โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บาอ์

ดัชนี บาอ์

บาอ์ (ب) เป็นอักษรตัวที่ 2 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู בอักษรซีเรียค ܒ อักษรอาหรับ (ب) ใช้แทนเสียงที่เกิดจาก ริมฝีปาก ก้อง ไม่มีลม (สัทศาสตร์สากล: หรือ /บ/) ตรงกับอักษรละติน “B” ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย บ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

8 ความสัมพันธ์: อักษรฟินิเชียอักษรละตินอักษรอาหรับอักษรฮีบรูอักษรซีรีแอกอักษรแอราเมอิกB

(ใบไม้) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 26 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก น (หนู) และก่อนหน้า ป (ปลา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรกลาง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “บ ใบไม้” อักษร บ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /b/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ บ เพียงตัวเดียว หรือเติมไม้เอกด้วย สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ คือ บ, บ่ อ่านว่า บอ, บ่อ แปลว่า "ไม่" เป็นคำพิเศษที่แสดงถึงความเป็นตรงกันข้าม.

ใหม่!!: บาอ์และบ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: บาอ์และอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: บาอ์และอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: บาอ์และอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: บาอ์และอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีรีแอก

หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..

ใหม่!!: บาอ์และอักษรซีรีแอก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแอราเมอิก

อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.

ใหม่!!: บาอ์และอักษรแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

B

B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.

ใหม่!!: บาอ์และB · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

بบาอุ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »