สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์พ.ศ. 2325พระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียมภาษาดัตช์รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมลาเคินวังสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิกอาร์ชดัชเชสมาเรีย คริสตีนา ดัชเชสแห่งเทเชินเจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียมเจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์เจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม
บรัสเซลส์
รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.
ดู พระราชวังลาเคินและบรัสเซลส์
พ.ศ. 2325
ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พระราชวังลาเคินและพ.ศ. 2325
พระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม
ระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม (Léopold Georges Chrétien Frédéric, Leopold Georg Christian Friedrich; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1790 – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1865) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์แรกโดยมีพระอิสริยยศเป็น "พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม" (King of the Belgians) ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู พระราชวังลาเคินและพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม
ภาษาดัตช์
ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.
ดู พระราชวังลาเคินและภาษาดัตช์
รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม
ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..
ดู พระราชวังลาเคินและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม
ลาเคิน
ลาเคิน (Laeken) เขียนและอ่านในภาษาฝรั่งเศสว่า) หรือ Laken (ออกเสียงในภาษาดัตช์) เป็นบริเวณเขตที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมืองทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงบรัสเซลส์ในประเทศเบลเยียม ลาเคินนั้นอยู่ในเขตปกครองของเทศบาลเมืองบรัสเซลส์ (Municipality of the City of Brussels) โดยใช้รหัสไปรษณีย์ว่า B-1020 ก่อนหน้าปีค.ศ.
วัง
้านหน้าของพระราชวังดุสิต วัง หรือ พระราชวัง เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยของประมุขของประเทศหรือผู้นำผู้มีตำแหน่งสูงในหลายประเทศในยุโรปเช่นประเทศฝรั่งเศส และ อิตาลี นอกจากนั้นยังเป็นคำที่ใช้สำหรับสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่แต่ไม่จำเป็นต้องใหญ่มากในตัวเมืองที่สร้างสำหรับเจ้านาย หรือผู้มีตระกูล ในปัจจุบันวังหรือพระราชวังหลายแห่งเปลี่ยนไปใช้เป็นพิพิธภัณฑ์หรือสำนักงานรัฐบาล หรือโรงแรม.
สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ.
ดู พระราชวังลาเคินและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม (Mathilde, Reine des Belges; Mathilde, koningin der Belgen; พระราชสมภพ: 20 มกราคม ค.ศ. 1973) หรือพระนามเดิมว่า มาตีลด์ มารี คริสตียาน กีแลน ดูว์เดอแกม ดาโก (Mathilde Marie Christiane Ghislaine d'Udekem d'Acoz) สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม มีเชื้อสายสืบแต่สกุลขุนนางของโปแลนด์ พระองค์เป็นพระราชินีพระองค์แรกที่ถือสัญชาติเบลเยียม ภายหลังจากการขึ้นครองราชย์ของพระราชสวามี.
ดู พระราชวังลาเคินและสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม
สถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก
มหาวิหารวิลนิอุส (Cathedral of Vilnius) วาดโดย Laurynas Gucevičius เมื่อปี ค.ศ. 1783 สถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical architecture) หรือ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีกโรมัน คือสถาปัตยกรรมที่เป็นผลมาจาก “ขบวนนิยมคลาสสิก” (Neoclassicism) ที่เริ่มขึ้นเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ที่เป็นผลจากปฏิกิริยาต่อ ศิลปะหรือสถาปัตยกรรมแบบโรโคโคที่นิยมพรางโครงร่างองค์ประกอบทางศิลปะหรือสถาปัตยกรรมด้วยการตกแต่งอย่างวิจิตร และเป็นผลจากลักษณะคลาสสิกของสถาปัตยกรรมแบบบาโรก โครงร่างที่แท้จริงของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิกมาจากสถาปัตยกรรมกรีกโบราณ.
ดู พระราชวังลาเคินและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก
อาร์ชดัชเชสมาเรีย คริสตีนา ดัชเชสแห่งเทเชิน
อาร์ชดัชเชสมาเรีย คริสติน่า โจฮันนา โจเซเฟ้ แอนโตนี่ (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2285 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2341) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 5 ในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา และดยุคฟรานซิสที่ 3 สตีเฟนแห่งลอร์เรน ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..
ดู พระราชวังลาเคินและอาร์ชดัชเชสมาเรีย คริสตีนา ดัชเชสแห่งเทเชิน
เจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม
้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: กาบรีแยล โบดวง ชาลส์ มารี, Gabriel Baudouin Charles Marie, Gabriël Boudewijn Karel Maria; ประสูติ: 20 สิงหาคม พ.ศ.
ดู พระราชวังลาเคินและเจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม
เจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม
้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: แอมานุแอล เลโอโปลด์ ฟร็องซัว มารี, Emmanuel Léopold Guillaume François Marie; ประสูติ: 4 ตุลาคม พ.ศ.
ดู พระราชวังลาเคินและเจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม
เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์
้าหญิงเอลีซาแบ็ต เตแรซ มารี เอแลน ดัชเชสแห่งบราบันต์ (Élisabeth Thérèse Marie Hélène, Elisabeth Theresia Maria Helena.; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544) เป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์เบลเยียม เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม มีพระอิสริยยศเป็น "ดัชเชสแห่งบราบันต์" หลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม พระอัยกาธิราชของพระองค์ทรงสละราชสมบัติ โดยมีพระราชบิดาของพระองค์สืบราชสมบัติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2013.
ดู พระราชวังลาเคินและเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์
เจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม
้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: เอเลออนอร์ ฟาบิโอลา วิกตอเรีย แอน มารี, Eléonore Fabiola Victoria Anne Marie; ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ.