โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การทลายคุกบัสตีย์

ดัชนี การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

37 ความสัมพันธ์: ชาลส์ ดิกคินส์ช็องเดอมาร์สช็องเซลีเซพระราชวังแวร์ซายพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิวการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอเมริกาการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789การปลอมเอกสารฐานันดรแห่งราชอาณาจักรภาวะเงินเฟ้อมาร์กี เดอ ซาดราชอาณาจักรฝรั่งเศสวันบัสตีย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยกลางสะพานชักสารานุกรมบริตานิกาสาธารณสมบัติออแตลเดอวีลจอร์จ วอชิงตันธงชาติฝรั่งเศสณัฐวุฒิ สุทธิสงครามดินปืนคำปฏิญาณสนามเทนนิสตูรินประเทศฝรั่งเศสปลัสเดอลากงกอร์ดปารีสปาแล-รัวยาลป้อมสนามแซ็ง-เดอนีโครงการกูเทนแบร์กเรื่องของสองนคร

ชาลส์ ดิกคินส์

ลส์ จอห์น ฮัฟแฟม ดิกคินส์ (Charles John Huffam Dickens; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1812 – 9 มิถุนายน ค.ศ. 1870) นักประพันธ์ชาวอังกฤษ และมีนามปากกาว่า “โบซ” (Boz) เกิดที่เมืองแลนด์พอร์ท แฮมเชียร์ อังกฤษใต้ สหราชอาณาจักร เป็นบุตรเสมียนฝ่ายเงินเดือนกองทัพเรือ ในปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และชาลส์ ดิกคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ช็องเดอมาร์ส

็องเดอมาร์ส (Champ de Mars) เป็นสวนสาธารณะแบบเปิดโล่งขนาดใหญ่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และช็องเดอมาร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ช็องเซลีเซ

็องเซลีเซ มุมมองจากปลัสเดอลากงกอร์ด ไปทางทิศตะวันตกไปยังประตูชัย อาฟว์นูว์เดช็องเซลีเซ (Avenue des Champs-Élysées) เป็นถนนในเขตที่ 8 ของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นย่านการค้าที่ประกอบด้วยโรงละคร ร้านกาแฟ และร้านค้าหรูหรา สองข้างทางมีต้นเกาลัดที่ได้รับการตกแต่งอย่างสวยงามปลูกเรียงราย ชื่อ "ช็องเซลีเซ" มาจากคำว่า "ทุ่งเอลิเซียม" จากเทพปกรณัมกรีกในภาษาฝรั่งเศส ช็องเซลีเซได้รับการขนานนามว่าเป็นถนนที่สวยที่สุดในโลก (La plus belle avenue du monde) โดยมีอัตราค่าเช่าสูงถึง 1.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี สำหรับพื้นที่ 1000 ตารางฟุต (93 ตารางเมตร) สูงที่สุดในยุโรป Elaine Sciolino, "", New York Times, 21 January 2007.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และช็องเซลีเซ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแวร์ซาย

ระราชวังแวร์ซาย (Château de Versailles) เป็นพระราชวังหลวงแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่แวร์ซาย ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกรุงปารีส พระราชวังแวร์ซายเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยงามแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และพระราชวังแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Louis-Philippe Ier; Louis-Philippe of France) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม "พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ).

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว

“การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว” โดยฟรองซัวส์ ดูบัวส์ (François Dubois) การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว (ภาษาฝรั่งเศส: Massacre de la Saint Barthélemy; ภาษาอังกฤษ: St. Bartholomew’s Day massacre) เป็นระลอกของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างสงครามศาสนาของฝรั่งเศสโดยฝูงชนชาวฝรั่งเศสผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกไล่สังหารชาวฝรั่งเศสที่เรียกตัวเองว่าอูเกอโนต์ (Huguenots) หรือผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ (โปรเตสแตนต์คาลวินิสต์) เชื่อกันว่ามีต้นตอมาจากสมเด็จพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ พระมารดาของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส การสังหารหมู่ใช้เวลาทั้งสิ้น 6 วันหลังวันแต่งงานระหว่างมาร์เกอรีต เดอ วาลัวส์ (Marguerite de Valois) พระขนิษฐาของ พระเจ้าชาร์ลที่ 9 กับอองรีแห่งนาวาร์ผู้ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์ งานแต่งงานเป็นโอกาสที่อูเกอโนต์ผู้ร่ำรวยมีฐานะดีจะออกมาร่วมงานฉลองในเมืองปารีสที่ผู้คนส่วนใหญ่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เหตุเกิดขึ้นสองวันหลังจากที่การลอบสังหารนายพลกาสปาร์ด เดอ โคลิญญี นายทหารของอูเกอโนต์ไม่ประสบความสำเร็จ เริ่มเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และการสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789

ีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ พระราชวังแวร์ซาย กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การประชุมสภาฐานันดร..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789 · ดูเพิ่มเติม »

การปลอมเอกสาร

การปลอมเอกสาร (forgery) หมายถึง กระบวนการทำ ใช้ หรือแปลงซึ่งวัตถุ สถิติ หรือเอกสารใด ๆ ภายในวัตถุประสงค์เพื่อการหลอกลวง สำหรับ "การปลอมเงินหรือตราสาร" (counterfeit) นั้นเป็นความผิดในข่ายเดียวกันแต่เป็นอีกจำพวกหนึ่งซึ่งมีรายละเอียดแตกต่างออกไป ส่วนการนำสิ่งที่ปลอมหรือแปลงดังกล่าวไปใช้เรียก "การใช้เอกสารปลอม" (uttering) นอกจากนี้ ยังมีการปลอมหรือแปลงเครื่องอุปโภคบริโภคซึ่งกระทำโดยผู้ที่มิใช่ผู้ผลิตหรือผู้ได้รับมอบหมายให้ผลิตตัวจริง แต่นำยี่ห้อ ธง หรือเครื่องหมายการค้าของเขาไปใช้ เรียก "การปลอมแปลงเครื่องหมายการค้า" (misbranding) การปลอมหรือแปลงสิ่งข้างต้น กับทั้งการใช้ของปลอมดังกล่าวนี้ ถือเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายของประเทศส่วนใหญ่ในโลกรวมถึงประเทศไทยเรา การปลอมเอกสาร หมวดหมู่:ความผิดอาญา หมวดหมู่:การเสแสร้ง หมวดหมู่:มิจฉาชีพ หมวดหมู่:อาชญากรรม.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และการปลอมเอกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร

นันดรแห่งราชอาณาจักร (estates of the realm) เป็นระเบียบสังคมอย่างกว้างของสังคมซึ่งมีแนวคิดเป็นลำดับชั้น (hierarchically conceived society) รับรองในสมัยกลางและสมัยใหม่ตอนต้นในทวีปยุโรปที่นับถือศาสนาคริสต์ บ้างแยกเป็นสามฐานันดร ได้แก่ นักบวช ชนชั้นขุนนางและสามัญชน และมักกล่าวถึงตามการจัดอันดับความสำคัญในสมัยกลาง (เนื่องจากพระเป็นเจ้าทรงลิขิตลำดับชั้น) เป็นฐานันดรที่หนึ่ง ที่สองและที่สามตามลำดับ ในแผนดังกล่าว พระเป็นเจ้าทรงลิขิตพันธกิจ (ministry) ซึ่งจำเป็นต่อการลิขิตราชนิกุลและชนชั้นขุนนาง ผู้มอบเอกสิทธิ์แก่สามัญชนผู้ทรงเกียรติ คำว่า "ฐานันดรที่สี่" กำเนิดขึ้นภายหลัง โดยอ้างถึงแรงนอกโครงสร้างอำนาจซึ่งเป็นที่ยอมรับ และมักอ้างอิงถึงสื่อมวลชนอิสระมากที่สุด ระหว่างสมัยกลาง บุคคลเกิดในชนชั้นของตัว และแม้การเปลี่ยนแปลงฐานะทางสังคมเป็นไปได้ก็เกิดขึ้นช้า ยกเว้น ศาสนจักรสมัยกลาง ซึ่งเป็นเพียงสถาบันเดียวซึ่งบุรุษสามารถถึงตำแหน่งสูงสุดในสังคมได้ครั้งหนึ่งในชีวิต.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และฐานันดรแห่งราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเงินเฟ้อ

อัตราเงินเฟ้อทั่วโลกในปี 2550 ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าหรือบริการในระยะเวลาหนึ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ภาวะเงินเฟ้อมีผลต่อเศรษฐกิจทั้งบวกและลบ ผลเสียที่เกี่ยวข้องกับภาวะเงินเฟ้อรวมถึงการเพิ่มของต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไม่ใช้เงินและการทำให้ผู้บริโภคกักตุนสินค้าเนื่องจากประเมินว่าราคาจะเพิ่มขึ้นในอนาคต (หากอัตราเงินเฟ้อเพิ่มอย่างรวดเร็ว) ผลเชิงบวกของอัตราเงินเฟ้อมีดังนี้.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และภาวะเงินเฟ้อ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กี เดอ ซาด

มาร์กี เดอ ซาด วาดโดย Charles-Amédée-Philippe van Loo (ประมาณ ค.ศ. 1761) ดอนาเซียง อาลฟงส์ ฟร็องซัว เดอ ซาด (Donatien Alphonse François de Sade) หรือที่รู้จักกันดีว่า มาร์กี เดอ ซาด (Marquis de Sade) และมีชื่อเล่นว่า "มาร์กีจอมเทพ" (Divine Marquis) มาร์กีเกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1740 - ถึงแก่กรรมเมื่อ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1814 เป็นนักเขียนชาวฝรั่งเศส ส่วนใหญ่เป็นเขียนงานด้านปรัชญา และมักจะเป็นเรื่องทางกามารมณ์ที่รุนแรง บ้างก็เป็นงานเชิงปรัชญาที่เคร่งครัดจริงจัง ผลงานของเขามักจะเน้นเสรีภาพสุดโต่ง โดยไม่ถูกจำกัดด้วยจริยธรรม ศาสนา หรือกฎหมาย และมุ่งเน้นสุขารมณ์ส่วนตัวเป็นหลักใหญ่ ผ่านการทรมานร่างกายในรูปแบบต่าง ๆ ผลงานของเขาส่วนมากเขียนขึ้นในช่วง 29 ปีที่เขาถูกจับขังในโรงพยาบาลบ้า ตำแหน่งของเขาออกเสียงว่า "มาร์กี เดอ ซาด" อันเป็นที่มาของคำว่า ซาดิสม์ (sadism) นั่นเอง.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และมาร์กี เดอ ซาด · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และราชอาณาจักรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

วันบัสตีย์

วันบัสตีย์ เป็นวันชาติของฝรั่งเศส ซึ่งตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ในประเทศฝรั่งเศส วันดังกล่าวถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ" (La Fête Nationale) และเรียกโดยทั่วไปว่า "สิบสี่กรกฎา" (le quatorze juillet) วันดังกล่าวเป็นการรำลึกถึงวันหยุดสหพันธรัฐ (Fête de la Fédération) ในปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และวันบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยกลาง

แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ. 620 ในช่วงต้นสมัยกลางNees ''Early Medieval Art'' pp. 109–112 สมัยกลาง หรือ ยุคกลาง (Middle Ages) คือช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยปกติแล้วเริ่มนับตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิโรมันตะวันตก (การสิ้นสุดของสมัยคลาสสิก) จนถึงจุดเริ่มตั้นของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และยุคแห่งการสำรวจ ซึ่งเป็นยุคที่นำไปสู่สมัยใหม่ในเวลาต่อมา สมัยกลางคือช่วงเวลาตรงกลางของกระบวนการเปลี่ยนผ่านในประวัติศาสตร์ตะวันตกคือ สมัยคลาสสิก สมัยกลาง และสมัยใหม่ นอกจากนี้สมัยกลางยังถูกแบ่งออกเป็นสามช่วงเวลาคือ ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages), สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High Middle Ages) และปลายสมัยกลาง (Late Middle Ages) ในยุคกลางตอนต้น การลดลงของประชากร, การหดตัวของเมือง และการรุกรานจากอนารยชน เริ่มต้นขึ้นในยุคโบราณตอนปลายและดำเนินไปอย่างรวดเร็ว เหล่าอนารยชนผู้บุกรุกเข้าตั้งอาณาจักรของตนในส่วนที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้กลายไปเป็นจักรวรรดิอิสลามหลังจากถูกยึดครองโดยผู้สืบทอดของนบีมุฮัมมัด แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและโครงสร้างทางการเมืองมากมาย แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากยุคโบราณคลาสสิคอย่างสิ้นเชิง จักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์ยังคงอยู่รอดและรักษาอำนาจของตนเอาไว้ได้ นอกจากนี้แล้วอาณาจักรเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยังคงเกี่ยวพันอยู่กับสถาบันที่หลงเหลืออยู่ของชาวโรมัน ในขณะที่วัดวาอารามของคริสต์ศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ 8 ชาวแฟรงก์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงได้สถาปนาจักรวรรดิขึ้นซึ่งครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกมีนามว่า จักรวรรดิการอแล็งเฌียง ซึ่งยืนยงไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เมื่อจักรวรรดิล่มสลายลงจากแรงงกดดันของการรุกรานจากภายนอก เช่น ชาวไวกิงจากทางเหนือ ชาวแมกยาร์จากทางตะวันออก และชาวซาราเซนจากทางใต้ ช่วงต้นสมัยกลางซึ่งเริ่มขึ้นหลังคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประชากรของยุโรปขยายตัวอย่างมากจากการที่นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและทางการเกษตรทำให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและการทำเรือกสวนไร่นาขยายตัว ระบบมาเนอร์ - องค์กรของชาวนาตามหมู่บ้านที่ติดค้างค่าเช่าที่ดินและหน้าที่ด้านแรงงานแก่ขุนนาง และระบบเจ้าขุนมูลนาย - โครงสร้างทางการเมืองที่ซึ่งอัศวินและขุนนางศักดิ์ต่ำกว่าติดค้างหน้าที่ด้านการทหารแก่เจ้านายผู้มีศักดิ์สูงกว่าของพวกเขาแลกกับสิทธิ์ในการเก็บค่าเช่าที่ดินและชาวนาใต้ปกครอง สองระบบนี้คือระเบียบของสังคมที่ใช้กันในยุคกลางตอนกลาง ต่อมาอาณาจักรเริ่มรวมศูนย์อำนาจมากขึ้นภายหลังการล่มสลายลงของจักรวรรดิคาโรแล็งเชียง สงครามครูเสดซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

สะพานชัก

นชัก (drawbridge) คือสะพานประเภทหนึ่งที่สามารถเคลื่อนที่ได้ ซึ่งปกติจะใช้งานร่วมกับทางเข้าของปราสาทที่ล้อมรอบด้วยคูเมือง ในภาษาอังกฤษของบางท้องถิ่นซึ่งรวมถึงภาษาอังกฤษอเมริกัน คำว่า "drawbridge" จะหมายถึงสะพานทุกรูปแบบที่เคลื่อนที่ได้ เช่น สะพานหก (bascule) สะพานยกแนวตั้ง (vertical-lift) สะพานหมุน (swing) เป็นต้น แต่ในหน้านี้จะกล่าวถึงสะพานดังกล่าวตามความหมายดั้งเดิม.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และสะพานชัก · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และสารานุกรมบริตานิกา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณสมบัติ

ัญลักษณ์อย่างไม่เป็นทางการ สำหรับ สาธารณสมบัติ สาธารณสมบัติ หรือ สมบัติสาธารณะ (public domain) หมายถึง องค์ความรู้หรือนวัตกรรม (เช่น งานเขียน ศิลปะ ดนตรี สิ่งประดิษฐ์) ที่ไม่มีใครสามารถถือตัวเป็นเจ้าของได้ รวมไปถึงสิ่งก่อสร้าง และถนนหนทาง ในทางคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สาธารณสมบัติ หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นแล้วผู้สร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ สามารถคัดลอกนำไปใช้ได้ โดยไม่ผิดลิขสิท.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และสาธารณสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

ออแตลเดอวีล

ออแตลเดอวีล (Hôtel de Ville) เป็นสถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในเขตที่ 4 โดยเป็นศาลาว่าการกรุงปารีส มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1357 และยังใช้เป็นจวนผู้ว่าราชการกรุงปารีส ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 เป็นต้นมา รวมถึงห้องจัดงานต่าง ๆ ด้วย ราวปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และออแตลเดอวีล · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 บทบัญญัติว่าด้วยการใช้ปฏิทินรูปแบบใหม่ ค.ศ. 1750 เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1752 ซึ่งเปลี่ยนแปลงวันที่ในระบบของอังกฤษเดิม มาเป็นปฏิทินเกรกอเรียนโดยเริ่มต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1799) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองที่โดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น ระหว่าง..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และจอร์จ วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฝรั่งเศส

งชาติฝรั่งเศส (le tricolore หรือ le drapeau bleu-blanc-rouge, เลอทรีกอลอร์ - แปลว่า ธงไตรรงค์ หรือ ธงสามสี ส่วน เลอดราโปเบลอ-บล็อง-รูฌ - แปลว่า ธงน้ำเงิน-ขาว-แดง) ธงนี้เป็นธงต้นแบบที่หลายๆ ประเทศนำมาดัดแปลงใช้เป็นธงชาติของตนเอง รวมทั้งธงชาติไทยด้วย ลักษณะของธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยริ้วธง 3 สี คือ สีน้ำเงิน สีขาว และสีแดง เรียงกันตามแนวตั้ง แต่ละริ้วมีความกว้างเท่ากัน สำหรับธงเรือประจำชาติฝรั่งเศส ใช้เป็นธงค้าขายและธงรัฐนาวีนั้นคล้ายกับธงชาติ แต่สัดส่วนความกว้างของริ้วธงแต่ละสีจะเป็น 30:33:37.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และธงชาติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร (ส.ส.พระนคร) และกรุงเทพมหานคร (ส.ส.กรุงเทพมหานคร) พรรคประชาธิปัตย์ และนักเขียนสารคดีแนวประวัติศาสตร.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ดินปืน

นปืนไร้ควัน ดินปืน เป็นสารเคมีที่ไวไฟยิ่งยวด และเมื่อเกิดการเผาไหม้แล้วจะเกิดแก๊ส ซึ่งนำคุณสมบัติด้านนี้ไปใช้ประโยชน์ในหลักการทำงานของปืน กล่าวคือ เมื่อดินปืนเกิดการเผาไหม้อย่างช้าๆ จนไม่สร้างความเสียหายแก่ลำกล้องปืนแล้ว จะเกิดแก๊สขึ้นมา แล้วแก๊สเหล่านี้จะไปขับดันกระสุนที่บรรจุในปืน ทำให้กระสุนปืนพุ่งออกมาจากตัวปืนด้วยความเร็วสูง ดินปืนถูกประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวจีนอย่างแน่นอน หลักฐานชิ้นแรกสุดคือ ดินปืนดำในศตวรรษที่ 13 ที่โรเจอร์ เบคอน อธิบายสูตรเอาไว้.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และดินปืน · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณสนามเทนนิส

ำปฏิญาณสนามเทนนิส (Serment du Jeu de Paume; แซร์ม็งดูเฌอเดอโปม) คือเหตุการณ์ครั้งสำคัญในช่วงต้นของการปฏิวัติฝรั่งเศส คำปฏิญาณซึ่งได้รับสัตยาบันของบุคคลทั้งสิ้น 576 คน จากสมาชิกฐานันดรที่สามทั้งหมด 577 คน ผู้ถูกกีดกันออกจากการประชุมสภาฐานันดรเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และคำปฏิญาณสนามเทนนิส · ดูเพิ่มเติม »

ตูริน

ตูริน (Turin) หรือ โตรีโน (Torino) เป็นเมืองหลักของแคว้นปีเยมอนเตในประเทศอิตาลี เป็นทั้งเมืองศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภาคเหนือของอิตาลี ตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำโป มีประชากร 908,000 คน (ค.ศ. 2004) และ 2.2 ล้านคนเมื่อรวมปริมณฑล (สถิติองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา) บริษัทผลิตรถยนต์เฟียตมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นี่และบริษัทรถยนต์บางบริษัทก็เริ่มกิจการที่เมืองนี้ ฉะนั้นตูรินจึงมีชื่อเล่นว่าเป็นเมืองหลวงของการผลิตรถยนต์ในประเทศอิตาลี นอกจากนั้นตูรินยังเป็นเมืองหลวงเมืองแรกของสหรัฐอิตาลี.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และตูริน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ปลัสเดอลากงกอร์ด

ปลัสเดอลากงกอร์ด ใจกลางกรุงปารีส ปลัสเดอลากงกอร์ด (Place de la Concorde; จัตุรัสแห่งความปรองดอง) เป็นจัตุรัสกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 86,400 ตารางเมตร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวแนตถูกประหารด้วยกิโยตีน ณ จัตุรัสแห่งนี้ในสมัยการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และปลัสเดอลากงกอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาแล-รัวยาล

ปาแล-รัวยาล (Palais-Royal) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส เดิมชื่อ “วังคาร์ดินัล” (Palais-Cardinal) ปาแล-รัวยาลและสวนอยู่หน้า “จตุรัสปาแล-รัวยาล” ตรงกันข้ามกับปีกเหนือของพระราชวังลูฟวร์ และ ลานเกียรติยศ (cour d'honneur) อันมีชื่อเสียง ด้านหน้ารายด้วยคอลัมน์ และ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และปาแล-รัวยาล · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมสนาม

กำแพงเมืองจีน ที่มีหอสังเกตการณ์ประเป็นระยะๆ เป็น “ระบบป้อมปราการ” ชนิดหนึ่ง ป้อมสนาม (Fortification) คือสิ่งก่อสร้างทางยุทธศาสตร์หรือตึกที่ออกแบบเพื่อการป้องกันตนเองในยามสงครามหรือใช้เป็นที่มั่น การสร้างระบบป้อมปราการเป็นการก่อสร้างที่เริ่มทำกันมาเป็นเวลาหลายพันปีในรูปแบบที่เริ่มตั้งแต่เพียงโครงสร้างง่ายๆ มาจนเป็นระบบที่สลับซับซ้อน เช่นในการสร้างป้อมดาวในยุคกลาง ในภาษาอังกฤษ “Fortification” แผลงมาจากภาษาลาติน “Fortis” ที่แปลว่า “แข็งแรง” และคำว่า “Facere” ที่แปลว่า “สร้าง”.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และป้อมสนาม · ดูเพิ่มเติม »

แซ็ง-เดอนี

แซ็ง-เดอนี (Saint-Denis) เป็นเทศบาลของชานเมืองตอนเหนือของกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากศูนย์กลางของกรุงปารีส 9.4 กม.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

โครงการกูเทนแบร์ก

รงการกูเทนแบร์ก (Project Gutenberg หรือเรียกชื่อย่อว่า PG) เป็นโครงการอาสาสมัครเพื่อการแปรงานทางวัฒนธรรมเช่นงานวรรณกรรมเป็นดิจิทัลเพื่อการเก็บรักษาและเผยแพร่แก่สาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1971 โดยไมเคิล เอส ฮาร์ท (Michael S. Hart) และเป็นห้องสมุดดิจิทัลที่เก่าที่สุด สื่อที่สะสมเป็นหนังสือทั้งเล่ม (full text) ที่ลิขสิทธิ์หมดอายุและเป็นสมบัติของสาธารณชน โครงการกูเทนแบร์กพยายามทำให้สาธารณชนสามารถใช้หนังสือเหล่านี้โดยไม่ต้องเสียเงินเท่าที่จะทำได้ และในรูปแบบที่ใช้ได้กับคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป (open format) ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2007 โครงการกูเทนแบร์กกล่าวว่ามีสื่อกว่า 24,000 สื่อในโครงการ โครงการกูเทนแบร์กเกี่ยวข้องกับโครงการอื่นๆ ที่เป็นองค์การอิสระอีกหลายโครงการที่มีจุดประสงค์คล้ายคลึงกันและได้รับอนุญาตให้ใช้ตรา “Project Gutenberg” ถ้าเป็นไปได้ หนังสือหรือสื่อของโครงการกูเทนแบร์กจะเป็นเนื้อหาที่ไม่มีรูปแบบ (plain text) แต่รูปแบบอื่นก็มีให้เช่น HTML หนังสือหรือสื่อส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษแต่ก็มีบ้างที่เป็นภาษาอื่น โครงการมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ โครงการผู้ตรวจสอบ (Distributed Proofreaders หรือเรียกชื่อย่อว่า DP) ซึ่งเป็นกลุ่มอาสาสมัครอินเทอร์เน็ตที่ช่วยตรวจสอบหนังสือและสือก่อนที่จะเผยแพร่แก่สาธารณชนในโครงการกูเทนแบร์ก.

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และโครงการกูเทนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องของสองนคร

รื่องของสองนคร (The Tale of the Two Cities – พ.ศ. 2402) งานวรรณกรรมที่เน้นหนักด้านจริยธรรม ความสำนึกผิด ความละอายต่อบาปและความรักชาติของนักประพันธ์ชาวอังกฤษชื่อ ชาลส์ ดิคคินส์ (พ.ศ. 2355 - 2413) ซึ่งได้เค้าเรื่องจากวรรณกรรมของ ทอมัส คาร์ลีลย์ เรื่อง การปฏิวัติของฝรั่งเศส การวางท้องเรื่องอาศัยอิงเป็นอย่างมากกับเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในสมัยนั้นเพื่อให้สามารถเดินเรื่องได้ง่ายไม่ติดขัด โดยอิงเหตุการณ์ระหว่าง..

ใหม่!!: การทลายคุกบัสตีย์และเรื่องของสองนคร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Fall of the BastilleStorming of the Bastilleการยึดคุกบาสตีย์การทลายคุกบาสตีย์การโจมตีคุกบาสตีย์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »