สารบัญ
ภาษา
ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...
ภาษากรีก
ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ศัพทมูลวิทยา
ศัพทมูลวิทยา เป็นศัพท์บัญญัติจากภาษาอังกฤษ etymology หมายถึง การศึกษาที่มาของคำศัพท์ โดยอาศัยเอกสารโบราณ และการเปรียบเทียบกับภาษาอื่นๆ นักศัพทมูลวิทยาจะสืบสร้างประวัติของคำนั้นๆ ว่าคำนั้นมีการใช้ในภาษานั้นเมื่อใด มาจากแหล่งใด และมีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงความหมายอย่างไร คำนี้มักจะใช้สับสนกับคำว่า นิรุกติศาสตร์ ซึ่งหมายถึงการศึกษาที่มาของภาษา หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ หมวดหมู่:ศัพทมูลวิทยา.
ดู นิรุกติศาสตร์และศัพทมูลวิทยา
คำสร้างใหม่
ำสร้างใหม่ หรือ ศัพท์บัญญัติ หมายถึงคำที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ซึ่งอาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป อาจถูกสร้างขึ้นมาเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์ ในประเทศไทยราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ.
ดู นิรุกติศาสตร์และคำสร้างใหม่
ดูเพิ่มเติม
การเขียน
- Ҍ
- การถอดเสียง
- การรู้หนังสือ
- การเขียน
- ตัวเขียน
- นักเขียน
- นิรุกติศาสตร์
- บทความ
- ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ
- รอยขูดขีดเขียน
- ระบบการเขียน
- ลายมือชื่อ
- อัญพจน์
- เรียงความ
- ไวยากรณ์
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
- คำยืม
- ตระกูลภาษา
- นิรุกติศาสตร์
- ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
- ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ