เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมล

ดัชนี พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมล

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมล หรือ น้อยนฤมล (พ.ศ. 2347 — พ.ศ. 2367) พระราชธิดาพระองค์ที่ 14 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสำลี.

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระยาราชนิกูล (ทองคำ)พระอัครชายา (หยก)กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)ฐานันดรศักดิ์ไทยราชวงศ์จักรีสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารีสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีหยง แซ่แต้ทอง ณ บางช้างเจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)เจ้าจอมมารดาสำลี ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์เจ้าจอมมารดาอำพัน ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและพระบรมมหาราชวัง

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระยาราชนิกูล (ทองคำ)

ระยาราชนิกูล (ทองคำ) เป็นบิดาของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและพระยาราชนิกูล (ทองคำ)

พระอัครชายา (หยก)

ระอัครชายา มีพระนามว่า หยก หรือ ดาวเรือง เป็นพระอัครชายาในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และเป็นพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและพระอัครชายา (หยก)

กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)

กรมพระเทพามาตย์ (สวรรคต: พ.ศ. 2317) มีพระนามเดิมว่า เอี้ยง หรือ นกเอี้ยง เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สันนิษฐานว่าแต่เดิมพระองค์มีพื้นเพเป็นชาวจังหวัดเพชรบุรีและอาจมีเชื้อสายจีน พระองค์สมรสกับหยง แซ่แต้ วานิชชาวแต้จิ๋ว มีบุตรคนหนึ่งชื่อ สิน ที่ต่อมาได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หลังสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีขึ้นครองราชย์ ในปี..

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและกรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)

ฐานันดรศักดิ์ไทย

ในประเทศไทยมี "ฐานันดรศักดิ์" หลายประเภท ดังนี้.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและฐานันดรศักดิ์ไทย

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและราชวงศ์จักรี

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ พระนามเดิม จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2316 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี

มเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี มีพระนามเดิมว่า สั้น หรือ มาก (ประสูติ: ราว พ.ศ. 2254 — สิ้นพระชนม์: พ.ศ. 2344) เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ถือเป็นพระสัสสุ (แม่ยาย) ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาร.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี

สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

มเด็จพระอมรินทราบรมราชินี (9 มีนาคม พ.ศ. 2280 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) หรือ สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์ พระนามเดิม นาค เป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก

มเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระนามเดิม ทองดี เป็นสมเด็จพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องด้วยทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติที่บ้านสะแกกรัง เมืองอุทัยธานี ทรงเป็นบุตรคนโตของพระยาราชนิกูล (ทองคำ) ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาลสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยังราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

หยง แซ่แต้

หยง แซ่แต้ (鄭鏞)นิธิ เอียวศรีวง.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและหยง แซ่แต้

ทอง ณ บางช้าง

ระชนกทอง ณ บางช้าง เป็นพระราชชนกในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระชายาเดิมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และทรงพระบรมราชินีพระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและทอง ณ บางช้าง

เจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)

้าพระยาสุรินทราชา นามเดิมจันทร์ ประชาชนชาวนครศรีธรรมราชขนานนามว่า อุปราชจันทร์แห่งเมืองนครศรีธรรมราช ต้นสกุล จันทโรจวงศ์ เป็นข้าหลวงสำเร็จราชการหัวเมือง ฝั่งตะวันตก ระหว่าง..

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและเจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)

เจ้าจอมมารดาสำลี ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

้าจอมมารดาสำลี หรือ พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และเป็นพระสนมในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ วังหน้าในรัชกาลที่ 2 พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 17 ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอำพัน พระสนมเอก (เจ้าจอมมารดาอำพัน เป็นธิดาของเจ้าอุปราชจันทร์ แห่งเมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้นสกุล "จันทโรจวงศ์") มีพระเชษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาคือ พระองค์เจ้าชายอรนิกา (พระราชโอรสพระองค์ที่ 9 ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) เจ้าจอมมารดา พระองค์เจ้าหญิงสำลีวรรณ มีพระราชโอรสพระราชธิดากับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ ทั้งสิ้น 6 พระองค์ คือ.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและเจ้าจอมมารดาสำลี ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

เจ้าจอมมารดาอำพัน ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

้าจอมมารดาอำพัน จันทโรจวงศ์ พระสนมในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี.

ดู พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลและเจ้าจอมมารดาอำพัน ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี