โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม

ดัชนี สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม (Mathilde, Reine des Belges; Mathilde, koningin der Belgen; พระราชสมภพ: 20 มกราคม ค.ศ. 1973) หรือพระนามเดิมว่า มาตีลด์ มารี คริสตียาน กีแลน ดูว์เดอแกม ดาโก (Mathilde Marie Christiane Ghislaine d'Udekem d'Acoz) สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม มีเชื้อสายสืบแต่สกุลขุนนางของโปแลนด์ พระองค์เป็นพระราชินีพระองค์แรกที่ถือสัญชาติเบลเยียม ภายหลังจากการขึ้นครองราชย์ของพระราชสวามี.

23 ความสัมพันธ์: บรัสเซลส์ภาษาฝรั่งเศสภาษาอังกฤษภาษาอิตาลีภาษาดัตช์ภาษาโปแลนด์รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เบลเยียมสภาเศรษฐกิจโลกสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียมสหรัฐอรรถบำบัดอุกล์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาประเทศเบลเยียมประเทศเวียดนามเจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียมเจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์เจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงอะเลกซียาแห่งเนเธอร์แลนด์เจ้าหญิงอิซาเบลลาแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์เจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและบรัสเซลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดัตช์

ษาดัตช์ (Dutch; Nederlands) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกต่ำที่มีคนพูด 22 ล้านคน ส่วนใหญ่ในประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียม ภาษาดัตช์ที่พูดในเบลเยียมมักเรียกว่าภาษาเฟลมิช และมักจะถือเป็นภาษาที่แยกต่างหากกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและภาษาดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปแลนด์

ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและภาษาโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เบลเยียม

คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม จากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา นับตั้งแต่สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 1 จนถึงรัชกาลของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 จะดำรงพระอิสริยยศที่ สมเด็จพระราชินี ทุกพระองค์ แต่ในรัชกาลของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ได้อภิเษกสมรสครั้งที่สองกับลิเลียน บาเอลส์ ซึ่งเธอมิได้ดำรงตำแหน่งที่ สมเด็จพระราชินี หากแต่ดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งเรธี (Princess of Réthy) บ หมวดหมู่:ราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สภาเศรษฐกิจโลก

รษฐกิจโลก (World Economic Forum; WEF) เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรซึ่งจัดการประชุมขึ้นทุกปีที่ดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและสภาเศรษฐกิจโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ. 1960) เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 7 แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในอดีตสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม ทรงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 ภายหลังจากการสละราชสมบัติของสมเด็จพระราชบิดาอันเนื่องมาจากปัญหาพระพลานามัย โดยหลังจากการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งบราบันท์ รัชทายาทพระองค์ต่อไปของเบลเยียม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และเป็นสมเด็จพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมพระองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อรรถบำบัด

นักแก้ไขการพูด (Speech-Language Pathologist) คือ ผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวินิจฉัย การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางภาษาและการพูด เช่น พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด เสียงผิดปกติ ปากแหว่งเพดานโหว่ ประสาทหูพิการ มีความบกพร่องด้านสติปัญญา ผู้ป่วยที่ถูกตัดกล่องเสียง ผู้ป่วยสมองพิการ บทบาทของนักแก้ไขการพูดในทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟู คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและอรรถบำบัด · ดูเพิ่มเติม »

อุกล์

อุกล์ (Uccle) หรือ อึกเกิล (Ukkel) เป็นหนึ่งใน 19 ของเทศบาลในเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม มีพื้นที่ 22.91 ตารางกิโลเมตร หมวดหมู่:เมืองในประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและอุกล์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม

้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: กาบรีแยล โบดวง ชาลส์ มารี, Gabriel Baudouin Charles Marie, Gabriël Boudewijn Karel Maria; ประสูติ: 20 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นพระราชทายาทพระองค์ที่สอง และเป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปแห่งเบลเยียมกับสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม พระองค์ในปัจจุบันอยู่ในลำดับที่สองของการสืบราชสันตติวงศ์ พระองค์เป็นพระอนุชาของเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์ ในขณะที่พระเชษฐภคินีนั้นได้เลื่อนอันดับเป็นอันดับแรกแห่งการสืบราชสันตติวงศ์ อันเนื่องมาจากการผ่านกฎหมายให้ถือสิทธิของบุตรหัวปีในการเป็นรัชทายาทในปีค.ศ.​ 1991 นอกจากดัชเชสแห่งบราบันต์แล้ว พระองค์ยังมีพระอนุชา คือ เจ้าชายแอมานุแอล และพระขนิษฐา คือ เจ้าหญิงเอเลออนอร์ พ่อและแม่ทูนหัวของพระองค์ได้แก่ เคานต์ชาลส์-อ็องรี ดูว์เดอแกม ดาโก ผู้เป็นพระปิตุลาฝ่ายพระชนนี และบารอนเนสมาเรีย คริสตินา วอน เฟรแบร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์

้าชายดาเนียลแห่งสวีเดน ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์ (Prins Daniel av Sverige, Hertig av Västergötland) หรือนามเดิม โอลอฟ ดาเนียล เวสต์ลิง (Olof Daniel Westling) เป็นพระสวามีในเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าชายดาเนียล ดยุกแห่งเวสเตร์เยิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม

้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: แอมานุแอล เลโอโปลด์ ฟร็องซัว มารี, Emmanuel Léopold Guillaume François Marie; ประสูติ: 4 ตุลาคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชทายาทพระองค์ที่สาม และพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปแห่งเบลเยียมกับสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม พระองค์ในปัจจุบันอยู่ในลำดับที่สามของการสืบราชสันตติวงศ์ ต่อจากพระเชษฐภคินี และพระเชษฐา คือ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์ และเจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม พระองค์ทรงรับบัพติศมาเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอะเลกซียาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงอะเลกซียา ยูลียานา มาร์เซลา ลอเรนทีนแห่งเนเธอร์แลนด์, เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์-นัสเซา (Alexia Juliana Marcela Laurentien, Prinses der Nederlanden, Prinses van Oranje-Nassau; 26 มิถุนายน พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์กลางในสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลม-อเล็กซานเดอร์ กับสมเด็จพระราชินีแม็กซิมาแห่งเนเธอร์แลนด์ และอยู่ในลำดับที่สองของการสืบราชบัลลังก์เนเธอร์แลนด์ต่อจากภคินีคือ เจ้าหญิงแห่งออเรน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงอะเลกซียาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอิซาเบลลาแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิซาเบลลา เฮนเรียตตา อิงกริด มาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก, เคาน์เตสแห่งมงเปอซา (21 เมษายน พ.ศ. 2550) พระธิดาพระองค์แรกในเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก เป็นพระราชนัดดาองค์ที่สี่ และเป็นพระราชนัดดาหญิงพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก ทั้งยังเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ ทรงมีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ลำดับที่สามต่อจากพระบิดาและพระเชษฐา คือ เจ้าชายคริสเตียน จนเมื่อพิธีบัพติศมา ได้มีการขนานพระนามโดยพระชนกชนนี และสื่อของเดนมาร์กว่า "Lillepigen" ซึ่งมีความหมายว่า เด็กหญิงตัวน้อยอันเป็นที่รักไคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงอิซาเบลลาแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์

้าหญิงเอลีซาแบ็ต เตแรซ มารี เอแลน ดัชเชสแห่งบราบันต์ (Élisabeth Thérèse Marie Hélène, Elisabeth Theresia Maria Helena.; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544) เป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์เบลเยียม เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปแห่งเบลเยียมและสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม มีพระอิสริยยศเป็น "ดัชเชสแห่งบราบันต์" หลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม พระอัยกาธิราชของพระองค์ทรงสละราชสมบัติ โดยมีพระราชบิดาของพระองค์สืบราชสมบัติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2013.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม

้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: เอเลออนอร์ ฟาบิโอลา วิกตอเรีย แอน มารี, Eléonore Fabiola Victoria Anne Marie; ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2551) เป็นพระราชทายาทพระองค์ที่สี่ และพระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปแห่งเบลเยียมกับสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม ทรงเป็นพระราชนัดดาลำดับที่ 12 ในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 กับสมเด็จพระราชินีเปาลา ในปัจจุบัน พระองค์ทรงอยู่ในลำดับที่สี่ของการสืบราชสันตติวงศ์ ต่อจากพระเชษฐภคินี และพระเชษฐา คือ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต ดัชเชสแห่งบราบันต์, เจ้าชายกาบรีแยลแห่งเบลเยียม และ เจ้าชายแอมานุแอลแห่งเบลเยียม พระองค์ทรงรับบัพติศมาเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมและเจ้าหญิงเอเลออนอร์แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชินีมาธิลด์แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีมาทิลด์แห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมาทิลด์ ดัชเชสแห่งบราบันต์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »