โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สัทศาสตร์

ดัชนี สัทศาสตร์

ัทศาสตร์ (phonetics) เป็นสาขาย่อยของภาษาศาสตร์ที่ประกอบด้วยการศึกษาเสียงพูดของมนุษย์ สัทศาสตร์สนใจคุณสมบัติทางกายภาพของเสียงพูด และกระบวนการผลิตเสียงทางกายภาพ การรับรู้ในแง่ของการได้ยิน และการรับรู้ทางกายภาพ การศึกษาสัทศาสตร์เริ่มเมื่อ 2,500 ปีที่แล้วในอินเดียโบราณ โดยปาณินิได้อธิบายถึงฐานและกรณ์ในการออกเสียง พยัญชนะในตำราภาษาสันสกฤตของเขา อักษรอินเดียที่ใช้ในปัจจุบันเรียงลำดับตัวอักษรตามการแยกประเภทของปาณิน.

6 ความสัมพันธ์: ภาษาศาสตร์ภาษาสันสกฤตสัทวิทยาสัทอักษรสากลตระกูลอักษรพราหมีปาณินิ

ภาษาศาสตร์

ษาศาสตร์ (linguistics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับภาษามนุษย์ ผู้ที่ศึกษาในด้านนี้เรียกว่า นักภาษาศาสตร.

ใหม่!!: สัทศาสตร์และภาษาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: สัทศาสตร์และภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

สัทวิทยา

ัทวิทยา, สรวิทยา หรือ วิชาระบบเสียง (phonology) เป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับเรื่องเสียงในภาษา โดยแยกย่อยออกเป็น 2 แขนง คือ สัทศาสตร์ (phonetics) และสรศาสตร์ (phonemics).

ใหม่!!: สัทศาสตร์และสัทวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: สัทศาสตร์และสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลอักษรพราหมี

ตระกูลอักษรพราหมี เป็นกลุ่มของอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ได้แก่อักษรที่ใช้ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สัทศาสตร์และตระกูลอักษรพราหมี · ดูเพิ่มเติม »

ปาณินิ

ปาณินิ (Pāṇini; पाणिनि) เป็นนักไวยากรณ์ชาวอินเดียสมัยโบราณ ตามตำนานระบุว่ามีชีวิตในช่วง 520 - 460 ปีก่อนคริสตกาล แต่มีการศึกษาพบว่ามีชิวิตอยู่ประมาณช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล อาศัยอยู่ในเมืองคันธาระ และนับว่ามีชื่อเสียงมากที่สุดในฐานะนักไวยากรณ์ภาษาสันสกฤต โดยเฉพาะการวางสูตรถึง 3,959 สูตร หรือหลัก ในด้านสัณฐานวิทยา (Morphology) โดยมีชื่อเรียกว่า อัษฏาธยายี ซึ่งหมายถึงคัมภีร์ 8 บท นั่นเอง แต่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "ไวยากรณ์ของปาณินิ" ไวยากรณ์ของปาณินิชิ้นนี้ นับเป็นจุดสิ้นสุดของภาษาสันสกฤตยุคพระเวท โดยการนำไปสู่ภาษาสันสกฤตแบบแผน (Classical Sanskrit) หมวดหมู่:ชาวอินเดีย หมวดหมู่:ภาษาสันสกฤต.

ใหม่!!: สัทศาสตร์และปาณินิ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »