โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปาแลเดปัป

ดัชนี ปาแลเดปัป

ปาแลเดปัปดาวีญง (Palais des papes d'Avignon, แปล: วังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง) เป็นพระราชวังพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ที่อาวีญงในประเทศฝรั่งเศส เป็นสิ่งก่อสร้างของสถาปัตยกรรมกอทิกที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรป ปาแลเดปัปได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี..

32 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1887พ.ศ. 1888พ.ศ. 1890พ.ศ. 1891พรมผนังพระราชวังพระสันตะปาปาพระสันตะปาปาการปฏิวัติฝรั่งเศสมรดกโลกวิหารคดศาสนเภทตะวันตกสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 5สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สถาปัตยกรรมกอทิกอารามอาวีญงอาวีญงปาปาซีองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปาจิตรกรรมจิตรกรรมฝาผนังคณะดอมินิกันประติมากรรมประเทศฝรั่งเศสแม่น้ำโรนโบสถ์น้อยโรม

พ.ศ. 1887

ทธศักราช 1887 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพ.ศ. 1887 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1888

ทธศักราช 1888 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพ.ศ. 1888 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1890

ทธศักราช 1890 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพ.ศ. 1890 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1891

ทธศักราช 1891 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพ.ศ. 1891 · ดูเพิ่มเติม »

พรมผนัง

การแขวนพรมบนผนังโกบลินที่วังลินเดอร์โฮฟ ราวปี ค.ศ. 1900 พรมผนัง หรือ พรมแขวนผนัง (tapestry) เป็นงานศิลปะสิ่งทอ ซึ่งทอด้วยมือบนกี่ตั้งที่เส้นด้ายพุ่งซ่อนเส้นด้ายยืนหมดเมื่อทำเสร็จ ซึ่งต่างจากการทอผ้า อาจเห็นทั้งด้ายเส้นยืนและเส้นพุ่ง การทำเช่นนี้ทำให้เกิดลวดลายหรือภาพ ผู้ทอมักจะใช้ด้ายยืนที่ทำจากลินินหรือฝ้าย ส่วนด้ายพุ่งอาจจะเป็นขนแกะ, ฝ้าย หรือไหม หรือบางครั้งก็ใช้ด้ายที่ทำจากทอง, เงิน หรือวัสดุอื่นๆ ด้วย ทั้งช่างและศิลปินเป็นผู้สร้างงานพรมทอ ก่อนอื่นศิลปินจะร่างแบบ ที่เรียกกันว่า “tapestry cartoon” เพื่อให้ช่างทอตามแบบที่ร่าง ห้วเรื่องที่ทอก็อาจจะมาจากคัมภีร์ไบเบิล, ตำนานเทพ หรือฉากล่าสัตว์ ซึ่งจะเป็นที่นิยมทำกันในการตกแต่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพรมผนัง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังพระสันตะปาปา

ระราชวังพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: Apostolic Palace หรือ Papal Palace หรือ Palace of the Vatican) เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน ตัววังเป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ประกอบด้วยห้องชุดของพระสันตะปาปา (Papal Apartments), สำนักงานของผู้บริหารนิกายโรมันคาทอลิก, ชาเปล, พิพิธภัณฑ์วาติกัน และหอสมุดวาติกัน ห้องต่างๆ มีด้วยกันทั้งหมดกว่า 1,000 ห้องโดยมีห้องที่สำคัญที่สุดคือห้องราฟาเอล และชาเปลซิสตินซึ่งมีเพดานจิตรกรรมฝาผนังที่มีชื่อที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล ที่พำนักอื่นขอวพระสันตะปาปาอยู่ที่วังแลเตอรันและที่ปราสาทกานโดลโฟ (Castel Gandolfo) นอกกรุงโรม วังวาติกันมามีความสำคัญกว่าวังแลเตอรันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ก็มาแพ้แก่วังควิรินัล (Quirinal Palace) อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนปี..

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพระราชวังพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

วิหารคด

วิหารคดที่วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร วิหารคด คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมพุทธศาสนสถาน มีลักษณะเป็นวิหารล้อมรอบลานด้านในของวิหารหลักและคดเป็นข้อศอกตรงมุม มีลักษณะเทียบได้กับ ระเบียงฉันนบถ ในสถาปัตยกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและวิหารคด · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนเภทตะวันตก

''Habemus Papam'' ที่สภาคอนสแตนส์ ศาสนเภทตะวันตก (Western Schism) หรือ ศาสนเภทพระสันตะปาปา (Papal Schism) เป็นศาสนเภทภายในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตั้งแต่ปี 1378 ถึง 1417 เกิดจากบุคคลสองคนอ้างตนว่าเป็นพระสันตะปาปาพร้อมกัน ความขัดแย้งทางเทววิทยานี้ถูกขับเคลื่อนด้วยการเมืองมากกว่าครั้งใด ๆ สุดท้ายความขัดแย้งก็จบลงด้วยการสังคายนาคอนสแตนส์ เรียกร้องให้พระสันตะปาปาสองพระองค์ปกครองศาสนจักรร่วมกัน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและศาสนเภทตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6 (Innocent VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1352 ถึง ค.ศ. 1362 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1825 อินโนเซนต์ที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีมูแซ็ง.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22 (John XXII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1316 ถึง ค.ศ. 1334 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 จอห์นที่ 22 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมีดี-ปีเรเน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12 (อังกฤษ: Benedict XII) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1334 ถึง ค.ศ. 1342 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1280 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เบเนดิกต์ที่ 12 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นมีดี-ปีเรเน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5 (Urban V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1362 ถึง ค.ศ. 1370 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1853 อเอร์บันที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นล็องก์ด็อก-รูซียง.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 5

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 5 (อังกฤษ: Clement V) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1305 ถึง ค.ศ. 1314 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 คลีเมนต์ที่ 5 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นอากีแตน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 6 (Clement VI) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1342 ถึง ค.ศ. 1352 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1834 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 14 คลีเมนต์ที่ 6 หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นลีมูแซ็ง.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2413 ซึ่งทำให้ฝรั่งเศสสูญเสียอาลซัส-ลอแรน และดำรงอยู่มาจนล่มสลายใน พ.ศ. 2483 จากการรุกรานของนาซีเยอรมัน ทำให้ฝรั่งเศสถูกยึดครอง ยุคนี้เป็นยุคของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่อายุยืนที่สุด นับตั้งแต่มีการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2332 เป็นต้นมา หมวดหมู่:การเมืองฝรั่งเศส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและสถาปัตยกรรมกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

อาราม

อาราม (monastery) คือสิ่งก่อสร้างหรือกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ใช้เป็นที่พักอาศัยและที่ทำงานของนักพรต ซึ่งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หรืออยู่โดดเดี่ยว เช่น ฤๅษี (hermit) ในทางตะวันตก (คริสต์ศาสนา) “อาราม” มาจากภาษาอังกฤษคำว่า “Monastery” ที่มีที่มาจากภาษากรีก “μοναστήριον” - “monasterios” (จากคำว่า “μονάζειν'” - “monazein” ที่แปลว่าอยู่ตามลำพัง) คำว่า “monastērion” ใช้เป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ในบทที่สามของหนังสือ “On The Contemplative Life” เขียนโดยนักปรัชญาชาวยิวชื่อไฟโล ศาสนาและปรัชญาต่าง ๆ ในโลกล้วนมีประเพณีการใช้ชีวิตอารามวาสีที่นักพรตหรือกลุ่มนักพรตที่มีความตั้งใจแน่วแน่ในการใช้ชีวิตเพื่อศาสนามารวมตัวกันเป็นชุมชน และก่อสร้างศาสนสถานและที่พำนักอาศัยที่แยกจากชุมชนของคฤหัสถ์ บริเวณที่เรียกว่าอารามปรากฏในหลายศาสนา เช่น อารามหรือวัดใน พุทธศาสนา คริสต์ศาสนา รวมไปถึงลัทธิขงจื๊อด้วย ในศาสนาเกือบทุกศาสนาชีวิตภายในอารามจะปกครองโดยกฎที่วางขึ้นโดยเฉพาะสำหรับชุมชนของตนโดยเฉพาะ เช่น กฎการสวดมนต์และเวลาสวด, กฎการใช้ชีวิต และอื่น ๆ เช่นกฎว่าด้วยเพศของสมาชิก หรือกฎที่ห้ามการมีภรรยา หรือการห้ามมีสมบัติเป็นของตนเองเป็นต้น นอกจากนั้นกฎที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอารามกับอารามอื่นในกลุ่มเดียวกันหรือนอกกลุ่ม หรือกับชุมชนรอบข้างก็จะแตกต่างกันออกไป บางอารามก็เน้นการอยู่ร่วมกับชุมชนรอบข้างเช่นในการให้การศึกษาหรือบริการการรักษาพยาบาลหรือการสอนศาสนา แต่บางอารามก็เน้นการใช้ชีวิตที่แยกกันอย่างเด็ดขาดจากชุมชน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและอาราม · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญง

อาวีญง (Avignon) เป็นเมืองหลัก (Chef-lieu) ของเขตจังหวัดโวกลูซ แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโรน ประกอบด้วยประชากรทั้งหมด 94,787 คน (ณ ปีค.ศ. 2010) ในจำนวนนี้มีประมาณ 12,000 คนทีอาศัยอยู่ในเขตเมืองเก่าของอาวีญง ในปัจจุบันเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังเป็นเมืองหลวงของจังหวัดโวกลูซ อาวีญงได้รับการขนานนามว่าเป็น "เมืองแห่งพระสันตะปาปา" เนื่องจากในอดีตนั้นเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปา (รวมทั้งพระสันตะปาปาเท็จ) ตั้งแต่ปีค.ศ. 1309 - ค.ศ. 1423 ในช่วงของการแตกแยกครั้งใหญ่ของคริสตจักร (Catholic Schism) นอกจากนี้อาวีญงยังเป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองในประเทศฝรั่งเศสที่ยังมีกำแพงเมืองเก่าที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และยังมีศูนย์ประวัติศาสตร์ พระราชวังพระสันตะปาปา สะพานอาวีญง ซึ่งยังอยู่ในสภาพดี ซึ่งทั้งหมดนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ. 1995 ในนาม Historic Centre of Avignon: Papal Palace, Episcopal Ensemble and Avignon Bridge (Centre historique d’Avignon: Palais des papes, ensemble épiscopal et Pont d’Avignon).

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและอาวีญง · ดูเพิ่มเติม »

อาวีญงปาปาซี

พระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญง อาวีญงปาปาซี (Avignon Papacy) หรือ สมณสมัยอาวีญง คือช่วงเวลาที่พระสันตะปาปา 7 พระองค์ประทับ ณ เมืองอาวีญง ราชอาณาจักรฝรั่งเศส แทนการประทับที่กรุงโรมตามปกติ สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างองค์พระสันตะปาปากับพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ภายหลังจากความขัดแย้งระหว่างสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 กับพระเจ้าฟิลิปที่ 3 แห่งฝรั่งเศส และการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 11 ผู้สืบทอดตำแหน่งสมเด็จพระสันตะปาปาต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาบอนิเฟซที่ 8 และดำรงสมณศักดิ์ได้เพียง 8 เดือน การประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาให้อาร์ชบิชอปแบร์ทร็อง ชาวฝรั่งเศส ขึ้นดำรงสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระสันตะปาปาพระองค์ใหม่ในปี..

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและอาวีญงปาปาซี · ดูเพิ่มเติม »

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา

ผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา หรือ พระสันตะปาปาซ้อน (antipope) หมายถึง พระคาร์ดินัลที่อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา ประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิกอย่างไม่ถูกต้อง จึงเป็นปรปักษ์ของพระสันตะปาปาพระองค์จริงที่ได้รับเลือกมาอย่างถูกต้องตามกฎหมายศาสนจักร การกล่าวหาบุคคลใดเป็นว่าพระสันตะปาปาซ้อนนั้นค่อนข้างสับสน เนื่องจากนักวิชาการในคริสตจักรโรมันคาทอลิกเองยังมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นพระสันตะปาปาซ้อนในสมัยหนึ่ง จึงอาจได้รับการยอมรับรับว่าเป็นพระสันตะปาปาถูกต้องในสมัยหลังก็ได้ เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 3 ช่วงเวลาที่มีพระสันตะปาปาซ้อนเกิดขึ้นต่อเนื่องยาวนานที่สุดคือช่วงที่เกิดศาสนเภทตะวันตกตั้งแต..

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและผู้อ้างตนเป็นพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะดอมินิกัน

ณะนักเทศน์ (Order of Preachers; Ordo fratrum Praedicatorum) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า คณะดอมินิกัน.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและคณะดอมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรม

ผลงานประติมากรรมนูนต่ำ(ภาพแกะสลัก)ที่ปราสาทนครวัด โรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ผลงานประติมากรรมลอยตัว ของโรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ประติมากรรม (Sculpture) เป็นงานศิลปะแสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่างๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่างๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้างของประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานประติมากรรม มักเรียกว่า ประติมากร งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตกต่างออกไปว่า ปฏิมากรรม ผู้ที่สร้างงานปฏิมากรรม เรียกว่า ปฏิมากร.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโรน

แม่น้ำโรน (Rhone river) เป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์ไปยังทางมุมตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส โดยมีต้นแม่น้ำอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ ที่ไหลมาจากสวิตเซอร์แลนด์ไปยังปากแม่น้ำที่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แม่น้ำโรนมีความยาวทั้งสิ้น 813 กิโลเมตร แม่น้ำแยกออกเป็นสองแคว คือ "โรนใหญ่" (Grand Rhône) และ "โรนเล็ก" (Petit Rhône).

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและแม่น้ำโรน · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อย

น้อยในประเทศเบลเยียม โบสถ์น้อย หรือ วัดน้อย (chapel) เป็นสิ่งก่อสร้างอิสระหรือโครงสร้างภายในสิ่งก่อสร้างของคริสต์ศาสนสถาน ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างอิสระก็มีขนาดต่างๆ ตั้งแต่ใหญ่ขนาดมหาวิหารย่อย ๆ ไปจนถึงโบสถ์น้อยเล็ก ๆ ข้างทาง เช่นเดียวกับถ้าเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างขนาดก็ขึ้นอยู่กับฐานะของผู้สร้าง โบสถ์น้อยที่เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิหาร, โบสถ์ใหญ่ ๆ, ปราสาท, วัง, คฤหาสน์, วิทยาลัย, โรงพยาบาล คุก หรือสุสาน บางครั้งโบสถ์น้อยที่สร้างในมหาวิหารจะสร้างเพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น "โบสถ์น้อยแม่พระ" ที่มักจะสร้างเป็นโบสถ์น้อยที่อยู่ทางตะวันออกสุดของโบสถ์ หรือ "โบสถ์น้อยศีลศักดิ์สิทธิ์" ที่ตั้งติดกับโบสถ์และใช้เป็นที่เก็บไวน์ และขนมปังที่ใช้ในพิธีศีลมหาสนิท ถ้าโบสถ์น้อยมีขนาดค่อนข้างเล็กที่สร้างเป็นคูหาภายในทางด้านข้างหรือทางด้านหลังของมหาวิหารหรือโบสถ์ก็อาจจะเรียกว่า "คูหาสวดมนต์" ความหมายเป็นนัยยะของโบสถ์น้อยคือเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลไม่ใช่สถาบันศาสนา เช่น โบสถ์น้อยของปราสาท หรือโบสถ์น้อยส่วนตัวภายในมหาวิหารเป็นต้น.

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและโบสถ์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ปาแลเดปัปและโรม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Palais des Papesพระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวินยองพระราชวังพระสันตะปาปาแห่งอาวีญงปาแลเดปาป

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »