เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ตารางธาตุ (ขยาย)

ดัชนี ตารางธาตุ (ขยาย)

ตารางธาตุขยาย (Extended Periodic Table) เป็นการทำนายตำแหน่งของธาตุหลังจากออกาเนสซอน ซึ่งเป็นธาตุสุดท้ายในคาบที่ 7 ปัจจุบันธาตุในคาบที่ 7 ถูกค้นพบหมดแล้ว ถ้ามีธาตุที่มีเลขอะตอมมากกว่าถูกค้นพบ มันก็จะย้ายไปสู่คาบที่ 8 และนักวิทยาศาสตร์ได้ทำนายว่าธาตุในคาบที่ 8 อย่างน้อย 18 ตัวจะต้องอยู่ในบล็อก-g ซึ่งบล็อก-g มีการกล่าวถึงครั้งแรกโดย เกลนน์ ที.

สารบัญ

  1. 8 ความสัมพันธ์: บล็อก-gชื่อธาตุที่เป็นระบบสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศอูนไบอันเนียมธาตุคาบ 8ธาตุคาบ 9ครึ่งชีวิตเลขอะตอม

  2. ตารางธาตุ
  3. ฟิสิกส์นิวเคลียร์

บล็อก-g

บล็อก-g (g-block) เป็นหนึ่งในบล็อกของตารางธาตุ ธาตุเหล่านี้ในสภาวะที่อะตอมมีพลังงานต่ำสุด(ground state) อิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูงสุดจะอยู่ในวงโคจรจี(g-atomic orbital) ยังไม่มีการค้นว่ามีธาตุใดอยู่ในบล็อก-g หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และบล็อก-g

ชื่อธาตุที่เป็นระบบ

ื่อธาตุที่เป็นระบบ (systematic element name) เป็นชื่อชั่วคราวสำหรับธาตุที่เพิ่งสังเคราะห์ได้หรือยังสังเคราะห์ไม่ได้ โดยสัญลักษณ์ธาตุได้จากชื่อที่เป็นระบบ เนื่องจากบางครั้งการตั้งชื่อธาตุนำไปสู่ปัญหาที่เกี่ยวพันกับทางการเมือง ทำให้สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) ต้องสร้างระเบียบในการตั้งชื่อและสัญลักษณ์ธาตุชั่วคราวที่เป็นกลาง โดยได้จากเลขอะตอมแต่ละตัวของธาตุนั้น ๆ โดยชื่อเลขแต่ละตัวอาจใช้รากศัพท์ภาษาละตินหรือภาษากรีกเพื่อหลีกเลี่ยงความใกล้เคียงกัน เช่น เลข 5 ใช้รากศัพท์ภาษากรีก "เพนท์" (pent) แทนรากศัพท์ภาษาละติน "ควินท์" (quint) เพื่อไม่ให้สับสนกับ "ควอด" (quad) ซึ่งหมายถึงเลข 4 และมีกฎในการลดทอนตัวอักษร 2 ข้อคือ.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และชื่อธาตุที่เป็นระบบ

สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ

หภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (International Union of Pure and Applied Chemistry, ย่อ: IUPAC /ไอยูแพ็ก/) เป็นสหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ สหภาพฯ เป็นสมาชิกของสภาสหภาพวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (ICSU) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานบริหาร หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สำนักเลขาธิการ IUPAC" ตั้งอยู่ที่อุทยานสามเหลี่ยมวิจัย รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา สำนักงานบริหารแห่งนี้นำโดยผู้อำนวยการบริหารของ IUPAC IUPAC ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ

อูนไบอันเนียม

อูนไบอันเนียม (Unbiunium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 121 และมีสัญลักษณ์ Ubu "อูนไบอันเนียม" เป็นชื่อชั่วคราวในระบบ IUPAC และมีชื่อชั่วคราวอีกชื่อตามพยากรณ์ของดมีตรี เมนเดเลเยฟว่า "เอกา-แอกทิเนียม" (eka-actinium) อูนไบอันเนียมเป็นธาตุในหมู่ซูเปอร์แอกทิไนด์และเป็นธาตุแรกในคาบนี้ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:โลหะแอลคาไลน์-เอิร์ธ หมวดหมู่:ธาตุสังเคราะห์ หมวดหมู่:ธาตุกัมมันตรังสี.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และอูนไบอันเนียม

ธาตุคาบ 8

ธาตุคาบ 8 (period 8 element) คือทั้งหมดที่อยู่ในแถวที่ 8 ของตารางธาตุ ธาตุในคาบดังกล่าวยังไม่มีการสังเคราะห์หรือค้นพบขึ้น โดยธาตุคาบ 8 นี้เป็นการพยากรณ์โดย IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะ แฮโลเจน ก๊าซมีตระกูล หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และธาตุคาบ 8

ธาตุคาบ 9

ธาตุคาบ 9 (period 9 element) คือทั้งหมดที่อยู่ในแถวที่ 9 ของตารางธาตุธาตุในคาบยังไม่มีการสังเคราะห์หรือค้นพบ ธาตุคาบ 9 นี้ถูกพยากรณ์โดย IUPAC(International Union of Pure and Applied Chemistry) โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะ แฮโลเจน ก๊าซมีตระกูล หมวดหมู่:ตารางธาตุ ar:عناصر الدورة التاسعة.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และธาตุคาบ 9

ครึ่งชีวิต

ครึ่งชีวิต (t½) (Half-life) คือเวลาที่สารกัมมันตรังสีใช้ในการสลายตัวเหลือครึ่งหนึ่งของที่มีอยู่เดิม มักถูกใช้เพื่ออธิบายคุณสมบัติของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี แต่อาจจะใช้เพื่ออธิบายปริมาณใด ๆ ก็ตามที่มีสลายตัวแบบเอ็กโพเนนเชียลด้วย จุดกำเนิดของคำศัพท์คำนี้ ได้ระบุไว้ว่าเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ดได้ค้นพบหลักการนี้ในปี 1907 และเรียกว่า "ช่วงเวลาครึ่งชีวิต" (half-life period) ต่อมาคำนี้ถูกย่อให้สั้นลงเหลือเป็น "ครึ่งชีวิต" (half-life) ในช่วงต้นทศวรรษปี 1950 หมวดหมู่:กัมมันตรังสี หมวดหมู่:นิวเคลียร์เคมี หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์ หมวดหมู่:การยกกำลัง.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และครึ่งชีวิต

เลขอะตอม

เลขอะตอม (atomic number) หมายถึงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้นๆ หรือหมายถึงจำนวนอิเล็กตรอนที่วิ่งวนรอบนิวเคลียสของอะตอมที่เป็นกลาง เช่น ไฮโดรเจน (H) มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 เลขอะตอม เดิมใช้หมายถึงลำดับของธาตุในตารางธาตุ เมื่อ ดมิทรี อีวาโนวิช เมนเดลีเยฟ (Dmitry Ivanovich Mendeleev) ทำการจัดกลุ่มของธาตุตามคุณสมบัติร่วมทางเคมีนั้น เขาได้สังเกตเห็นว่าเมื่อเรียงตามเลขมวลนั้น จะเกิดความไม่ลงรอยกันของคุณสมบัติ เช่น ไอโอดีน (Iodine) และเทลลูเรียม (Tellurium) นั้น เมื่อเรียกตามเลขมวล จะดูเหมือนอยู่ผิดตำแหน่งกัน ซึ่งเมื่อสลับที่กันจะดูเหมาะสมกว่า ดังนั้นเมื่อเรียงธาตุในตารางธาตุตามเลขอะตอม ตารางจะเรียงตามคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ เลขอะตอมนี้ถึงแม้โดยประมาณ แล้วจะแปรผันตรงกับมวลของอะตอม แต่ในรายละเอียดแล้วเลขอะตอมนี้จะสะท้อนถึงคุณสมบัติของธาตุ เฮนรี โมสลีย์ (Henry Moseley) ได้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการกระเจิงของ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ์ (x-ray) ของธาตุ และตำแหน่งที่ถูกต้องบนตารางธาตุ ในปี ค.ศ.

ดู ตารางธาตุ (ขยาย)และเลขอะตอม

ดูเพิ่มเติม

ตารางธาตุ

ฟิสิกส์นิวเคลียร์