกฤษ
เจ้าชายแห่งเวลส์
้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.
ดู พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษและเจ้าชายแห่งเวลส์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Henry VIII of Englandสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรี่ที่ 8