โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาปอมปาดัวร์

ดัชนี ปลาปอมปาดัวร์

ปลาปอมปาดัวร์ (Pompadour, Discus) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Symphysodon (/ซิม-ฟี-โซ-ดอน/) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ซึ่งเป็นปลาวงศ์ใหญ่ มีจำนวนสมาชิกที่หลากหลายมากกว่า 1,000 ชน.

31 ความสัมพันธ์: ชั่วโมงชนิดย่อยพ.ศ. 2383พ.ศ. 2549พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสพันธุ์ป่าพีเอช (เคมี)ภาษาอังกฤษมาดาม เดอ ปงปาดูร์วงศ์ย่อยปลาหมอสีวงศ์ปลาหมอสีสกุล (ชีววิทยา)สัตว์สัตว์มีแกนสันหลังสปีชีส์อันดับปลากะพงอุณหภูมิฮีตเตอร์จานทรงกลมทวีปอเมริกาใต้ปลาที่มีก้านครีบปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลปลาปอมปาดัวร์เฮคเคลปลาปอมปาดัวร์เขียวปลาเทวดานิ้วแม่น้ำแอมะซอนแผนที่ไข่เครื่องปั้นดินเผา

ชั่วโมง

ั่วโมง อักษรย่อ ชม. (Hour: h หรือ hr) เป็นหน่วยของเวล.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

ชนิดย่อย

นิดย่อย หรือ พันธุ์ย่อย หรือ สปีชีส์ย่อย (subspecies) หมายถึง สิ่งมีชีวิตในสกุล (genus) เดียวกัน และจัดอยู่ในชนิด (species) เดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยซึ่งไม่สามารถแยกแยะออกเป็นชนิดใหม่ได้ จึงจัดเป็นชนิดย่อย โดยใช้ชื่อไตรนาม เช่น เต่าปูลู (Platysternon megacephalum pequense) เต่าปูลูเหนือ (Platysternon megacephalum megacephalum) เต่าปูลูใต้ (Platysternon megacephalum vogeli) เป็นต้น ความแตกต่างของชนิดย่อยมักอยู่ที่ลวดลาย สีสัน หรือขนาดลำตัว อันเนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่อยู่ที่แตกต่างกัน ปกติชนิดย่อยของสัตว์นิยมเรียกว่า subspecies ส่วนพืชเรียกว่า variety.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และชนิดย่อย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2383

ทธศักราช 2383 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1840.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และพ.ศ. 2383 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (Louis XV de France; ''หลุยส์แก็งซ์เดอฟร็องส์''.) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2253 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2317) หรือ ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง (ฝรั่งเศส: le Bien-Aimé; เลอเบียง-เนเม) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2258 (ค.ศ. 1715) จนกระทั่งสวรรคต ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อยังทรงพระเยาว์ การบริหารราชการในระยะแรกอยู่ในความรับผิดชอบของอ็องเดร แอร์กูล เดอเฟลอรี เมื่อเจริญพระชันษาขึ้นก็ทรงเอาพระทัยในการบริหารประเทศ แต่ทรงพยายามรักษาความยิ่งใหญ่ของฝรั่งเศสไว้เช่นสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ด้วยการทำสงครามกับเพื่อนบ้านหลายครั้งแต่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณไปเป็นจำนวนมาก ภายหลังทรงเริ่มละทิ้งราชการไปสนพระทัยในวิทยาศาสตร์และสนทนากับปัญญาชน รวมถึงทรงมีสัมพันธ์กับสตรีสูงศักดิ์หลายคน ถือว่าสถาบันกษัตริย์ของฝรั่งเศสเริ่มเสื่อมความนิยมและเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น การบริหารประเทศไร้ประสิทธิภาพจนนำไปสู่วิกฤตการณ์ในรัชกาลต่อม.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์ป่า

ันธุ์ป่าหรือไวลด์ไทป์ (wild type) เป็นฟีโนไทป์หนึ่งของสิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่งๆ ที่เป็นรูปแบบพื้นฐานเกิดขึ้นเองและพบได้ในธรรมชาติ ตามความเข้าใจเดิมนั้นลักษณะที่เป็นพันธุ์ป่าหมายถึงลักษณะที่เกิดจากอัลลีล "ปกติ" ของโลคัสนั้นๆ ซึ่งไม่เหมือนกับอัลลีล "กลายพันธุ์" ซึ่งไม่ปกติ ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าโลคัสส่วนใหญ่ของยีนนั้นมีอัลลีลหลายรูปแบบซึ่งมีความถี่แตกต่างกันไปตามภูมิประเทศที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อยู่อาศัย ดังนั้นรูปแบบพันธุ์ป่าที่เป็นพื้นฐานจริงๆ นั้น จึงไม่มีอยู่จริง อย่างไรก็ดีโดยทั่วไปนั้นถือว่าอัลลีลที่พบบ่อยที่สุด หรือมีความถี่มากที่สุด จะถือว่าเป็นอัลลีลที่เป็นพันธุ์ป่า หลักการว่าด้วยการมีอยู่ของไวลด์ไทป์มีประโยชน์ในการศึกษาสิ่งมีชีวิตต้นแบบเช่นแมลงวันผลไม้ Drosophila melanogaster ซึ่งลักษณะปรากฎ (ฟีโนไทป์) บางอย่างของแมลงวันนี้ เช่น สีตา หรือรูปร่างปีก สามารถถูกเปลี่ยนแปลงโดยการเกิดการกลายพันธุ์ในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น การมีตาสีขาว การมีร่องที่ปีก เป็นต้น อัลลีลที่เป็นไวลด์ไทป์จะถูกกำหนดด้วยสัญลักษณ์ "+" ที่ด้านบน.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และพันธุ์ป่า · ดูเพิ่มเติม »

พีเอช (เคมี)

ีเอช (pH ย่อมาจาก Potential of Hydrogen ion) เป็นค่าที่แสดงความเป็นกรดเป็นเบสของสารเคมีจากปฏิกิริยาของไฮโดรเจนไอออน (H+) สามารถทดสอบได้หลายวิธี โดยวิธีที่นิยมและง่ายสุดคือทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจากการเปลี่ยนสี สำหรับตัวเลขที่แสดงค่าพีเอช ถ้าพิจารณาอย่างง่ายที่อุณหภูมิห้อง ค่าเท่ากับ 7 แสดงว่าสารนั้นเป็นกลางไม่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือเบส เช่น น้ำบริสุทธิ์ ถ้ามีค่าน้อยกว่า 7 แสดงว่าเป็นกรด และถ้ามากกว่า 7 แสดงว่าเป็น.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และพีเอช (เคมี) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มาดาม เดอ ปงปาดูร์

มาดาม เดอ ปงปาดูร์ ฌานน์ อ็องตัวแน็ต ปัวซง, มาร์กีซ เดอ ปงปาดูร์ (Jeanne Antoinette Poisson, Marquise de Pompadour) หรือรู้จักกันในชื่อ มาดาม เดอ ปงปาดูร์ (Madame de Pompadour; 29 ธันวาคม ค.ศ. 1721 – 15 เมษายน ค.ศ. 1764) เป็นสมาชิกในราชสำนักฝรั่งเศส โดยดำรงตำแหน่งสนมเอกของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ตั้งแต่อายุ 24 ปี จนกระทั่งเสียชีวิตในด้วยวัย 42 ปี ในระหว่างมีชีวิตอยู่ เธอมีอิทธิพลต่อนโยบายของฝรั่งเศสหลายครั้ง โดยเฉพาะในการทำสนธิสัญญาแวร์ซายครั้งที่ 1 ระหว่างฝรั่งเศสกับออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และมาดาม เดอ ปงปาดูร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ย่อยปลาหมอสี

วงศ์ย่อยปลาหมอสี เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cichlasomatinae ปลาที่ถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ย่อยนี้ เป็นปลาที่พบแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐเท็กซัส ในตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา, หมู่เกาะแคริบเบียน, อเมริกากลาง จนถึงอเมริกาใต้ โดยแบ่งได้ทั้งหมด 37 สกุล.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และวงศ์ย่อยปลาหมอสี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาหมอสี

วงศ์ปลาหมอสี (Cichlids) เป็นวงศ์ปลาที่มีจำนวนชนิดมากกว่า 1,000 ชนิด นับเป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดที่มีจำนวนชนิดมากเป็นอันดับสาม รองมาจากวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cichlidae (/ซิค-ลิด-เด/) ชื่อสามัญในภาษาไทยนิยมเรียกว่า "ปลาหมอสี" ปลาในวงศ์นี้ส่วนใหญ่จึงมักมีชื่อขึ้นต้นว่า "ปลาหมอ" ปลาในวงศ์ปลาหมอสีมีลักษณะหลายหลากแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของถิ่นกำเนิด ปลาหมอสีส่วนใหญ่เป็นปลาน้ำจืด แต่มีบางชนิดพบในน้ำกร่อย ปลาในวงศ์นี้พบมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งมีประมาณ 900 และ 290 ชนิดตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีบางชนิดพบได้ในตอนล่างของทวีปอเมริกาเหนือ อีกสี่ชนิดพบในตะวันออกกลาง และอีกสามชนิดพบในอินเดีย ปลาในวงศ์ปลาหมอสีมีความสำคัญต่อมนุษย์ในหลายลักษณะ ปลาบางชนิด เช่น ปลานิล จัดเป็นปลาเศรษฐกิจที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว ในขณะที่ปลาอีกหลายชนิดเป็นปลาตู้สวยงาม เช่น ปลาเทวดา, ปลาปอมปาดัวร์ และ ปลาออสการ์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และวงศ์ปลาหมอสี · ดูเพิ่มเติม »

สกุล (ชีววิทยา)

ในทางชีววิทยา สกุล (อังกฤษ genus) เป็นการจัดกลุ่มเอาสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน ในการตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่งสามารถซ้ำกับชื่อสกุลหรือชื่อในอนุกรมวิธานของอาณาจักรอื่นได้ ตัวอย่างเช่น Anura เป็นชื่อสกุลของพืชในวงศ์ และเป็นชื่ออันดับของกบ Aotus เป็นชื่อสกุลของถั่วและลิง เป็นต้น แต่ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่ง ๆ ต้องห้ามซ้ำกัน หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และสกุล (ชีววิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และสัตว์มีแกนสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และสปีชีส์ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับปลากะพง

อันดับปลากะพง (อันดับ: Perciformes; Bass, Snapper, Perch, Jack, Grunter) เป็นการจำแนกอันดับของปลาจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Perciformes (/เพอร์-ซิ-ฟอร์-เมส/) ซึ่งเป็นปลากระดูกแข็ง คิดเป็นร้อยละ 40 ของปลากระดูกแข็งทั้งหมด ลักษณะเด่นของปลาในอันดับนี้คือ เป็นปลากินเนื้อ เกล็ดมีลักษณะสากขอบเป็นหยักแข็ง ปากยาวมีลักษณะยืดหดได้ มีก้านครีบแข็ง หรือ Spine ที่ครีบหลังตอนหน้า พบได้ทั้ง น้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล สำหรับวงศ์ปลาที่อยู่ในอันดับนี้มีอยู่มากมายถึง 156 วงศ์ (ดูในเนื้อหา) โดยสามารถแบ่งได้เป็นอันดับย่อยลงไปอีก (ดูในตาราง).

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และอันดับปลากะพง · ดูเพิ่มเติม »

อุณหภูมิ

อุณหภูมิของก๊าซอุดมคติอะตอมเดี่ยวสัมพันธ์กับค่าเฉลี่ยพลังงานจลน์ของอะตอม อุณหภูมิ คือการวัดค่าเฉลี่ยของพลังงานจลน์ของอนุภาคในสสารใดๆ ซึ่งสอดคล้องกับความร้อนหรือเย็นของสสารนั้น ในอดีตมีแนวคิดเกี่ยวกับอุณหภูมิเกิดขึ้นเป็น 2 แนวทาง คือตามแนวทางของหลักอุณหพลศาสตร์ และตามการอธิบายเชิงจุลภาคทางฟิสิกส์เชิงสถิติ แนวคิดทางอุณหพลศาสตร์นั้น ถูกพัฒนาขึ้นโดยลอร์ดเคลวิน โดยเกี่ยวข้องกับการวัดในเชิงมหภาค ดังนั้นคำจำกัดความอุณหภูมิในเชิงอุณหพลศาสตร์ในเบื้องแรก จึงระบุเกี่ยวกับค่าตัวแปรต่างๆ ที่สามารถตรวจวัดได้จากการสังเกต ส่วนแนวทางของฟิสิกส์เชิงสถิติจะให้ความเข้าใจในเชิงลึกยิ่งกว่าอุณหพลศาสตร์ โดยอธิบายถึงการสะสมจำนวนอนุภาคขนาดใหญ่ และตีความพารามิเตอร์ต่างๆ ในอุณหพลศาสตร์ (เชิงมหภาค) ในฐานะค่าเฉลี่ยทางสถิติของพารามิเตอร์ของอนุภาคในเชิงจุลภาค ในการศึกษาฟิสิกส์เชิงสถิติ สามารถตีความคำนิยามอุณหภูมิในอุณหพลศาสตร์ว่า เป็นการวัดพลังงานเฉลี่ยของอนุภาคในแต่ละองศาอิสระในระบบอุณหพลศาสตร์ โดยที่อุณหภูมินั้นสามารถมองเป็นคุณสมบัติเชิงสถิติ ดังนั้นระบบจึงต้องประกอบด้วยปริมาณอนุภาคจำนวนมากเพื่อจะสามารถบ่งบอกค่าอุณหภูมิอันมีความหมายที่นำไปใช้ประโยชน์ได้ ในของแข็ง พลังงานนี้พบในการสั่นไหวของอะตอมของสสารในสภาวะสมดุล ในแก๊สอุดมคติ พลังงานนี้พบในการเคลื่อนไหวไปมาของอนุภาคโมเลกุลของแก.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และอุณหภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮีตเตอร์

ีตเตอร์ (heater) ในความหมายทั่วไปหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำความร้อน ซึ่งยังอาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และฮีตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จาน

จาน(dish) โดยทั่วไปมีรูปร่างแบน ใช้เพื่อเป็นภาชนะใส่อาหาร อาจจะเป็นรูปวงกลมหรือสี่เหลี่ยมก็ได้ ส่วนใหญ่มักทำมาจากกระเบื้องหรือพลาสติก วิธีดูแลรักษา ล้างให้สะอาด แล้วคว่ำไว้ในที่คว่ำชาม และหมั่นตรวจดูรอยแจก รอยร้าวที่เกิดขึ้น  ถ้าพบควรรีบคัดภาชนะนั้นออก  ไม่นำมาใช้ต่อไป เพราะรอยร้าวทำให้เศษอาหารเข้าไปสะสมอยู่  ทำให้บูดเน่า  เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค การเก็บรักษา เมื่อภาชนะเครื่องใช้แห้งดีแล้ว ควรเก็บเข้าตู้ทันที  เพื่อ  ป้องกันแมลง  และพาหะนำโรค หมวดหมู่:เครื่องครัว.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และจาน · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกลม

รูปทรงกลม ในทางเรขาคณิต ทรงกลม (อังกฤษ: sphere) เป็นกราฟสามมิติ ทรงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ (x0, y0, z0) จะมีสมการเป็น จุดบนทรงกลมที่มีรัศมี r จะผ่าน พื้นที่ผิวของทรงกลมที่มีรัศมี r คือ และปริมาตรคือ ทรงกลมเป็นรูปทรงที่มีพื้นที่ผิวน้อยที่สุดในบรรดารูปทรงที่มีปริมาตรเท่ากัน และมีปริมาตรมากที่สุดในบรรดารูปทรงที่มีพื้นที่ผิวเท่ากัน หมวดหมู่:เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ หมวดหมู่:เรขาคณิตมูลฐาน หมวดหมู่:พื้นผิว หมวดหมู่:ทอพอโลยี.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และทรงกลม · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาใต้

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรโลกพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะเคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทำให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส คือ แอ่งแม่น้ำแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือตามลำดับ ส่วนจำนวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และทวีปอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่มีก้านครีบ

ปลาที่มีก้านครีบ (Ray-finned fishes) เป็นชั้นย่อยของปลากระดูกแข็ง (Osteichthyes) ชั้นหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Actinopterygii (/แอก-ติ-โน-เทอ-ริ-กิ-ไอ/) เป็นปลาที่เคลื่อนไหวโดยอาศัยครีบและกล้ามเนื้อลำตัวเป็นสำคัญ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น ก้านครีบแข็ง และก้านครีบอ่อน ซึ่งปลาส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จะถูกจัดอยู่ในชั้นนี้ บรรพบุรุษของปลาในชั้นนี้จะมีขนาดเล็ก มีเกราะหุ้มตัวหนา มีปอดและเหงือก ชื่อ Andreolepis hedei โดยพบเป็นฟอสซิลอยู่ในยุคปลายซิลลูเรียนเมื่อกว่า 420 ล้านปีก่อนที่รัสเซีย, สวีเดน และเอสโตเนีย ปลาชั้นนี้มีการวิวัฒนาการอยู่ 3 ขั้นตอน คือ.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และปลาที่มีก้านครีบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล

ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล หรือ ปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน (Brown discus, Blue discus; หรือ Symphysodon aequifasciata haraldi) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาปอมปาดัวร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งในข้อมูลบางแหล่งจัดให้เป็นชนิดย่อยของปลาปอมปาดัวร์เขียว (S. aequifasciata) ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลมีลักษณะที่เห็นได้เด่นชัดคือ บริเวณกลางลำตัวไม่มีลวดลาย จะมีลายเฉพาะบริเวณส่วนหัว ครีบหลังกระโดงบนและล่าง ส่วนบริเวณกลางลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อนหรือสีน้ำตาลเข้ม หรือกระทั่งเข้มไปเป็นสีแดง ขึ้นอยู่กับแหล่งน้ำที่อาศัย นอกจากนี้แล้วบางตัวยังอาจมีลายบั้งสีดำเห็นเด่นชัดเช่นเดียวกับปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล (S. discus) อีกด้วย ในอดีต ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล จะถูกแยกออกจากปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน แต่ในปัจจุบัน ได้มีนักมีนวิทยาบางคนได้เสนอให้รวมเป็นชนิดเดียวกัน (ดังนั้นจึงทำให้การจำแนกปลาปอมปาดัวร์เป็นชนิดต่าง ๆ จึงยังไม่มีข้อยุติ) โดยปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน เป็นปลาที่มีลายสีน้ำเงินหรือสีฟ้าขึ้นอยู่เกือบเต็มหรือเต็มลำตัว มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแหล่งน้ำที่อาศัย ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลนั้นเป็นต้นสายพันธุ์ของปลาปอมปาดัวร์ชนิดแรกที่ถูกนำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ต่อมาได้ถูกพัฒนาสายพันธุ์จากการที่เป็นปลาป่ามาเป็นสีสันและลวดลายที่หลากหลายในปัจจุบัน โดยปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลจะเป็นต้นสายพันธุ์ของ "ปลาปอมปาดัวร์ 5 สี" และปลาปอมปาดัวร์น้ำเงินเป็นต้นสายพันธุ์ของ "Red turquoise" หรือ "Blue turquoise" หรือในชื่อภาษาไทยว่า "ปลาปอมปาดัวร์ 7 สี" นั่นเอง ปลาปอมปาดัวร์น้ำเงิน นอกจากนี้แล้ว ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลยังมีชื่อเรียกอื่นในวงการปลาสวยงามในประเทศไทยว่า "ปลาป่าแดง" ซึ่งปลาในกลุ่มปลาป่าแดง จัดเป็นปลาปอมปาดัวร์ชนิดที่หาซื้อได้ง่ายที่สุด เพราะเป็นชนิดที่พบได้มากที่สุดในธรรมชาติ ปลาป่าแดงจึงมีราคาซื้อขายที่ย่อมเยาที่สุด นอกจากนี้แล้ว ปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล ที่พบในแหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งมีสีสันหรือลวดลายแตกต่างออกไป จะมีชื่อเรียกทางการค้าต่างกันออกไป เช่น "อเลนคิวร์เรด" (Alenquer red) หมายถึง ปลาที่มาจากแม่น้ำอเลนคิวร์, "อิคาเรด" (Içá red) เป็นปลาปอมปาดัวร์น้ำตาลที่มีเส้นข้างลำตัวเส้นที่ 5 เป็นสีดำเข้มหรือเทาเข้มชัดเจนคล้ายกับปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล แต่แถบแรกจะมีขนาดแคบกว่า แรกเริ่มปลาลักษณะนี้พบได้ในแม่น้ำอิคา ในประเทศเปรู แต่ปัจจุบันพบได้ในแหล่งน้ำอื่น ๆ ด้วย, "รอยัลบลู" (Royal blue) เป็นปลาปอมปาดัวร์น้ำเงินที่มีลวดลายขึ้นจนเต็มตัวเห็นได้ชัดเจน ลักษระเช่นนี้หาได้ยากเพราะส่วนใหญ่มักมีลายขึ้นเพียงบริเวณขอบด้านบนและด้านล่างของลำตัวเท่านั้น ทำให้ปลาปอมปาดัวร์รอยัลบลูมีราคาซื้อขายที่สูงมาก.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และปลาปอมปาดัวร์น้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล

ปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล (Heckel discus, Red discus) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาปอมปาดัวร์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะโดดเด่นที่แตกต่างจากปลาปอมปาดัวร์ชนิดอื่น ๆ คือ กลางลำตัวมีแถบสีดำในแนวตั้งข้างลำตัว 9 แถบ โดยแถบที่ 5 บริเวณกลางลำตัวจะเป็นแถบหนาใหญ่เห็นชัดเจนที่สุด และแถบแรกที่พาดบริเวณดวงตาและแถบสุดท้าย คือ แถบที่ 9 บริเวณโคนหางจะมีสีดำเข้มเช่นเดียวกัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล จะพบในแหล่งน้ำที่น้ำมีสีชา หรือที่เรียกว่า "Black Water" ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของน้ำประมาณ 3.8-4.8 ซึ่งนับว่ามีความเป็นกรดสูง และปลาปอมปาดัวร์เฮคเคลเมื่อเทียบกับปลาปอมปาดัวร์ชนิดอื่นอีก 2 ชนิดนั้นจะมีขนาดเล็กกว่า โดยทั่วไปพฤติกรรมในธรรมชาติมักรวมกลุ่มเป็นฝูงขนาดใหญ่เฉพาะปลาปอมปาดัวร์เฮคเคลด้วยกัน นอกจากนี้แล้วในวงการปลาสวยงาม ปลาปอมปาดัวร์เฮคเคลยังสามารถแบ่งออกเป็นสายพันธุ์ย่อย ๆ ได้อีกจำนวนหนึ่งตามสีสรร และแหล่งน้ำที่พบ ได้แก.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาปอมปาดัวร์เขียว

ปลาปอมปาดัวร์เขียว (Green discus) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาปอมปาดัวร์ชนิดหนึ่ง แม้จะมีชื่อว่าเขียว แต่ทว่าสีพื้นลำตัวของปลาปอมปาดัวร์เขียวมักออกไปทางโทนสีเขียวอมเหลือง และมีลักษณะที่แตกต่างจากปลาปอมปาดัวร์ชนิดอื่น ๆ ที่เห็นได้ชัดเจน คือ มีจุดสีแดงคล้ายสนิมขนาดเล็กขึ้นกระจายอยู่ตามลำตัว ซึ่งจุดเหล่านี้เป็นลักษณะที่พบได้บ่อยในปลาปอมปาดัวร์เขียวโดยปลาแต่ละตัวอาจจะมีจำนวนจุด และการกระจายมากน้อยแตกต่างออกไปตามแต่ละตัว แต่อย่างน้อยจะต้องมีปรากฏลักษณะจุดเช่นนี้บริเวณรอบครีบทวารเสมอ โดยปลาตัวใดที่มีจุดดังกล่าวมากและเห็นชัดเจน โดยที่มีลวดลายสีเขียวมรกตขึ้นชัดเจนตามบริเวณแนวครีบหลังและครีบท้องด้วย จะเรียกว่า "Red spotted green" ปลาปอมปาดัวร์เขียว พบในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำสีชา หรือ "Black Water" เช่นเดียวกับปลาปอมปาดัวร์เฮคเคล (S. discus) แต่จะพบในสภาพที่มีความเป็นกรดเป็นด่าง หรือ pH น้อยกว่า คือ ประมาณ 5.0-6.0 จึงไม่พบว่าปลาปอมปาดัวร์ทั้งสองชนิดนี้อยู่ในแหล่งน้ำเดียวกันเลย นอกจากนี้แล้ว ปลาปอมปาดัวร์เขียวมีแหล่งกระจายพันธุ์เทียบกับปลาปอมปาดัวร์ชนิดอื่นแคบกว่า ดังนั้น จึงเป็นปลาที่ถูกจับนำมาขายในตลาดปลาสวยงามน้อยที่สุดในบรรดาปลาปอมปาดัวร์ทั้งหม.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และปลาปอมปาดัวร์เขียว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทวดา

ปลาเทวดา (Angelfish) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Pterophyllum (/เทอ-โร-ฟิล-ลั่ม/; เป็นภาษาละตินแปลว่า "ครีบใบไม้" ซึ่งหมายถึง ลักษณะรูปร่างลำตัวที่คม) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันอย่างหลากหล.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และปลาเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

นิ้ว

นิ้ว (อังกฤษ:finger) อาจหมายถึง ส่วนที่ยื้นออกมาจากมือ มีข้อต่อ ที่ปลายมีเล็.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และนิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแอมะซอน

แม่น้ำแอมะซอน แม่น้ำแอมะซอน (Amazon River; Rio Amazonas; Río Amazonas) เป็นแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเปรู และไหลออกมหาสมุทรที่ประเทศบราซิล มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 6,992 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของโลก (รองลงมาคือแม่น้ำไนล์) และยังเป็นแม่น้ำที่มีปากแม่น้ำกว้างที่สุดในโลก ซึ่งอยู่บริเวณทางเหนือของบราซิล แม่น้ำแอมะซอนเป็นแม่น้ำสายที่มีปริมาณน้ำมากที่สุด ปริมาณน้ำที่ไหลออกยังมหาสมุทรแอตแลนติกมากถึง 45 ล้านแกลลอนต่อวินาทีในฤดูฝน ฝนที่ตกในลุ่มแม่น้ำแอมะซอนเฉลี่ยปีละ 3 เมตร (สูงสุด 6 เมตร) แต่ฝนจะตกเพียงไม่กี่เดือน ต่างกันไปตามแต่ละสถานที่ ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนตุลาคม น้ำจะลดปริมาณลงจนเห็นสันทรายและเกิดเป็นทะเลสาบต่าง ๆ บางแห่งตัดขาดจากกัน ในฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วมป่าทุกปี ในเนื้อที่ประมาณ 90,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดเท่าประเทศอังกฤษ และยังถือเป็นแม่น้ำที่มีปริมาณน้ำมากถึง 1 ใน 5 ส่วนของโลก มีแม่น้ำสาขาที่แยกออกจากแอมะซอนมากกว่า 1,100 สาขา อีกทั้งยังถือเป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก เป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดในโลก กว่า 3,000 ชนิด ซึ่งนับว่ามากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกเสียอีก.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และแม่น้ำแอมะซอน · ดูเพิ่มเติม »

แผนที่

231x231px แผนที่ คือ รูปภาพอย่างง่ายซึ่งจำลองบริเวณบริเวณหนึ่ง และมีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุ หรือบริเวณย่อย ๆ ที่อยู่ในบริเวณนั้น แผนที่มักเป็นรูปสองมิติซึ่งแสดงระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้อย่างถูกต้องตามหลักเรขาคณิต ยกตัวอย่างเช่น แผนที่ทางภูมิศาสตร์ นอกจากนี้เรายังสามารถวาดแผนที่แสดงคุณสมบัติของบริเวณต่าง ๆ บนพื้นโลก เช่น ความหนาแน่นของประชากร ความสูงของพื้นที่ ดัชนีการพัฒนาของมนุษย์ในแต่ละประเทศ เป็นต้น.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

ไข่

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และไข่ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องปั้นดินเผา

การปั้นเครื่องปั้นดินเผา เครื่องปั้นดินเผา ภาชนะชุดแรก ๆ ของมนุษย์นั้นคือการนำดินมาขึ้นรูปเป็นภาชนะต่าง ๆ แล้วนำไปตากแห้ง คุณสมบัติของดิน โดยเฉพาะดินเหนียวสามารถอุ้มน้ำได้ดี และเมื่อผสมเข้ากับน้ำแล้วจะทำให้ดินมีความเหนียวและสามารถที่จะปั้นหรือขึ้นรูปสามมิติ โดยไม่ต้องเพิ่มเติมวัสดุอื่นอีก คำว่า"เครื่องปั้นดินเผา"เป็นคำนามที่มีความหมายที่สื่อให้เข้าใจได้ในตัวของมันเอง (เอาดินมาปั้นแล้วก็เผา) เมื่อนำดินที่ขึ้นรูปแล้วมาให้ความร้อน ดินซึ่งประกอบด้วยผลึกในตระกูลของ "alumino silicate" จะมีการเปลี่ยนแปลงสัณฐานทางเคมี สารประกอบอัลคาไลน์ (alkaline) เป็นสารชนิดหนึ่งที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีกับผลึกดินที่อุณหภูมิสูง พลังงานความร้อนนี้สามารถขับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของผลึกดิน โดยจะทำให้เกิดสารประกอบลักษณะเป็น"แก้ว" สารประกอบนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวประสานอนุภาคดินที่เหลือ ซึ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้าง เข้าด้วยกัน ทำให้เนื้อวัสดุหลังการเผา (อย่างน้อยประมาณ 800 องศาเซลเซียส แล้วแต่คุณสมบัติทางเคมี) มีความคงทนแข็งแรงขึ้น สามารถคงรูปไว้ใช้เป็นภาชนะสังเคราะห์ชนิดแรกของมนุษย์ และที่ๆสำคัญมีอยู่ที่ตะนาวศรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: ปลาปอมปาดัวร์และเครื่องปั้นดินเผา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Symphysodonสกุลปลาปอมปาดัวร์ปอมปาดัวร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »