โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

ดัชนี รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

159 ความสัมพันธ์: บางเขนพระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา)พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยาพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์พระนมปริกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาคพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมารพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี...พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดาพระเจ้าอินทวิชยานนท์พราหมณ์มัสยิดต้นสนมเหสีราชสกุลรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5ศาสนาอิสลามสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมาสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตาสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดีหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าวนางเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)เจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมก๊กออเจ้าจอมมารดาบัว ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาจีนเจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแสง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมสมบูรณ์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ข้อ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5เจ้าทิพเกสรเจ้าดารารัศมี พระราชชายาเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)เจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในรัชกาลที่ 4 ขยายดัชนี (109 มากกว่า) »

บางเขน

งเขน อาจหมายถึง; ชื่อสถานที.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา)

ระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) กับคุณหญิงกลิ่น ธิดาพระยารามัญวงศ์ (มะโดด) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2391 บิดานำเข้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กตั้งแต่อายุ 18 ปี เข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กเวรศักดิ์ มียศเป็นนายฉลองไนยนารถ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านย้ายมาเป็นขุนนางกรมท่าขวา และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงราชเศรษฐี ระหว่างนี้ก็ศึกษากฎหมายด้วย ครั้นถึงรชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระราชเศรษฐี และเมื่อบิดาถึงแก่กรรมจึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระยาจุฬาราชมนตรี เจ้ากรมท่าขวา เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 นอกจากนั้นยังเป็นผู้พิพากษาศาลคดีต่างประเทศในกระทรวงยุติธรรมอีกตำแหน่งหนึ่ง ท่านเป็นข้าราชการที่สนิทชิดเชิ้อกับรัชกาลที่ 5 เป็นพิเศษ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และพานทองเทียบชั้นเจ้าพระยาพานทอง เมื่อท่านเจ็บป่วยก็โปรดเกล้าฯ ให้แพทย์หลวงมาดูแลรักษา พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน) ถึงแก่กรรมเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2453 รวมอายุ 65 ปี รัชกาลที่ 5 โปรดให้มีการแห่ศพทางน้ำอย่างสมเกียรติ พระราชทานไม้นิซ่านปักที่หลุมศพของท่านและทรงเป็นประธานในพิธีฝังศพด้วยพระองค์เอง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ 2000000000000000 ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม "ทองดี") และพระอัครชายา (พระนามเดิม "หยก"หรือ ดาวเรือง) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระมเหสี และ เจ้าจอมมารดา รวมทั้งสิ้น 37 และพระองค์ยังมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม 73 พระอง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 51 พระองค์ โดยประสูติก่อนบรมราชาภิเษก 38 พระองค์ และประสูติหลังจากบรมราชาภิเษก 13 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล ดังต่อไปนี้ กรมหลวงวรเสร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์

ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 - 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าสาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์

ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ. 2430 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441 และทรงเป็นผู้บัญชาการกรมทหารเรือในสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในกรณีพิพาท ร.ศ. 112อีกด้วย หม่อมเจ้าขจร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ประสูติแต่หม่อมกลีบ ต่อมาทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงเป็นผู้กำกับกรมช่างสิบหมู่ กรมพระคชบาล เป็นผู้ออกแบบสร้างพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ เป็นพลับพลาแบบจตุรมุข เพื่อเป็นที่ประทับในคราวเสด็จประพาสต้น เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา

ระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์; ประสูติ: 4 กันยายน พ.ศ. 2405 — สิ้นพระชนม์: 24 มิถุนายน พ.ศ. 2472) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีและเจ้าจอมมารดาจีน ทรงเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมกับพระเชษฐภคินีร่วมพระบิดามารดาคือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา · ดูเพิ่มเติม »

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา

ระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าหญิงบัว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2389 หม่อมเจ้าบัว ลดาวัลย์ เมื่อทรงพระเยาว์ประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมีสมเด็จกรมพระยาสุดารัตนราชประยูร ซึ่งเป็นเสด็จป้าของหม่อมเจ้าหญิงบัว คือเป็นพระเชษฐภคินีต่างพระมารดากับกรมหมื่นภูมินทรภักดี พระบิดา ทรงเป็นผู้อภิบาล พระองค์มีพระพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน 2 พระองค์ ได้แก่ หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ และ หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์ ในปี พ.ศ. 2416 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามหม่อมเจ้าบัว ลดาวัลย์ใหม่ว่า "หม่อมเจ้าอุบลรัตนนารีนาค" พร้อมกับพระราชทานนามหม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ว่า "หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์" พระองค์และพระขนิษฐาทั้ง 2 เข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระภรรยาเจ้าระดับ "หลานหลวง" ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้ง 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์

ระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ พระมเหสีในรัชกาลที่ 5 หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์รองในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๗ หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมีกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนมปริก

ระนมปริก พระนมปริก (พ.ศ. 2373 - 30 ตุลาคม พ.ศ. 2454) เป็นพระนมเอก ผู้ถวายพระนมและการอภิบาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมทั้งพระขนิษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชชนนีทุกพระองค์ พระนมปริกเกิดที่บ้านริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ของตระกูลกัลยาณมิตร ใกล้วัดอรุณราชวรารามกับกุฏีเจ้าเซน เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปีขาล โทศก จุลศักราช 1192 ตรงกั..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระนมปริก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ เป็นพระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ บุนนาค) (เป็นธิดาเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และท่านผู้หญิงอิ่ม (ต้นสกุลมาแต่เชื้อจีน) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี แรม 13 ค่ำ เดือน 12 ปีกุน ตรงกับวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2418 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2434 ปีเถาะ พระชันษา 17 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบัณฑรวรรณวโรภาษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ประสูติวันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาเรือน (สุนทรศารทูล) สิ้นพระชนม์วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 (พระชันษา 55 ปี) พระองค์ท่านโปรดประทับในพระบรมมหาราชวัง จะเสด็จไปประทับในสวนสุนันทาก็เป็นครั้งคราว เมื่อมีพระประสงค์จะไปเยี่ยมเยียนพระเชษฐภคินีหรือพระชนิษฐภคินีที่ประทับอยู่ในสวนสุนันทาเท่านั้น บำเพ็ญพระราชกุศล 7 วัน ที่หอนิเพธพิทยา ในพระบรมมหาราชวัง โดยคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2479 และ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2479 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิริทราวาส วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2481 โดยประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี หรือ พระองค์เจ้าหญิงบีเอตริศภัทรายุวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 3 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2419 พระนาม บีเอตริศภัทรายุวดี นั้น ทรงตั้งตามพระนามพระราชธิดาพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย คือ เจ้าฟ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์เจ้าหญิงภัทรายุวดี มีพระเชษฐา พระขนิษฐา ร่วมเจ้าจอมมารดา ได้แก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ (30 มีนาคม พ.ศ. 2434 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2436) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาเลื่อน (สกุลเดิม นิยะวานนท์) มีพระอนุชาคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2436 พระสรีรังคารของพระองค์ถูกบรรจุในอนุสาวรีย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ ในสุสานหลวง ภายในวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลวาดวรองค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 15 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาเอมน้อย ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนยี่ ตรงกับวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2358 พระองค์เจ้าลดาวัลย์ ทรงรับราชการกำกับกรมช่างสิบหมู่ ทรงเป็นผู้กำกับการก่อสร้างพระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นกรมหมื่นภูมินทรภักดี เมื่อทรงพระชราภาพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี ประชวรดวงพระเนตรเป็นต้อ ทอดพระเนตรไม่เห็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ติดต่อแพทย์ชาวดัตช์เข้ามาผ่าตัดพระเนตรจนหายเป็นปกติ พร้อมกับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ซึ่งป่วยเป็นต้อเช่นกัน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันเสาร์ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 บูรพาษาฒ ปีจอ ตรงกับวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี

ระองค์เจ้าวรลักษณาวดีเมื่อเจริญพระชันษา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสุด สุกุมลจันทร์ (ธิดาพระยาสุรินทรราชเสนี (จั่น) กับคุณหญิงกลิ่น) เมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค้ำ เดือน 8 ปฐมาษาฒ ปีวอก ตรงกับวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2415 พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2469 ปีขาล พระชันษา 55 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรลักษณาวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ เจ้าจอมมารดาพร้อม ประสูติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 ลำดับพระองค์ที่ 68 เป็นพระขนิษฐาของพระองค์หญิงแฝดพระองค์ที่ 50, 51 และ 59 ในสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี (ประสูติ: 2 ตุลาคม พ.ศ. 2432 — สิ้นพระชนม์: 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435) เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าดารารัศมี พระราชชายา เจ้านายจากราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนนครเชียงใหม่ที่ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าในราชวงศ์จักรี.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2447) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ) เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงได้รับพระกรุณายกย่องพระเกียรติยศไว้ยิ่งกว่าพระเจ้าลูกเธอพระองค์อื่นหลายประการและสมเด็จพระบรมชนกนาถถึงกับรับสั่งว่าพระองค์เป็น "ลูกคู่ทุกข์คู่ยาก" พระองค์ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จพระบรมชนกนาถให้ทำหน้าที่ดูแลพระเจ้าน้องที่ยังทรงพระเยาว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระองค์ได้รับพระราชทานเกียรติให้เป็นผู้สั่งพระกนิษฐาให้เป็นสาว เนื่องจากตามธรรมเนียมการเป็นสาวของสตรีในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ใหญ่ก่อน นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงดำรงตำแหน่งอุปนายิกาสภาอุณาโลมแดง (สภากาชาดไทย) ร่วมกับเจ้านายฝ่ายในอีกหลายพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 พระองค์แรกและเป็นพระเจ้าลูกเธอ ชั้นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าต่างกรมที่ "กรมขุนสุพรรณภาควดี" ซึ่งภายหลังจากการทรงกรมเพียง 1 ปี พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ลง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้จัดการพระราชทานเพลิงพระศพที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดนิเวศธรรมประวัติ โดยให้ตั้งพระศพทรงบำเพ็ญพระราชกุศลที่พระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2424 — สิ้นพระชนม์: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 31 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ) ประสูติวันอังคาร เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีมะเส็ง ตรีศก จุลศักราช 1243 ตรงกับวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม หรือ สมัยวุฎฐิวโรดม พระราชโอรสพระองค์ที่ 59 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพร้อม.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2473) ประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก จุลศักราช 1235 ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุวพักตร์วิไลยพรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2433 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2461) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ แรม 13 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค (27 เมษายน พ.ศ. 2416 - 26 มกราคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย อิศรางกูร (ธิดาในหม่อมเจ้าโสภณ ซึ่งเป็นพระโอรสของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯกรมขุนอิศรานุรักษ์ ต้นราชสกุล"อิศรางกูร ณ อยุธยา") ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 6 ขึ้น 1 ค่ำ ปีระกา ตรงกับวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2416.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา พระราชธิดาพระองค์ที่ 39 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหม.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรองค์อรรคยุพา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ

ระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) และ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ ประสูติวันอังคารที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค มีพระน้องนางคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา ทรงเป็นราชนารีที่โปรดการผจญป่าดงพงไพรและทรงม้าได้ดีเยี่ยม ปัจจุบัน ตำหนักของพระองค์ได้รื้อไปแล้ว กำลังก่อสร้างเป็นอาคารใหม่ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 พระชันษา 48 ปีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๕๐, ตอน ๐ ง, ๔ มิถุนายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ (เป็นธิดาของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ) และขรัวยายบาง) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาตลับ มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เวลา 2 นาฬิกา พระชันษา 38 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา (21 เมษายน พ.ศ. 2432 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2501) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาชุ่ม (สกุลเดิม: ไกรฤกษ์).

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร (4 กันยายน พ.ศ. 2413 - 5 มิถุนายน พ.ศ. 2415) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 1 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ธิดาพระยาไชยวิชิต (ช่วง กัลยาณมิตร).

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศรวงศ์วรราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ ประสูติวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2431 พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร สนิทวงศ์ สิ้นพระชนม์วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2435 รวมพระชนมายุ 4 พรรษา มีพระอนุชาคือ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์ พระเมรุพระศพของพระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ ณ สุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาส อาคารเรียนโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช (15 ตุลาคม พ.ศ. 2436 — 20 กันยายน พ.ศ. 2452) เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 95 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเลื่อน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 — 27 มกราคม พ.ศ. 2506) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอ่อน (สกุลเดิม: บุนนาค).

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์ ประสูติวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2434 เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกษร สนิทวงศ์ สิ้นพระชนม์วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 พระชันษา 9 ปี อาคารเรียนโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ หรือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่อง (19 ธันวาคม พ.ศ. 2410 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2485) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นพระพี่เลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี ประสูติวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2415 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดามรกฎ เพ็ญกุล พระองค์ประชวรพระโรคพระอันตะ (ลำไส้ใหญ่) และพระวักกะ (ไต) สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 พระชันษา 58 พรรษาราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๔๗, ตอน ง, ๘ มิถุนายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุฑารัตนราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี (18 กันยายน พ.ศ. 2395 — 13 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ และเป็นพระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวงพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติกาลพระราชบุตร แต่เมื่อมีพระประสูติกาล พระราชบุตรพระองค์นั้นก็ได้สิ้นพระชนม์ไปอย่างกระทันหันภายในเวลาอันสั้น พระองค์เจ้าทักษิณชาทรงเสียพระทัยยิ่งนักจนสูญเสียพระจริตในเวลาต่อมา และมิสามารถสนองพระเดชพระคุณรับราชการฝ่ายในได้ต่อไป ทรงอยู่ในสภาพผู้ป่วยตลอดชีพตราบจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 8 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

ระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ใน พระราชพิธีโสกันต์ มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่จบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ นับเป็นเจ้านายไทยพระองค์แรกและเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่จบการศึกษาในวิชาระดับปริญญาเอก พระนาม "ดิลกนพรัฐ" หมายถึง "ศรีเมืองเชียงใหม่".

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระเชษฐภคินีแฝดของพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระกนิษฐาแฝดของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย สิ้นพระชนม์วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2429 พระชันษา 1 ปี 3 เดือน พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย ประสูติ วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2422 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาทับทิม สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 พระชันษา 65 ปี มีพระเชษฐาและพระอนุชาคือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์ หรือ นภางค์นิพัทธวงศ์ (8 สิงหาคม พ.ศ. 2417 — 17 กันยายน พ.ศ. 2419) พระราชโอรสพระองค์ที่ 13 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภางค์นิพัทธพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล หรือ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ (19 กันยายน พ.ศ. 2430 — 19 เมษายน พ.ศ. 2433) พระราชธิดาพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาวง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2425 เสด็จไปศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์จากประเทศอังกฤษ สำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท

ระองค์เจ้าเยาวภาพงษ์สนิท และพระองค์เจ้ารังสิตประยุรศักดิ์ พระอนุชา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระราชธิดาองค์ที่ 47 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ (ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์) ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก ตรงกับวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2427 เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี

แถวล่างพระองค์ที่3 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี (ประสูติ: 12 มกราคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 17 ตุลาคม พ.ศ. 2515) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเหม (สกุลเดิม: อมาตยกุล).

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ หรือ พระองค์เจ้าหญิงเจริญศรีชนมายุ เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 4 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2421 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2459 พระองค์เจ้าหญิงเจริญศรีชนมายุ มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี ร่วมเจ้าจอมมารดา ได้แก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ (23 กรกฎาคม พ.ศ. 2431 - 7 ตุลาคม พ.ศ. 2431) พระราชโอรสพระองค์ที่ 58 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2427 — 31 สิงหาคม พ.ศ. 2432) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรั.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ภัทรวดีราชธิดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พราหมณ์

ราหมณ์ (อักษรเทวนาครี: ब्राह्मण) เป็นวรรณะหนึ่งในแนวคิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น วิปฺระ, ทฺวิช, ทฺวิโชตฺตมะ หรือ ภูสร เป็นต้น พราหมณนั้นเป็นวรรณะหนึ่งในสี่วรรณะของสังคมอินเดีย เป็นผู้สืบทอดวิชาความรู้ ในคัมภีร์ ไตรเวทพิธีกรรม จารีต ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรม และคติความเชื่อต่าง ๆ ให้สืบทอดต่อไป หรือไม่สืบทอดก็ได้โดยใช้ชีวิตตามปกติชนคนธรรมดาทั่วไป คงไว้ให้ผู้ใดในตระกูลสืบทอดแทน เป็นผู้มีสิทธิ์เลือก แบ่งแยกเป็นนิกายคือ พวกไศวนิกาย จะถือเพศ นุ่งขาว ห่มขาว ไว้มวยผม ถือศีล จริยาวัตรของพราหมณ์ มีครอบครัวได้ อยู่บ้าน หรือ เทวะสถาน ประจำลัทธิ นิกายแห่งตน อีกนิกายหนึ่งคือ ไวษณวะนิกาย จะไว้ผมเปียหรือมวยผม ถือเพศพรหมจรรย์ กินมังสวิรัติ ไม่ถูกต้องตัวสตรีเพศ นุ่งห่มสีขาว หรือสีต่าง ๆตามวรรณะนิกาย และอาศัยอยูในเทวสถาน ในการบวชเป็นพราหมณ์หลวง จะต้องได้รับความยินยอมจากที่ประชุมพราหมณ์ ในทำเนียบพราหมณ์หลวง โดยผู้บวชจะนำของมาถวายพราหมณ์ผู้ใหญ่ แล้วพราหมณ์ผู้ใหญ่จะมอบสายสิญจน์รับพราหมณ์ใหม่ หรือทวิชาติ ซึ่งหมายถึงการเกิดครั้งที่ 2 ซึ่งการบวชพราหมณ์ไม่ได้มีกฎปฏิบัติจำนวนมากเหมือนกับการบวชพระ โดยถือศีล 5 เป็นศีลปฏิบัติ สามารถแต่งกายสุภาพเหมือนผู้ชายทั่วไปในเวลาปกติ และสวมเครื่องแบบเป็นเสื้อราชปะแตนและโจงกระเบนสีขาวในยามประกอบพิธีกรรม รวมถึงสามารถมีภรรยาเพื่อมีทายาทสืบตระกูลพราหมณ์ต่อไปได้ กระนั้นก็ยังมีข้อห้ามบางประการที่พราหมณ์ไม่สามารถทำได้ อาทิ ห้ามรับประทานเนื้อวัว ปลาไหล และงูต่างๆ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบริวารของเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และห้ามตัดแต่งผม ต้องไว้ผมยาวแล้วมุ่นเป็นมวยไว้ที่ท้ายทอย เพราะตามหลักศาสนาเชื่อว่าบริเวณดังกล่าวเป็นที่อยู่ของเทวดา สำหรับกิจประจำวันที่พราหมณ์ต้องทำ คือนมัสการพระอาทิตย์ตามเวลาเช้า กลางวัน เย็น เพื่อเป็นการนำจิตวิญญาณกลับไปสู่พรหม กล่าวคือ การไหว้พระอาทิตย์จะนำแสงสว่างให้เกิดในปัญญานำไปสู่การหลุดพ้น และจะมีการสาธยายพระเวท ซึ่งถือเป็นคัมภีร์หลักในศาสนาพราหมณ์ ประกอบด้วย ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวท ใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวท ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ ปฏิบัติต่อเทพด้วยความศรัทธา ปัจจุบันพราหมณ์หลวงจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับ พระราชพิธีต่างๆ ของพระมหากษัตริย์ ในการอัญเชิญพระผู้เป็นเจ้าและทวยเทพตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มาเป็นสักขีในการกระทำพิธีนั้นๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแด่องค์พระมหากษัตริย์ ราชบัลลังก์ และบ้านเมือง โดยงานพระราชพิธีจะแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ งานประจำปี ได้แก่ งานเฉลิมพระชนมพรรษา วันฉัตรมงคล วันพืชมงคล การเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต เป็นต้น และงานตามวาระ อาทิ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อปีที่แล้ว เป็นต้น หน้าที่ของพราหมณ์หลวงคือการรักษาวัฒนธรรมในการประกอบพระราชพิธีถวายตามโอกาสต่างๆ แต่ก็สามารถรับประกอบพิธีอื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานพระราชพิธีได้ เรียกว่า รัฐพิธี เป็นงานที่ถูกเชิญมาจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น วางศิลาฤกษ์ ยกเสาเอก งานวันเกิด งานตัดจุก ตั้งศาลพระภูมิ ซึ่งจะมีเงินทักษิณามอบให้พราหมณ์ตามศรัทธา ทั้งนี้ ปัจจุบันมีตระกูลพราหมณ์ที่ปฏิบัติหน้าที่ถวายงานพระราชพิธี หรือที่เรียกกันว่า พราหมณ์หลวง ซึ่งสืบสายมาจากบรรพบุรุษทั้งสิ้น 7 ตระกูล ได้แก่ สยมภพ โกมลเวทิน นาคะเวทิน วุฒิพราหมณ์ ภวังคนันท์ รัตนพราหมณ์ และรังสิพราหมณกุล.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และพราหมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดต้นสน

มัสยิดต้นสน มัสยิดต้นสน หรือ กุฎีบางกอกใหญ่ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กุฎีใหญ่ เป็นมัสยิดซุนนีที่เก่าแก่ที่สุดในกรุงเทพมหานคร ประมาณกันว่าเป็นมัสยิดที่เริ่มมีขึ้นตั้งแต่ก่อนสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. 2153 -2171) ในช่วงสมัยกรุงศรีอยุธยา ชื่อกุฎีบางกอกใหญ่ หรือกุฎีใหญ่นั้น ก็เพราะมัสยิดตั้งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ ส่วนชื่อมัสยิดต้นสนนั้น ได้มาจากต้นสนคู่ที่ปลูกใหม่หน้าประตูกำแพงหลังเสร็จสิ้นการก่อสร้างอาคารหลังใหม่ จึงเรียกชื่อดังกล่าวสืบม.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และมัสยิดต้นสน · ดูเพิ่มเติม »

มเหสี

มเหสี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และมเหสี · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และราชสกุล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3

นี่คือรายนามเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4

นี่คือรายพระนามรายนามพระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ. 2421 – 4 มกราคม พ.ศ. 2437 นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2438) เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี พระองค์ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของประเทศไทย แต่หลังจากดำรงตำแหน่งสยามกุฎราชกุมารได้เพียง 8 ปี ก็เสด็จสวรรคต ขณะมีพระชนมายุ 15 พรรษ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 43 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ. 2405 — 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา(เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) เป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 60 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ โดยรับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของไทย เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอัยยิกาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระปัยยิกาเจ้าในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรณรงค์ เสถียรวงศ์ กรมสารนิเทศ นอกจากนี้พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งองค์สภาชนนีสภาอุณาโลมแดง อันเป็นชื่อของสภากาชาดไทยเมื่อครั้งแรกตั้งในต้นรัชกาลที่ 5 เป็นพระองค์แรกและพระองค์เดียว และองค์สภานายิกา สภากาชาดไทย พระองค์ที่ 2 และทรงสร้างสถานพยาบาลขึ้น ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสภากาชาดไทย ในวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

ลเรือเอก สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2432.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา

มเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา เดิมคือ เจ้าจอมมารดาเปี่ยม (สกุลเดิม: สุจริตกุล; ประสูติ: 5 มีนาคม พ.ศ. 2381 - พิราลัย: 13 เมษายน พ.ศ. 2447) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระอัครมเหสีไทยถึงสามพระองค์คือ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ถือเป็นพระสัสสุ (แม่ยาย) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระอัยยิกา (ยาย) ของพระมหากษัตริย์ไทยสองพระองค์คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังเป็นพระปัยยิกา (ย่าทวด) ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เจ้าจอมมารดาเปี่ยม ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม, เจ้าคุณพระอัยยิกาเปี่ยม และหลังการอสัญกรรมได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นเจ้า ทรงพระนามว่า สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา โดยสร้อยพระนาม "ศรีพัชรินทรมาตา" มีความหมายว่า เป็นพระมารดาของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี

มเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี หรือที่ชาวบ้านเรียกพระนามว่า สมเด็จพระนางเรือล่ม (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423) มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์” เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย ประไพพรรณพิจิตร์ นริศรราชกุมารี กรมพระเทพนารีรัตน์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2421 — 27 สิงหาคม พ.ศ. 2430) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารีในพระราชกิจจานุเบกษา ได้มีการสะกดพระนามของพระองค์ได้หลายทาง ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพ็ชรรัตน์ โสภางคทัศนิยลักษณ์ อรรควรราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

้าฟ้ามาลินีนพดารา(ซ้าย) และ เจ้าฟ้านิภานภดล(ขวา) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา พระราชธิดาองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติ ณ วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2425 พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ การปกครองและสาขาวิชาประวัติศาสตร์ เคยทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอภิรัฐมนตรี ในรัชกาลที่ 7 พระองค์สิ้นพระชนม์วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2475 และทรงเป็นต้นราชสกุลยุคล.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารี (21 เมษายน พ.ศ. 2424 — 15 สิงหาคม พ.ศ. 2424) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติในสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าวิจิตรจิรประภา อดุลยาดิเรกรัตน ขัตติยราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดี เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 65 ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประสูติใน สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิราภรณ์โสภณ พิมลรัตนวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2430) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งในเวลาที่พระองค์ประสูตินั้น ได้มีฝนดาวตกเต็มท้องฟ้าและสามารถมองเห็นได้ในพระนคร ดังนั้น ชาววังจึงได้ออกพระนามของพระองค์ว่า “ทูลกระหม่อมดาวร่วง” พระนามของพระองค์เป็นที่มาของชื่อ โรงพยาบาลศิริร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ (๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๕ - ๑๗ มิถุนายน ๒๔๔๒) พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระนามเดิมอย่างเต็มว่า สมเด็จเจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย ศตสมัยมงคลเขตร บรมนฤเบศร์จักรีวงศ์ จุฬาลงกรณ์นาถนรินทร์ สยามินทรราชวโรรส อุกฤษฐวรยศอุภัยปักษ์ วิสุทธิศักดิ์อรรควิมลรัตน์ ขัตติยราชกุมาร ชาววังออกพระนามว่า "ทูลกระหม่อมน้อย" สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี เมื่อวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์ (4 กันยายน พ.ศ. 2422 — 25 กันยายน พ.ศ. 2422) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศริยาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ (15 เมษายน พ.ศ. 2416 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448) พระราชธิดาลำดับที่ 8 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง เป็นพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 5 ค่ำ เดือน 3 ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2424 เป็นพระราชบุตรองค์ที่ 36 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2430 รวมพระชันษา 6 พรรษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนขึ้นและพระราชทานชื่อถนนว่า "ถนนตรีเพชร" เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง พระราชโอรส เดิมนั้นถนนตรีเพชรเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเจริญกรุงจดถนนพาหุรัด ต่อมาใน พ.ศ. 2441 โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนตรีเพชรต่อจากถนนพาหุรัดถึงถนนจักรเพชร และใน พ.ศ. 2475 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีงานฉลองพระนคร 150 ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้าขึ้นในแนวตรงจากถนนตรีเพชร จึงให้ขยายถนนตรีเพชรตั้งแต่ช่วงจดถนนพาหุรัดถึงช่วงจรดถนนจักรเพชร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2429 พระองค์ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการในหน้าที่ราชเลขานุการิณีในพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ เมื่อสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสยุโรปเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโคลง,ฉันท์,กาพย์,ร่าย: พระนิพนธ์หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์, 2478 และบิดาของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5)

ณท้าวภัณฑสารนุรักษ์ หรือ เจ้าจอมเพิ่ม รัตนทัศนีย (ในรัชกาลที่๕) ตำแหน่งพระคลังในและเป็นกวีหญิงแห่งราชสำนักและเป็นผู้สร้างวัดเสมียนนารี ต่อจากมารดาของท่านคือท่านขำ ท่านเป็นธิดาขุนสมุทรสาคร(ยอด) และท่านขำ เสมียนพระคลังใน ท่านขำเป็นธิดาพระยาวิเศษภักดี เจ้าเมืองสงขลา คนที่ ๓ (เถี้ยนจ๋ง ณ สงขลา พ.ศ. ๒๓๕๕๘-๒๓๖๐ สายสกุล "โรจนะหัสดิน") เจ้าจอมเพิ่ม เกิดเมื่อปีมะเส็ง..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม มาลากุล) เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์แป้ม เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2419 เมื่ออายุได้ 17 ปี พระบิดานำขึ้นถวายตัวสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี โปรดให้ฝึกหัดราชการแผนกรักษาพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ต่อมาเป็นผู้บัญชาการแผนกรักษาพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ โดยที่ท่านมีหน้าที่รักษากุญแจห้องเก็บพระราชทรัพย์อันมหาศาลซึ่งโดยมากเป็นเครื่องเพชรทองของประดับอันลำค่าของสมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ จนคนทั้งหลายเรียกขานนามท่านว่า "คุณห้องทอง" ต่อมาได้ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ไม่มีประสูติกาลพระราชโอรสธิดา นอกจากนั้นท่านมีหน้าที่สอนและควบคุมการทำดอกไม้สดในงานพระราชพิธีต่างๆ มีเจ้านายและข้าราชการนำบุตรหลาน มาถวายตัวในราชสำนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ รวมทั้งงานเย็บปักถักร้อยต่าง ๆ ต่อมาวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวนาง

ท้าวนาง คือสตรีที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และมีหน้าที่รับราชการฝ่ายในในพระบรมมหาราชวัง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และท้าวนาง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)

Vanity Fair" เมื่อ ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) (พ.ศ. 2392 - พ.ศ. 2463) อดีตอธิบดีกรมพระคลังสวน อธิบดีจัดการกรมภาษีร้อยชักสาม (ปัจจุบันคือ กรมศุลกากร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และเสนาบดีกระทรวงธรรมการคนแรก (ปัจจุบันคือ กระทรวงศึกษาธิการ).

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)

้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ มีนามเดิมว่า เทศ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)

นายพลโท เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (นามเดิม: โต บุนนาค; พ.ศ. 2394 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2452) เป็นบุตรของเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอ่วม สุรวงษ์ไวยวัฒน์ จบการศึกษาวิชาทหารปืนใหญ่จากประเทศอังกฤษ เริ่มรับราชการเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)

้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) (พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายใหญ่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมพิศว์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมพิศว์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมก๊กออ

'''แถวบน''': เจ้าจอมแก้ว เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมเอี่ยม '''แถวล่าง''': เจ้าจอมแส พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ เจ้าจอมเอิบ เจ้าจอมมารดาอ่อน พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา เจ้าจอมก๊กออ หรือ เจ้าจอมพงศ์ออ เป็นชื่อที่ใช้เรียกพระสนมเอกทั้งห้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีนามขึ้นต้นด้วยอักษร อ. อ่าง อันได้แก่ เจ้าจอมมารดาอ่อน, เจ้าจอมเอี่ยม, เจ้าจอมเอิบ, เจ้าจอมอาบ และเจ้าจอมเอื้อน ซึ่งทั้งหมดเป็นสตรีจากสายราชินิกุลบุนนาค เป็นบุตรีของเจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอู่ ภริยาเอก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมก๊กออ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาบัว ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาบัว (เกิด: พ.ศ. 2403 — อนิจกรรม: 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2459) เกิดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ปรากฏนามบรรพบุรุษ ทราบแต่เพียงว่าบรรพบุรุษเป็นชาวบ้านบางเขน เจ้าจอมมารดาบัวรับราชการเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติกาลพระองค์เจ้าหญิงไม่มีพระนาม ประสูติในวันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาบัว ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของพระมงคลรัตน์ราชมนตรี (ช่วง ไกรฤกษ์) กับ ไข่ มงคลรัตน์ราชมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2412 เจ้าจอมมารดาชุ่ม มีพี่น้องร่วมบิดาเดียวกันกับท่าน 10 คน ได้แก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาพร้อม เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเป็นบุตรีของพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) กับ ท่านผู้หญิงกลิ่น พิษณุโลกาธิบดี.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาพร้อม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดามรกฎ (พ.ศ. 2398 - พ.ศ. 2458) เป็นบุตรีของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) กับ ท่านผู้หญิงมหินทรศักดิ์ธำรง (หุ่น) (ธิดาพระยานครอินทร์รามัญ) เจ้าจอมมารดามรกฎ มีพระโอรสธิดา 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5

ระนมปริก เจ้าจอมมารดาวาด พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาคนที่ 3 ของนายเสถียรรักษา (เที่ยง) คหบดีเชื้อสายรามัญ กับพระนมปริก (ธิดาพระยาอิศรานุภาพ (ขุนเณรน้อย) กับนางขำ) พระนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าจอมมารดาวาด มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาวง หรือ วงษ์ (สกุลเดิม: เนตรายน) เป็นพระสนมนางหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรีของพระยาอรรคราชนาคภักดี (เนตร เนตรายน) และอรุ่น อรรคราชนาคภักดี ซึ่งอรุ่นผู้มารดา เป็นธิดาคนที่สองของหลวงมหามณเฑียร (จุ้ย) และท่านนุ่ม ต่อมาได้ถวายตัวเป็นละคร แล้วเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 4 ครั้นเมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวพระองค์นั้น เจ้าจอมอรุ่นจึงลาออกจากวังเพื่อสมรส เจ้าจอมมารดาวง มีพระราชธิดาพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ ประสูติประสูติวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2400 เป็นธิดาของพระยาสุรินทรราชเสนี (จั่น สุกุมลจันทร์) กับ คุณหญิงกลิ่น สุรินทรราชเสนี (สกุลเดิม รักตประจิต) ท่านมีพี่น้องที่ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายใน ดังนี้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาสาย ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาสุด ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรีของพระยาสุรินทราราชเสนี (จั่น สุกุมลจันทร์) กับคุณหญิงกลิ่น สุรินทรราชเสนี (สกุลเดิม รักตประจิต) เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย ในรัชกาลที่ 5

อนุสาวรีย์เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย อิศรางกูร เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย (ราชสกุลเดิม: อิศรางกูร; เกิด: 14 มิถุนายน พ.ศ. 2398 — อสัญกรรม: 19 เมษายน พ.ศ. 2439) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นเจ้าจอมมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย เป็นพระธิดาในหม่อมเจ้าโสภณ อิศรางกูร กับหม่อมอิ่ม อิศรางกูร ณ อยุธยา บิดาเป็นพระโอรสในสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุรักษ์ ต้นราชสกุลอิศรางกูร เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อยมีน้องสาวคนหนึ่งถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเช่นกัน คือ เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์มณี เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย ได้สนองพระเดชพระคุณรับราชการเป็นพระสนม ประสูติกาลพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาค เมื่อพระราชธิดาทรงพระเจริญขึ้น ท่านจึงได้ประดิษฐ์ตุ๊กตาชาววังที่ปั้นจากดินเหนียวเพื่อให้พระองค์เจ้าอรพินทุ์เพ็ญภาคทรงเล่น จนเป็นที่โปรดปรานของเด็ก ๆ ในวัง แต่เดิมเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อยได้ปั้นแจกแก่เด็กคนอื่นบ้าง แต่ภายหลังได้พัฒนาจนมีรูปแบบที่หลากหลาย ก่อนนำออกจำหน่ายตุ๊กตาชาววังในตำหนักนั่นเอง เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย ถึงแก่อสัญกรรมหลังป่วยด้วยอหิวาตกโรค เมื่อวันที่ 19 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์ย้อย ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว ในรัชกาลที่ 5

ตพระราชฐานชั้นใน ที่ต่อมาได้ตกเป็นเรือนของเจ้าจอมเง็ก เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว (ราชสกุลเดิม: กปิตถา) เป็นธิดาในหม่อมเจ้าวัฒนา กปิตถา ต่อมาได้ถวายตัวเป็นพระสนมสนองพระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติกาลพระองค์เจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม (13 ธันวาคม พ.ศ. 2435 — 25 มกราคม พ.ศ. 2435) สิ้นพระชนม์ขณะมีพระชันษาได้เพียงเดือนเศษ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์จิ๋ว ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข เป็นเจ้าจอมมารดาคนแรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2390 หม่อมราชวงศ์แข พึ่งบุญ เป็นธิดาของหม่อมนก พึ่งบุญ ณ อยุธยา ซึ่งเดิมเป็น "หม่อมเจ้าชายนก พึ่งบุญ" พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงรักษ์รณเรศ (ซึ่งต้องพระราชอาญาถูกประหารชีวิต และถอดพระยศเป็น "หม่อมไกรสร" ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) พระโอรสและพระธิดาจึงพลอยถูกถอดยศจากเจ้าลงมาเป็นสามัญชน และเรียกหากันว่า "หม่อม" นำหน้านามต่อมา ส่วนพระนัดดาชั้นหม่อมราชวงศ์ รวมไปถึงพระปนัดดาชั้นหม่อมหลวงนั้นไม่นับเป็นเจ้านายในราชวงศ์ แต่เป็นเพียงเชื้อพระวงศ์ จึงยังคงใช้คำนำหน้านามได้อย่างเดิม หม่อมราชวงศ์แข พึ่งบุญ นั้นรับราชการเป็นพระพี่เลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะมีพระชนมายุเพียง 14-15 พรรษา และดำรงพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ" และได้ประสูติพระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร ในรัชกาลที่ 5 (สกุลเดิม สนิทวงศ์) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าสวาสดิ สนิทวงศ์ (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท) กับ หม่อมพลอย สนิทวงศ์ ณ อยุธยา หม่อมราชวงศ์เกสร สนิทวงศ์ ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายในเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้ให้พระประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ในรัชกาลที่ 5

อัฐิเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ บรรจุในอนุสาวรีย์ในราชสกุลรังสิต เจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ (? - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428) เป็นธิดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ กับหม่อมเขียน มีพี่น้องจำนวน 7 คน รวมทั้งหม่อมราชวงศ์สุวพรรณ สนิทวงศ์ และหม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์ (เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์) หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เข้าถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และให้พระประสูติกาลพระราชโอรส 1 และพระราชธิดา 1 พระองค์คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่วม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม พิศลยบุตร) เป็นเจ้าของเรือกลไฟชื่อ "เจ้าพระยา" เดินทางระหว่าง กรุงเทพฯ - สิงคโปร์ ซึ่งเป็นเพียงลำเดียวในสมัยนั้น มารดาชื่อ "ปราง" (สกุลเดิม "สมบัติศิริ") ท่านเกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2399 มีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน คือ 1.หลวงสาทรราชายุกต์(เจ้าสัวยม พิศลยบุตร) 2.เจ้าจอมเอม(พิศลยบุตร)ใน ร.5 3.เจ้าจอมช่วง(พิศลยบุตร)ใน ร.5 4.หม่อมลมุล(พิศลยบุตร)ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ 5.หม่อมหุ่น(พิศลยบุตร)ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ 6.หม่อมศรี(พิศลยบุตร)ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ เมื่อท่านมีอายุได้ 17-18 ปี ขณะนั้นเป็นช่วงต้นรัชกาลที่5 บ้านของท่านอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อกระบวนพยุหยาตราชลมารคผ่านเสด็จครั้งใด เจ้าจอมและน้องชายก็ดูหน้าต่างเพื่อชมพระบารมีเสมอ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นพักตร์รูปร่างหน้าตาของเจ้าจอม จึงทรงรับมาเป็นเจ้าจอมในพระองค์ท่านก็ได้ถวายตัวรับใช้พระเจ้าอยู่หัวนับตั้งแต่นั้นมา ท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาอ่อน บุนนาค ป..(19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 - 29 มกราคม พ.ศ. 2512) เป็นเจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ประสูติพระราชธิดา 2 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิสัยสุริยาภา และยังมีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ อีก 2 พระองค์ เจ้าจอมมารดาอ่อน เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือนยี่ ปีเถาะ ตรงกับวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาจันทร์ในรัชกาลที่ 4 เป็นบุตรีคนรองสุดท้องของพระยาพิพิธสมบัติ (ทองสุก) ผู้สำเร็จราชการเมืองตราด มีมารดาเป็นชาวจังหวัดตราด คุณตาชื่อ “หยง” เป็นจีนฮกเกี้ยนที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขายที่เมืองตราด คุณยายชื่อ “อิ่ม” เป็นคนพื้นเพเมืองตราด เมื่อพระยาพิพิธสมบัติถึงแก่อนิจกรรมในตอนต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บุตรชายคนหนึ่งของพระยาพิพิธสมบัติได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองตราดสืบต่อจากบิดา ท่านเจ้าเมืองคนใหม่นี้ภายหลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถ” และพระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถนี้เองที่เป็นผู้ชักชวนให้เจ้าจอมมารดาจันทร์ซึ่งขณะนั้นอยู่ในวัยรุ่นสาวมีรูปโฉมงดงามเป็นที่เลื่องลือไปทั่วเมืองตราด ให้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในพระบรมมหาราชวัง จนได้รับพระมหากรุณาธิคุณชุบเลี้ยงให้เป็นพระสนมเอก พระราชทานเครื่องยศพานทองคำ เครื่องใช้สอยทองคำ หีบทองลงยาราชาวดี กับได้เบี้ยหวัดเงินปี ปีละ 10 ชั่ง เจ้าจอมมารดาจันทร์ได้รับราชการสนองคุณพระกรุณา ฯ ถวายพระประสูติกาลพระเจ้าลูกเธอและพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสิ้น 4 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ สุกุมลจันทร์) กับ คุณหญิงราชสัมภารากร (อ่ำ) ท่านเกิดเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2405 ต่อมาท่านได้ถวายตัวรับราชการฝ่ายในเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้ประสูติกาลพระราชธิดา 1 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจีน

้าจอมมารดาจีน เป็นหม่อมห้ามในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เจ้าจอมมารดาจีน มีธิดา 3 พระองค์ ซึ่งในภายหลังได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้ง 3 พระอง.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาทับทิม (9 ธันวาคม พ.ศ. 2400 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2481) เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาทิพเกษร หรือสะกดว่า ทิพเกสร พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าสุริยะ ณ เชียงใหม่ (โอรสเจ้าหนานมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่) กับเจ้าสุวัณณา ณ เชียงใหม่ (ธิดาในเจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่)) ซึ่งทั้งสองท่านนับเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักร เจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่) ซึ่งเป็นโอรสในพระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนที่ 5 และเป็นตาของเจ้าทิพเกษร ได้พาท่านเข้าเฝ้าถวายเป็นบาทบริจาริกาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพ.ศ. 2434 และทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าทิพเกษรไปศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ในสำนักของเจ้าจอมมารดาแพ ผู้เป็นพระสนมเอกผู้ใหญ่ และยังโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานรรัตนราชมานิต (โต มานิตยกุล) เป็นผู้อภิบาลดูแลเจ้าทิพเกษร ต่อมาท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีฐานันดรศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาทิพเกษร" โดยพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ซึ่งประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาตลับ (สกุลเดิม: เกตุทัต; เกิด: พ.ศ. 2395 — อนิจกรรม: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2472) เป็นธิดาคนโตของพระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต) กับภรรยาชื่ออิ่ม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เธอจึงได้ถวายตัวเป็นพระสนมสิบสองพระกำนัลตามโบราณราชประเพณี ต่อมาได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำ มีบรรดาศักดิ์เป็น "เจ้าจอมตลับ" และหลังจากประสูติพระราชธิดาพระองค์แรกจึงได้มีศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาตลับ" มีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแช่ม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ท่านเป็นธิดาของพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น กัลยาณมิตร) กับ แจ่ม มหาอำมาตย์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2399 ต่อมาท่านได้ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายใน และได้ประสูติพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2411 เป็นธิดารุ่นเล็กของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) กับบาง อัพภันตริกามาตย์ มีพี่น้องร่วมบิดาที่รับราชการฝ่ายใน ดังนี้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาแสง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแสง ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาพระยาไชยวิชิต (ช่วง กัลยาณมิตร) ผู้รักษากรุงเก่า (พระยาไชยวิชิตเป็นบุตรเจ้าพระยานิกรบดินทร ซึ่งมีนามเดิมว่า "เจ้าสัวโต" ผู้สร้างวัดกัลยาณมิตร) ต่อมาท่านได้ถวายตัวเข้ารับราชการฝ่ายใน และได้ให้ประสูติกาลพระราชโอรสพระราชธิดา 4 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาแสง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5 เป็นบุตรีคนที่6 ของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ที่เกิดแต่ท่านผู้หญิงสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (อิ่ม) และยังเป็นน้องสาวร่วมบิดามารดากับเจ้าคุณพระประยูรวงศ์อีกด้วย ท่านเกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2405 ต่อมาท่านได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง โดยพำนักอยู่กับเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ผู้เป็นพี่สาว ต่อมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าจอม และได้ประสูติพระราชโอรส-พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาพระยาสุนทรบุรีศรีพิชัยสงคราม (สว่าง สุนทรศารทูล) กับ คุณหญิงตลับ สุนทรบุรีศรีพิชัยสงคราม ซึ่งเป็นธิดาพระศรีสหเทพ (พึ่ง ศรีเพ็ญ) ท่านเกิดเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2408 ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน ได้แก.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาเรือน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5 สกุลเดิม นิยะวานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2418 ที่บ้านบางขุนพรหมในพระนคร เป็นบุตรีของพระนรินทราภรณ์ (ลอย นิยะวานนท์) กับ ปริก โดยปู่ของท่านเป็นน้องชายของเจ้าจอมมารดาอำพา ในรัชกาลที่ 2 (พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ ต้นราชสกุลกปิตถา และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ต้นราชสกุลปราโมช) เมื่อท่านอายุได้ 9 ปี ได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง กับ เจ้าจอมมิ ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นลูกของป้าท่าน แล้วจึงถวายตัวแด่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินินาถ แล้วได้เป็นละครหลวง ต่อมาทรงพระกรุณาให้เป็นเป็นเจ้าจอม ประสูติพระเจ้าลูกเธอรวม 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเหม อมาตยกุล (21 กันยายน พ.ศ. 2407 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระองค์เจ้าชายหนึ่งพระองค์ (ไม่ประสูติเป็นพระองค์) และพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี ท่านเป็นผู้รักการดนตรี และได้สนิทสนมกับพระราชชายา เจ้าดารารัศมีเป็นพิเศษ เจ้าจอมมารดาเหมเป็นธิดาคนโตของพระยาธรรมสารนิติวิชิตภักดี (พลับ อมาตยกุล)และท่านขรัวยายแสง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่บ้านหน้าวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) เมื่อวันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 10 ปีชวด ตรงกับวันที่ 21 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมสมบูรณ์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมสมบูรณ์ ท..ในรัชกาลที่ 5 เกิดที่บ้านตำบลถนนสำเพ็ง กรุงเทพมหานคร เมื่อ ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2420 บิดาของท่านคือ นายซุ้ย มันประเสริฐ (2404-2470) มารดาคือ ท่านบุญมา สกุลของท่านนั้นสืบมาแต่ ท่านหมื่นประเสริฐ หรือ เจ้าสัวมัน นายอากรในรัชกาลที่ 3 นามสกุลนี้จึงได้รับพระราชทานพระมหากรุณาพระราชทานว่า"มันประเสริฐ" ท่านเจ้าจอมมีน้องร่วมมารดา 4 คน ร่วมบิดาอีก 4 คน ถึงแก่กรรมครั้งยังเยาว์เกือบทุกคน คงมีชีวิตจนโตอยู่เพียงคนเดียว ชื่อ นายใหม่ มันประเสริฐ แต่ก็ถึงแก่กรรมไปก่อนท่านเช่นกัน เมื่อท่านมีอายุพอสมควร บิดาจึงส่งเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ในที่สุดทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เป็นเจ้าจอม รับราชการใกล้ชิดพระยุคลบาท มาตลอดทั้งในพระบรมมหาราชวัง และพระราชวังสวนดุสิต ท่านรับราชการมาจนสิ้นรัชกาลที่ 5 จึงกราบถวายบังคมทูลลาออกมาพักอยู่บ้านเดิมในสำเพ็ง แต่ยังคงเข้าเฝ้าพระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฎ ที่พระราชวังสวนสุนันทาโดยตลอด จนสิ้นพระชนม์ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมสมบูรณ์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ (6 มีนาคม พ.ศ. 2433 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2526) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนั้นท่านยังเป็นคนสุดท้ายที่ได้ร้องเพลง นางร้องไห้ และเจ้าจอมคนสุดท้ายของราชวงศ์จักรีที่ยังดำรงชีพและถึงแก่อนิจกรรมในรัชกาลที่9.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันพุธที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2429 เป็นธิดา หม่อมเจ้าจำรูญ ปราโมช และ หม่อมเยื้อน ปราโมช ณ อยุธยา ท่านมีน้องร่วมมารดา 2 คน คือ ร้อยโท หม่อมราชวงศ์จรัญ ปราโมช และหม่อมราชวงศ์ชาย (ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังไม่มีชื่อ) เมื่อวัยเยาว์ เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย อาศัยอยู่กับท่านพ่อที่วังบูรพาภิรมย์ เพราะท่านพ่อเสด็จอยู่กับ จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จนกระทั่งอายุได้ 7 ปี ท่านพ่อจึงส่งเข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวังกับพระญาติในราชสกุลปราโมช ซึ่งรับราชการอยู่ในห้องเครื่องต้น วันหนึ่งท่านได้ตามเสด็จ หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ไปรับเงินจ่ายประจำเดือนของห้องเครื่อง จากพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ (พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา) พระอรรคชายาเธอฯทอดพระเนตรเห็นหม่อมราชวงศ์จรวยเป็นเด็กน่าเอ็นดู จึงขอไปทรงเลี้ยง และเมื่อหม่อมราชวงศ์จรวยมีอายุครบ 10 ปี ได้ทรงพระเมตตาจัดพิธีโกนจุกประทานด้วย ครั้นอายุได้ 18 ปี พระอรรคชายาเธอฯจึงนำท่านขึ้นถวายตัวรับราชการฝ่ายใน เป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับพระราชทานเงิน 5 ชั่ง ผ้าลายและแพรห่ม 2 สำรับตามประเพณี ซึ่งท่านได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณจนตลอดรัชกาล โดยมีหน้าที่จัดเตรียมเครื่องสรงพระพักตร์ และทรงเครื่องในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบรรทมตื่นที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในช่วงเวลา 11-12 น. และเมื่อเสด็จพระราชดำเนินออกเสวย ก็ต้องอยู่ประจำในหน้าที่ตั้งเครื่องเสวยทั้งในมื้อเช้าและมื้อเย็น รับใช้ไปจนเข้าที่พระบรรทม ราว 5-6 น. บางครั้งก็ต้องรับหน้าที่อ่านหนังสือถวายแทนเจ้าจอมมารดาเลื่อน และคอยเฝ้าในเวลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปรุงพระกระยาหารด้วยพระองค์เองด้วย เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้า เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 และเข็มพระกำนัล อักษรพระบรมนาม.ป.ร.ลงยาสีชมพูห้อยริบบิ้นเหลืองจักรี และเมื่อมีพิธีเฉลิมพระที่นั่งอัมพรสถาน ท่านได้รับพระราชทานเกียรติยศให้เป็นผู้เชิญพานฟักในงานพระราชพิธีสำคัญนั้นด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลที่ 5 แล้ว เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาอาศัยอยู่ในสำนักพระวิมาดาเธอฯ ที่พระราชวังสวนสุนันทา จนสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2472 จึงออกมาอาศัยกับหม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช จนสิ้นชีพิตักษัย ครั้งสุดท้ายได้ออกมาอยู่กับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา ที่ตำหนักทิพย์ ถนนราชวิถี ได้ตามเสด็จเสด็จพระองค์อาทรฯไปฟังธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหารเป็นประจำ จนกระทั่งเสด็จพระองค์อาทร สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ. 2501 จึงอยู่กับเจ้าจอมอาบ และนายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ ผู้เป็นทายาทต่อมา เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ปราโมช ป่วยด้วยโรคชรา ถึงอนิจกรรมเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 สิริอายุได้ 82 ปี 4 เดือน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์จรวย ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ข้อ ในรัชกาลที่ 5

้าจอม หม่อมราชวงศ์ข้อ สนิทวงศ์ เป็นธิดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ กับหม่อมเขียน เป็นน้องสาวของหม่อมราชวงศ์สุวพรรณ สนิทวงศ์ หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์ (เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์) และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ หม่อมราชวงศ์ข้อ สนิทวงศ์ เข้าถวายตัวเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ไม่ได้ให้พระประสูติกาลพระราชโอรส หรือพระร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ข้อ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5

้าจอม หม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5 เป็นหม่อมราชวงศ์คนแรก ในราชสกุล "ลดาวัลย์" เกิดเมื่อวันศุกร์ ที่ 30 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์เฉียด ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอี่ยม เจ้าจอมเอื้อน เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ขวา) เจ้าจอมอาบ บุนนาค ท..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมจันทร์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 ต..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมน้อม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมน้อม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรีคนที่ 4 ในเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม โอสถานนท์) ท่านมีพี่น้องร่วมมารดา ดังนี้.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5 (สกุลเดิม บุนนาค) (22 เมษายน พ.ศ. 2422 - 11 สิงหาคม พ.ศ. 2487) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหนึ่งในเจ้าจอมก๊กออที่ทรงโปรดปรานเป็นพิเศษ เจ้าจอมเอิบ เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอื้อน (ขวา) และเจ้าจอมอาบ (ซ้าย) เจ้าจอมเอื้อน (พ.ศ. 2430 - พ.ศ. 2470) เจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าจอมคนสุดท้องในเจ้าจอมก๊กออจากสกุลบุนน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมเอี่ยม (กลางภาพ) เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ซ้าย) เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2416 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2495) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพี่น้องหนึ่งในห้าคนในเจ้าจอมก๊กออ มีพระเจ้าลูกเธอที่ตกพระโลหิต ยังไม่เป็นพระองค์ จำนวน 2 พระองค์ เจ้าจอมเอี่ยม เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา เบญจศก..

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าทิพเกสร

้าเทพไกรสรสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าทิพเกสร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) (สกุลเดิม บุนนาค) (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2486) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยูรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและสมเด็จเจ้าพร.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในรัชกาลที่ 4

300px เจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (สกุลเดิม บุนนาค, พ.ศ. 2378 - พ.ศ. 2443) เป็นมารดาในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5และเจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายพระนามพระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในรัชกาลที่ 5พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในรัชกาลที่ ๕พระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส และ พระราชธิดา ในพระพุทธเจ้าหลวง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »