โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2325

ดัชนี พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

41 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2246พ.ศ. 2260พ.ศ. 2277พ.ศ. 2284พ.ศ. 2306พ.ศ. 2380พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระยาพิชัยดาบหักพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปนพระเจ้าหม่องหม่องพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรกรมพระราชวังบวรสถานมงคลการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีราชวงศ์จักรีรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปนรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยวัดพระศรีรัตนศาสดารามสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีอะแซหวุ่นกี้อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรธนบุรีคริสต์ศักราชปฏิทินจูเลียนปฏิทินเกรโกเรียนประเทศไทยปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์โมลิบดีนัม11 กุมภาพันธ์12 กันยายน21 มิถุนายน21 เมษายน22 มีนาคม26 กรกฎาคม6 เมษายน

พ.ศ. 2246

ทธศักราช 2246 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพ.ศ. 2246 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2260

ทธศักราช 2260 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพ.ศ. 2260 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2277

ทธศักราช 2277 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพ.ศ. 2277 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2284

ทธศักราช 2284 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพ.ศ. 2284 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2306

ทธศักราช 2306 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพ.ศ. 2306 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2380

ทธศักราช 2380 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1837.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพ.ศ. 2380 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิชัยดาบหัก

อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก หน้าศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ พระยาพิชัยดาบหัก ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีชื่อเสียงอย่างยิ่งในชั้นเชิงการต่อสู้ ทั้งมือเปล่าแบบมวยไทย และอาวุธแบบกระบี่ กระบอง เดิมชื่อ จ้อย เกิดที่บ้าน ห้วยคา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อปี พ.ศ. 2284 ในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ศึกษาอยู่กับท่านพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ่ เมืองพิชัย ภายหลัง จ้อยได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นทองดี หรือ ทองดีฟันขาว มีความสามารถทั้งทางเชิงมวยและเชิงดาบ เข้ารับราชการกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่ครั้งดำรงตำแหน่งเป็นพระยาตาก ต่อมานายทองดีได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์มีบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงพิชัยอาสา" เมื่อรับราชการมีความดีความชอบจึงได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ พระยาสีหราชเดโช และพระยาพิชัย ผู้สำเร็จราชการครองเมืองพิชัย ซึ่งรับพระราชทานเครื่องยศเสมอเจ้าพระยาสุรสีห์ ตามลำดับ ภายหลังข้าศึกยกทัพมาตีเมืองพิชัย 2 ครั้ง ในการรบครั้งที่ 2 พระยาพิชัยถือดาบสองมือออกต่อสู้จนดาบหักไปข้างหนึ่ง และรักษาเมืองไว้ได้ ดังนั้นจึงไดัรับสมญานามว่า "พระยาพิชัยดาบหัก".

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระยาพิชัยดาบหัก · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)

ระยาวิเชียรปราการ หรือ พระยาจ่าบ้าน (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นพระยาประเทศราชนครเชียงใหม่สมัยกรุงธนบุรี ช่วง พ.ศ. 2317 - พ.ศ. 2319.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน

ระวังสับสนกับ จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้ปกครองสเปนในช่วงเวลาสั้นๆในช่วงสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 3 พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน หรือสำเนียงภาษาอังกฤษ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 (สเปน;การ์โลส, อิตาลี; การ์โล; 20 มกราคม ค.ศ. 1716 - 14 ธันวาคม ค.ศ. 1788 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนและชาวสเปนระหว่างปี 1759 - 1788 ทรงเป็นพระโอรสพระองค์ที่ห้าในพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน กับพระมเหสีพระองค์ที่สองเอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ ในปี 1731 เจ้าชายการ์โลสพระชนมายุ 15 ชันษาได้กลายเป็นดยุคแห่งปาร์มาและปิอาเซนซา ในฐานะชาร์ลส์ที่ 1 หลังจากการสวรรคตของแอนโตนิโอ ฟาร์เนส ผู้เป็นพระปิตุลา ในปี 1734 ในฐานะดยุกแห่งปาร์มา ทรงได้รับชัยชนะในสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์และซิซิลี ในปี 1735 ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 7 แห่งเนเปิลส์ และ ชาร์ลส์ที่ 5 แห่งซิซิลี ในปี 1738 ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งแซกโซนี มีพระราชโอรสและธิดารวมทั้งสิ้น 13 พระองค์ พระเจ้าการ์โลสและมาเรีย อเมเลียทรงประทับอยู่ที่เนเปิลส์เป็นเวลา 19 ปี จนพระนางมาเรีย เมเลียสิ้นพระชนม์ในปี 1760 เมื่อเสด็จเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนในวันที่ 10 สิงหาคม 1759 เป็นช่วงเวลาที่พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม โดยในวันที่ 6 ตุลาคม 1759 ทรงสละราชบัลลังก์เนเปิลส์และซิซิลีให้อินฟันเตเฟอร์ดินานด์ พระโอรสพระองค์ที่สามผู้ทรงโปรดปรานโดยได้เสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งซิซิลีทั้งสอง ในฐานะกษัตริย์แห่งสเปน พระเจ้าการ์โลสที่ 3 ทรงเป็นหนึ่งกษัตริย์ผู้ได้รับอิทธิพลจากยุคเรืองปัญญา โดยทรงมีความพยายามที่จะช่วยเหลืออาณาจักรของพระองค์ที่กำลังเสื่อมสลายถึงการปฏิรูปที่อ่อนตัวลง เช่น คริสตจักรและพระราชวงศ์ ในการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้า การพานิชย์ และการเกษตรที่ทันสมัยและการหลีกเลี่ยงสงคราม ทรงไม่ประสบความสำเร็จในระดับที่น่าพอใจกับการควบคุมเงินและถูกบังคับให้ยืมเงินเพื่อสนองค่าใช้จ่าย ทำให้การปฏิรูปของพระองค์ได้รับการพิสูจน์ในระยะสั้นว่าหลังการสวรรคตของพระองค์การเปลี่ยนแปลงของพระองค์เห็นผล แต่พระราชมรดกของพระองค์ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์สแตนเลย์แพนรัฐการ์โลสที่ 3 ได้กล่าวว่า "อาจจะเป็นผู้ปกครองในยุโรปที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในรัชสมัยของพระองค์ ทรงทำให้ความสอดคล้องความเป็นผู้นำที่ชาญฉลาด โดยทรงเลือกรัฐมนตรีที่มีความสามารถ...ชีวิตส่วนพระองค์ได้รับการยอมรับนับถือของประชาชน" หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สเปน หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:เจ้าชายสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหม่องหม่อง

ระเจ้าหม่องหม่อง หรือ พระเจ้าพองกาซาหม่องหม่อง (Maung Maung, Phaungkaza Maung Maung, ဖောင်းကားစား မောင်မောင်,; 12 กันยายน ค.ศ. 1763 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1782) เป็นพระโอรสองค์หนึ่งในพระเจ้ามังลอก หรือพระเจ้านองดอจี พระราชโอรสพระองค์โตในพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์คองบอง เมื่อพระเจ้ามังระสวรรคตลงอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2319 หม่องหม่อง ซึ่งเป็นเจ้าเมืองพองกา ซึ่งมีพระชันษาเพียง 18 ชันษา เมื่อพระเจ้าจิงกูจา หรือพระเจ้าเซงกูเมง ได้เสด็จไปกระทำการสักการะเจดีย์และพระพุทธรูปนอกกรุงอังวะ หม่องหม่องและขุนนางรวมถึงกำลังทหารจำนวนหนึ่ง (รวมถึงอะแซหวุ่นกี้ด้วย) ได้กระทำการยึดอำนาจแล้วสถาปนาตนเองขึ้นเป็นกษัตริย์ แต่ทว่าอยู่ในอำนาจได้เพียงแค่ 7 วันเท่านั้น ปโดงเมง เจ้าเมืองปโดง ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์หนึ่งของพระเจ้าอลองพญา ก็ยกทัพเข้ามาทำการปราบปราม พร้อมทั้งกำจัดกลุ่มผู้ที่สนับสนุนทั้งหม่องหม่องและพระเจ้าจิงกูจาด้วยการประหารชีวิต แล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าปดุง ในปี พ.ศ. 2325.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระเจ้าหม่องหม่อง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

การสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

การสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระมหากษัตริย์ไทยเพียงพระองค์เดียวในสมัยกรุงธนบุรี เกิดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน

รายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และรายพระนามพระมหากษัตริย์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระคู่บ้านคู่เมืองของแผ่นดินสยามที่พบ ณ วัดป่าเยี้ยะ(ป่าไผ่) จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์

กรมขุนอินทรพิทักษ์ พระนามเดิมว่า จุ้ย (ไม่ทราบ – พ.ศ. 2325) เป็นพระมหาอุปราชแห่งกรุงธนบุรี เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประสูติแต่กรมหลวงบาทบร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และสมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้าจุ้ย กรมขุนอินทรพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อะแซหวุ่นกี้

มะฮาตีฮะตูระ (แปลงเป็นไทย มหาสีหสุระ, မဟာသီဟသူရ, Maha Thiha Thura; ราวพุทธศักราช 2263-2325) เอกสารไทยเรียก อะแซหวุ่นกี้ เป็นแม่ทัพแห่งกองทัพพม่าช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และอะแซหวุ่นกี้ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศักราช

ริสต์ศักราช (Anno Domini Nostri Iesu Christi Anno Domini: AD หรือ A.D. ส: คฺฤสฺตศกฺราช ป: คิตฺถสกฺกาช) เขียนย่อว.. หมายถึง ปีของพระเยซูคริสต์ โดยเริ่มนับจากปีที่เชื่อว่าพระเยซูทรงประสูติ เป็น..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และคริสต์ศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจูเลียน

ปฏิทินจูเลียน (Julian calendar; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นโดยกงสุลจูเลียส ซีซาร์ แห่งโรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่มอธิกวารทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน แรกเริ่มนั้นวันวสันตวิษุวัตตรงกับวันที่ 1 Martius (มีนาคม) จึงถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในปี 153 ก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และปฏิทินจูเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) เหตุที่มีการคิดค้นปฏิทินเกรกอเรียนขึ้นใช้แทน เนื่องจากปีในปฏิทินจูเลียน ซึ่งยาวนาน 365.25 วันนั้น มีนานกว่าปีฤดูกาลจริง (365.2425 วัน) อยู่เล็กน้อย ทำให้วันวสันตวิษุวัตของแต่ละปี ขยับเร็วขึ้นทีละน้อย เพื่อที่จะให้วันอีสเตอร์ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม (วันวสันตวิษุวัต) จึงจำเป็นต้องปฏิรูปปฏิทิน เนื่องจากสมเด็จพระสันตะปาปาทรงปรับปรุงปฏิทินโดยมีผลย้อนหลัง กำหนดให้ถัดจากวันที่ 4 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และปฏิทินเกรโกเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร (เช่น พ.ศ. 2562 2556 2545 2534 2528 2517) ---- หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โมลิบดีนัม

มลิบดีนัม (Molybdenum) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 42 และสัญลักษณ์คือ Mo โมลิบดีนัมเป็นโลหะทรานซิชัน มีสีขาวเงินมีเนื้อแข็งมากอยู่กลุ่มของธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และโมลิบดีนัม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ12 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ21 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2325และ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ร.ศ. 1ค.ศ. 1782

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »