เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ตำแหน่งเกิดเสียง

ดัชนี ตำแหน่งเกิดเสียง

ตำแหน่งเกิดเสียง:1. ริมฝีปาก ด้านนอก (Exo-labial) 2. ริมฝีปาก ด้านใน (Endo-labial) 3. ฟัน (Dental) 4. ปุ่มเหงือก (Alveolar) 5. หลังปุ่มเหงือก (Post-alveolar) 6.

สารบัญ

  1. 3 ความสัมพันธ์: พยัญชนะกล่องเสียงสัทศาสตร์

  2. สัทศาสตร์

พยัญชนะ

พยัญชนะ (วฺยญฺชน, consonant) ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่น ๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า 'พยัญชนะ' คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว.

ดู ตำแหน่งเกิดเสียงและพยัญชนะ

กล่องเสียง

กล่องเสียง หรือ ลาริงซ์ (larynx) เป็นอวัยวะในคอของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ทำหน้าที่ในการป้องกันท่อลม (trachea) และการทำให้เกิดเสียง ในกล่องเสียงมีสายเสียงแท้หรือเส้นเสียงแท้ (vocal fold) ซึ่งอยู่ใต้บริเวณที่คอหอย (pharynx) แยกออกเป็นท่อลมและหลอดอาหาร (esophagus).

ดู ตำแหน่งเกิดเสียงและกล่องเสียง

สัทศาสตร์

ัทศาสตร์ (phonetics) เป็นสาขาย่อยของภาษาศาสตร์ที่ประกอบด้วยการศึกษาเสียงพูดของมนุษย์ สัทศาสตร์สนใจคุณสมบัติทางกายภาพของเสียงพูด และกระบวนการผลิตเสียงทางกายภาพ การรับรู้ในแง่ของการได้ยิน และการรับรู้ทางกายภาพ การศึกษาสัทศาสตร์เริ่มเมื่อ 2,500 ปีที่แล้วในอินเดียโบราณ โดยปาณินิได้อธิบายถึงฐานและกรณ์ในการออกเสียง พยัญชนะในตำราภาษาสันสกฤตของเขา อักษรอินเดียที่ใช้ในปัจจุบันเรียงลำดับตัวอักษรตามการแยกประเภทของปาณิน.

ดู ตำแหน่งเกิดเสียงและสัทศาสตร์

ดูเพิ่มเติม

สัทศาสตร์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฐานกรณ์