สารบัญ
17 ความสัมพันธ์: วิดีโอเกมหลายผู้เล่นวี (เครื่องเล่นเกม)วียูสื่อแบบส่งต่อเนื่องสแควร์เอนิกซ์ออร์ค (มิดเดิลเอิร์ธ)อะกิระ โทะริยะมะดราก้อนเควสต์คนแคระนินเท็นโด 3DSนินเท็นโดสวิตช์แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ไอโอเอสเพลย์สเตชัน 4เกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาทเอลฟ์
- วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2555
- เกมสำหรับนินเท็นโด 3ดีเอส
- เกมสำหรับนินเท็นโดวี
- เกมสำหรับวียู
- เกมออนไลน์ผู้เล่นจำนวนมากแบบเล่นตามบทบาท
วิดีโอเกมหลายผู้เล่น
วิดีโอเกมหลายผู้เล่น (Multiplayer video game) หรือ โหมดผู้เล่นหลายคน เป็นการเล่นที่ผู้เล่นหลายคนสามารถเล่นได้ในสภาพแวดล้อมเดียวกันภายในเกมได้มากกว่าหนึ่งคน ไม่เหมือนกับเกมประเภทอื่น ๆ เกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมมักจะมีเนื้อหาในโหมดผู้เล่นคนเดียว ซึ่งเป็นการเล่นระหว่างผู้เล่นกับการท้าทายที่มีการเขียนโปรแกรมมากแล้วก่อนหน้านี้ หรือปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งมักจะขาดซึ่งความยืดหยุ่นและมีความฉลาดไม่เท่ากับการคิดของมนุษย์ องค์ประกอบของการเล่นหลายคนทำให้ผู้เล่นมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้เล่นคนอื่น อาจอยู่ในรูปแบบของการร่วมมือกัน การแข่งขันกันหรือคู่ปรับกัน และทำให้ผู้เล่นมีการติดต่อสื่อสารทางสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่หาไม่ได้ในโหมดผู้เล่นคนเดียว ในเกมหลายผู้เล่นจำนวนมาก ผู้เล่นอาจดำเนินการแข่งขันกับผู้เล่นตั้งแต่สองคนขึ้นไปอย่างเป็นคู่แข่งกัน ทำงานร่วมกันกับเพื่อนที่เป็นผู้เล่นคนอื่นเพื่อบรรลุเป้าหมายเดียวกัน การดูแลกิจกรรมของผู้เล่นคนอื่น หรืออาจมีลักษณะของเกมที่ผสมผสานการเล่นทั้งหมดดังที่กล่าวมา เกมหลายผู้เล่นจำเป็นจะต้องมีการแบ่งปันทรัพยากรของระบบผู้เล่นคนเดียว หรือใช้เทคโนโลยีเครือข่ายเพื่อให้ผู้เล่นสามารถเล่นด้วยกันได้ แม้จะอยู่ห่างไกลกันมากก็ตาม.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและวิดีโอเกมหลายผู้เล่น
วี (เครื่องเล่นเกม)
วี (Wii) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมรุ่นที่ 5 ของบริษัทนินเทนโด ภายใต้ชื่อรหัสพัฒนาว่า เรฟโวลูชัน (Revolution) ซึ่งเป็นรุ่นที่จะออกมาถัดจากเครื่อง เกมคิวบ์ โดยที่จอยแพดที่ใช้ควบคุม จะเป็นรูปทรงเหมือน รีโมตโทรทัศน์ และเกมที่ใช้เล่นก็จะใช้การควบคุม โดยการเคลื่อนไหวจอยแพดนี้ ไปในทิศทางต่าง ๆ อีกด้วย เครื่องเล่นวีสามารถเล่นเกมของ เกมคิวบ์ได้ทันที และยังสามารถเล่นเกมของแฟมิคอม ซูเปอร์แฟมิคอม และ นินเทนโด 64 ได้ผ่านระบบเกมที่สามารถ ดาวน์โหลดผ่านอินเทอร์เน็ต.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและวี (เครื่องเล่นเกม)
วียู
วียู (Wii U) เป็นคอนโซลวิดีโอเกมจาก นินเทนโด และสืบต่อไปจาก วี โดยระบบออกจำหน่ายในวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ในทวีปอเมริกาเหนือ,วันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ.
สื่อแบบส่งต่อเนื่อง
การแพร่ภาพกระจายเสียงทางเว็บกำลังส่งข้อมูลต่อเนื่องผ่านตัวเล่นสื่อแบบหนึ่ง สื่อแบบส่งต่อเนื่อง (streaming media) เป็นสื่อประสมที่ผู้ใช้ขั้นปลายได้รับตามลำดับอย่างต่อเนื่องในขณะที่ผู้ให้บริการกำลังส่งมอบเนื้อหาทั้งหมดไปให้ ตัวเล่นสื่อลูกข่ายอาจเริ่มเล่นข้อมูล (เช่น ภาพยนตร์) ก่อนที่ไฟล์เนื้อหาจะถูกส่งมาทั้งหมดก็ได้ การรับ-ส่งสื่อแบบต่อเนื่องเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรับชมนอกเหนือจากการดาวน์โหลดสู่อุปกรณ์ส่วนบุคคล คำกริยา stream ในภาษาอังกฤษหมายถึงกระบวนการส่งมอบเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ศัพท์นี้จึงสื่อถึงวิธีการส่งสื่อมากกว่าจะสื่อถึงลักษณะของตัวสื่อเอง การจำแนกวิธีส่งสื่อออกจากตัวสื่อที่ถูกส่งนั้นใช้โดยเฉพาะกับเครือข่ายโทรคมนาคม เนื่องจากระบบการส่งมอบข้อมูลโดยทั่วไปมีทั้งระบบที่ส่งต่อเนื่องในตัว (เช่น วิทยุ, โทรทัศน์) และระบบที่ไม่สามารถส่งต่อเนื่องได้ในตัว (เช่น หนังสือ, ตลับวีดิทัศน์, แผ่นซีดีเสียง) ตัวอย่างเช่น ในคริสต์ทศวรรษ 1930 ดนตรีลิฟต์ (elevator music) เป็นหนึ่งในบรรดาสื่อแบบส่งต่อเนื่องยุคแรกสุดที่เป็นที่นิยมกัน แต่ทุกวันนี้ โทรทัศน์อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นรูปแบบสามัญรูปแบบหนึ่งของสื่อแบบส่งต่อเนื่องไปแล้ว ศัพท์ "สื่อแบบส่งต่อเนื่อง" สามารถใช้กับสื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากวีดิทัศน์และข้อมูลเสียง เช่น คำบรรยายแบบซ่อนได้สด, ทิกเกอร์เทป และข้อความสด (real-time text) ซึ่งเราถือว่าทั้งหมดเป็น "ข้อความแบบส่งต่อเนื่อง" อนึ่ง วลี "แบบส่งต่อเนื่อง" ได้รับการนำมาใช้เป็นครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เนื่องจากเป็นคำอธิบายที่ดีกว่าสำหรับวีดิทัศน์ตามคำขอบนเครือข่ายไอพี โดยในขณะนั้นวีดิทัศน์รูปแบบดังกล่าวมักถูกเรียกว่า "วีดิทัศน์แบบเก็บข้อมูลแล้วส่งต่อ" (store and forward video) ซึ่งเป็นการตั้งชื่อที่อาจทำให้เข้าใจผิดได้ การส่งต่อเนื่องสด (live streaming) ซึ่งสื่อถึงการส่งมอบเนื้อหาผ่านอินเทอร์เน็ตตามเวลาจริงนั้นจำเป็นต้องใช้สื่อต้นทางรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง (เช่น กล้องวีดิทัศน์, ตัวต่อประสานเสียง, ซอฟต์แวร์จับภาพหน้าจอ), ตัวเข้ารหัสเพื่อแปลงเนื้อหาเป็นดิจิทัล, ตัวจัดพิมพ์สื่อ และเครือข่ายการส่งมอบเนื้อหา (content delivery network) เพื่อแจกจ่ายและส่งเนื้อหา ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในการส่งต่อเนื่องสด เช่น เฟซบุ๊กไลฟ์, บีโกไลฟ์ เป็นต้น.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและสื่อแบบส่งต่อเนื่อง
สแควร์เอนิกซ์
แควร์เอนิกซ์ หรือ บริษัท สแควร์เอนิกซ์ โฮลดิงส์ มหาชนจำกัด (株式会社スクウェア・エニックス・ホールディングス คะบุชิกิ-ไงฉะ ซุกุเอะอะ เอะนิกกุซุ โฮรุดิงงุซุ; Square Enix Holdings Co., Ltd) คือ ชื่อของบริษัทผลิตเกม โดยเกมที่มีชื่อเสียงคือเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ดราก้อนเควสต์ และ คิงดอมฮาร์ต สำนักงานใหญ่อยู่ที่ โยะโยะงิ ในชิบุยะ เมืองโตเกียว สแควร์เอนิกซ์ เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัทสแควร์ และ เอนิกซ์ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและสแควร์เอนิกซ์
ออร์ค (มิดเดิลเอิร์ธ)
ออร์ค (Orc) ในปกรณัมชุดมิดเดิลเอิร์ธ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีรูปร่างวิกลวิการ วิปริต จิตใจชั่วช้า เป็นสมุนของเทพฝ่ายมารนับแต่อดีต ได้แก่ มอร์กอธ และ เซารอน ความเป็นมาของออร์คนั้นไม่แน่ชัด แต่ตำนานหนึ่งเชื่อว่า นับแต่สมัยโบราณกาลในยุคที่หนึ่ง มอร์กอธแอบจับตัวพวกเอลฟ์ ไปทรมานทั้งร่างกายและจิตใจ จนกลายสภาพเป็นสิ่งมีชีวิตที่วิปริต และดัดแปลงพันธุกรรมเสียใหม่ ด้วยความเคียดแค้นชิงชังในตัวพวกเอลฟ์ ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตแสนวิเศษที่ เอรู อิลูวาทาร์ทรงสร้างขึ้น พวกออร์คเรียกกันเป็นหลายชื่อ และยังมีเผ่าพันธุ์ย่อยอีกหลายเผ่าพันธุ์ ในเรื่อง เดอะฮอบบิท มักเรียกพวกออร์คว่า กอบลิน (Goblin) พวกเอลฟ์เรียกชนกลุ่มนี้ว่า อีร์ค (Yrch) แต่โทลคีนถอดความมาเป็นภาษาอังกฤษโดยเลือกใช้ชื่อสิ่งมีชีวิตโบราณในเทพนิยายมาใช้เป็น ออร์ค พวกออร์คส่วนใหญ่กลัวแสงแดด จึงมักหลีกเลี่ยงการเดินทางในเวลากลางวัน ในยามที่มอร์กอธหรือเซารอนต้องใช้กองทัพออร์คออกไปปฏิบัติการ จึงมักสร้างหมอกทึบเมฆดำปกคลุมผืนฟ้า เพื่อให้กองทัพออร์คเดินทางได้โดยสะดวก ในยุคที่สาม ซารูมานได้ผสมพันธุ์พวกออร์คขึ้นใหม่ ให้มีความทนทานต่อแสงอาทิตย์ และมีรูปร่างสูงใหญ่แข็งแรง มีชื่อเรียกว่า พวก อูรุก.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและออร์ค (มิดเดิลเอิร์ธ)
อะกิระ โทะริยะมะ
อากิระ โทริยามา อากิระ โทริยามา (เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2498 เมืองคิโยซุ เขตไอจิ) เป็น นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น มีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง ดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่ ในปี พ.ศ.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและอะกิระ โทะริยะมะ
ดราก้อนเควสต์
ราก้อนเควสต์ (Dragon Quest) หรือชื่อการตลาดในทวีปอเมริกาเหนือคือ Dragon Warrior เป็นหนึ่งในซีรีส์เกมเล่นตามบทบาทที่ขายดีที่สุด สร้างโดยสตูดิโอ Armor Project ของยูจิ โฮะริอิ และมีศิลปินผู้วาดเกมคือ อะกิระ โทะริยะมะ นักวาดการ์ตูนเรื่อง ดราก้อนบอล เกมดราก้อนเควสต์ถูกวางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นโดยสแควร์เอนิกซ์ ส่วนในต่างประเทศวางจำหน่ายโดยบริษัทนินเท็นโด โดยภาคแรกได้ถูกวางจำหน่ายในปี..
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและดราก้อนเควสต์
คนแคระ
วาด ''Men hur kommer man in i berget, frågade tomtepojken'' (''ข้าจะกลับไปในภูเขาได้อย่างไร, คนแคระน้อยถาม'') ของ จอห์น บาวเออร์ คนแคระ (Dwarf) เป็นสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏในตำนานปรัมปราในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิก (สแกนดิเนเวียและเยอรมัน) ปรากฏในเทพนิยาย นิยายแฟนตาซี และเกมอาร์พีจีจำนวนมาก มักมีพรสวรรค์อันวิเศษโดยเฉพาะด้านเกี่ยวกับการเหมืองและการโลหะ แนวคิดเริ่มแรกเกี่ยวกับกำเนิดตำนานของคนแคระไม่สามารถระบุได้แน่ชัด แหล่งกำเนิดที่ใกล้เคียงที่สุดเท่าที่สามารถค้นพบคือในตำนานปรัมปราของเจอร์แมนิกที่สืบทอดมาจากตำนานนอร์ส แต่กระนั้นก็หาหลักฐานได้ยากและมีรูปแบบหลากหลายมาก เรื่องราวที่ผิดเพี้ยนไปทำให้คนแคระดูน่าขบขันมากขึ้นและช่างเชื่อถือโชคลาง คนแคระมีลักษณะคล้ายมนุษย์ แต่เรื่องเล่าระบุถึงความสูงและชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างกันไป บางเรื่องถึงกับบรรยายพวกเขาไปคล้ายกับพวกเอลฟ์ เมื่อพิจารณาจากแหล่งข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุดและจากลักษณะตามธรรมชาติของคนแคระ เชื่อได้ว่าในยุคแรกๆ คนแคระมีความสูงพอกันกับมนุษย์นี้เอง บทบาทของพวกเขาในตำนานมักมีความผูกพันใกล้ชิดกับความตาย มีผิวกายซีด ผมสีเข้ม ชอบอยู่กับพื้นโลก มีประเพณีที่นิยมนับถือลัทธิภูตผี ซึ่งสอดคล้องกับความผูกพันกับความตาย บางครั้งมีลักษณะคล้ายคลึงกับพวก 'Vættir' หรือจิตวิญญาณแห่งธรรมชาติ เช่นพวกเอลฟ์ ตำนานปรัมปราเกี่ยวกับคนแคระที่พัฒนาการต่อมา มีข้อเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ พวกเขาดูน่าขบขันมากขึ้น มีความลึกลับมากขึ้น คนแคระเริ่มมีรูปร่างเตี้ยลงและน่าเกลียดมากขึ้นตามภาพลักษณ์ในยุคใหม่ รวมถึงภาพการใช้ชีวิตใต้พื้นดินของพวกเขาก็โดดเด่นยิ่งขึ้น คนแคระเป็นสิ่งมีชีวิตมหัศจรรย์ที่มีทักษะด้านการโลหะอย่างวิเศษ มีชื่อเสียงในการสร้างของวิเศษในตำนานมากมาย แนวคิดเกี่ยวกับคนแคระในตำนานนอร์สยุคหลังมีความแตกต่างจากตำนานดั้งเดิมมาก คนแคระในแนวคิดใหม่นี้ไปปรากฏในเทพนิยายและนิทานพื้นบ้านในยุคหลังมากขึ้น (ดูเพิ่มเติมใน นิทานพื้นบ้านเยอรมัน และนิทานพื้นบ้านดัตช์) พวกเขากลายเป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งมีเวทมนตร์ ไม่สามารถมองเห็นได้ เป็นเจ้าแห่งมนตร์มายา คำสาป และคำล่อลวง แฟนตาซีและวรรณกรรมยุคใหม่ช่วยกันถักทอความเจ้าเล่ห์แสนกลให้กับเหล่าคนแคระเพิ่มเติมไปยิ่งกว่าคนแคระดั้งเดิม คนแคระในยุคใหม่จึงมีลักษณะเฉพาะตัวคือ มีร่างกายเตี้ยแคระ ผมและขนดกหนา มีความสามารถในการทำเหมืองและการช่างโลหะอย่างพิเศษ อย่างไรก็ดีวรรณกรรมยุคใหม่ยังบรรยายภาพของคนแคระที่แตกต่างกันออกไปอีกตามแต่ตำนานและประวัติศาสตร์ของแต่ละท้องถิ่น วรรณกรรมแฟนตาซีหลายเรื่องประดิษฐ์คิดค้นอำนาจหรือภาพลักษณ์ของคนแคระขึ้นใหม่ ทำให้ "คนแคระ" ในตำนานยุคใหม่ไม่อาจมีคำจำกัดความที่ชัดเจนได้ แต่แนวคิดเรื่องคนแคระมีร่างเตี้ยดูจะเป็นประเด็นที่มั่นคงไม่เปลี่ยนแปลงมากที่สุด และคำว่า "คนแคระ" (dwarf) ก็ถูกนำมาใช้บรรยายถึงมนุษย์ร่างเตี้ยโดยทั่วไปไม่ว่าจะมีอำนาจเวทมนตร์หรือไม่ ดังนั้นคำจำกัดความสากลในยุคใหม่สำหรับคำว่า คนแคระ จึงหมายถึงสิ่งมีชีวิตร่างเตี้ย มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ อยู่ในวรรณกรรมแฟนตาซีและเทพน.
นินเท็นโด 3DS
นินเท็นโด 3DS เป็นเครื่องเกมพกพาซึ่งผลิตโดยนินเท็นโด เป็นรุ่นที่ต่อจาก นินเท็นโด ดีเอส มีลักษณะคล้ายกับนินเท็นโด ดีเอส มีภาพสามมิติที่มองได้ด้วยตาเปล่า เปิดตัวในปี พ.ศ.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและนินเท็นโด 3DS
นินเท็นโดสวิตช์
นินเทนโดสวิตช์ (Nintendo Switch) ที่รู้จักกันในภายใต้ชื่อรหัสพัฒนาว่า เอ็นเอกซ์ (NX) เป็นคอนโซลวิดีโอเกม โดยระบบออกจำหน่ายในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและนินเท็นโดสวิตช์
แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)
ซัมซุง กาแลคซี โน้ต แอนดรอยด์ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ในอดีตถูกออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้แพร่ไปยังอุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตรฐานเปิด เช่น Nikon S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดรอยด์ หม้อหุงข้าว Panasonic ระบบแอนดรอยด์ และ Smart TV ระบบแอนดรอยด์ รวมถึงกล่องเสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทำการซื้อต่อบริษัทในปี..
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)
ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
มโครซอฟท์ วินโดวส์ (Microsoft Windows) เป็นระบบปฏิบัติการ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์ เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985 โดยรุ่นแรกของวินโดวส์ คือ วินโดวส์ 1.0) และครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่า 90% ของการใช้งานทั่วโลก รายละเอียดโดยสังเขปของวินโดวส์รุ่นต่างๆ เรียงตามลำดับการเปิดตัว เป็นดังนี้.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและไมโครซอฟท์ วินโดวส์
ไอโอเอส
อโอเอส (ก่อนหน้านี้ใช้ชื่อ ไอโฟนโอเอส) คือระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (สมาร์ตโฟน,แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์) พัฒนาและจำหน่ายโดยแอปเปิล (บริษัท) เปิดตัวครั้งแรกในปี 2007 เพื่อใช้บนไอโฟน และได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อใช้บนอุปกรณ์พกพาอื่นๆ ของแอปเปิล เช่น ไอพอดทัช (ในเดือนกันยายน 2007), ไอแพด (ในเดือนมกราคม 2010), ไอแพด มินิ (พฤศจิกายน 2012) และ แอปเปิลทีวี รุ่นที่ 2 (ในเดือนกันยายน 2010) ไอโอเอสแตกต่างจากวินโดวส์โฟนของไมโครซอฟท์และแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ของกูเกิล ตรงที่แอปเปิลไม่อนุญาตให้นำไอโอเอสไปติดตั้งบนอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อุปกรณ์ของแอปเปิล ในเดือนสิงหาคม 2013 แอปสโตร์ของแอปเปิลมีแอปพลิเคชันมากกว่า 900,000 แอปพลิเคชัน และ 375,000 ที่ออกแบบมาเพื่อ ไอแพด แอปพลิเคชันเหล่านี้มียอดดาวโหลดน์รวมกันมากกว่า 5 หมื่นล้านครั้ง ไอโอเอสมีส่วนแบ่ง 21% ของส่วนแบ่งระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2012 ซึ่งเป็นรองจากแอนดรอยของกูเกิลเท่านั้น ในเดือนมิถุนายน 2012 ไอโอเอสมีส่วนแบ่งคิดเป็น 65% ของการบริโภคข้อมูลบนอุปกรณ์พกพา (ซึ่งรวม ไอพอดทัช และ ไอแพด) ในกลางปี 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอสมากกว่า 410 ล้านเครื่องที่เปิดใช้งาน จากการอ้างอิงจากงานแถลงเปิดตัวต่อสื่อโดยแอปเปิลใน วันที่ 12 กันยายน 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอส 400 ล้านตัวที่จำหน่ายไปแล้วในเดือนมิถุนายน 2012 ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ของไอโอเอสมีพื้นฐานแนวคิดมาจาก "การควบคุมโดยตรง" (direct manipulation) ด้วยการใช้มัลติทัช องค์ประกอบของการควบคุมก็คือการใช้นิ้วเลื่อน, สวิทช์ และปุ่ม เพื่อเป็นการควบคุมอุปกรณ์รวมถึงท่าทางอย่างอื่น เช่น การนำนิ้วมือ (มากกว่าสองนิ้ว) บีบเข้าหาศูนย์กลาง (swipe), แตะเบาๆ (tap), การนำนิ้วสองนิ้วบีบเขาหาศูนย์กลาง (pinch), การนำนิ้วสองนิ้วกางออกจากศูนย์กลาง (reverse pinch) ซึ่งทั้งหมดนี้มีความหมายที่เจาะจงในบริบทต่างๆ ของไอโอเอสและถือเป็นการใช้งานแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบมัลติทัช ภายในอุปกรณ์ที่ติดตั้งไอโอเอสจะมีเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้กับบางแอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองการสั่นของอุปกรณ์ หรือการหมุนอุปกรณ์ที่คำนวณในรูปแบบสามมิติ ไอโอเอสมีต้นกำเนิดมาจากแมคโอเอสเท็นซึ่งได้รากฐานมาจากดาร์วินและแอปพลิเคชันเฟรมเวริค์ต่างๆ ไอโอเอสคือรุ่นพกพาของแมคโอเอสเท็นที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ของแอปเปิล รุ่นหลักของไอโอเอสจะมีการเปิดตัวทุกๆ ปี จนถึงปัจจุบันนี้ ได้มีการปล่อยตัว iOS 10 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดในวันที่ 13 มิถุนายน..
เพลย์สเตชัน 4
ลย์สเตชัน 4 หรือ PS4 (PlayStation 4) เป็นเครื่องเล่นวิดีโอเกมตระกูลเพลย์สเตชันรุ่นที่ 4 ของบริษัทโซนี่คอมพิวเตอร์เอ็นเตอร์เทนเมนต์ เปิดตัวต่อจากเพลย์สเตชัน 3 ที่งานแถลงข่าวรอบสื่อมวลชนในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2013 และเริ่มวางจำหน่ายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2013 ในทวีปอเมริกาเหนือ และต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2013 จึงวางจำหน่ายในยุโรปและออสเตรเลีย เพลย์สเตชัน 4 มีคู่แข่งที่สำคัญคือ Wii U ของนินเทนโด และ Xbox One ของไมโครซอฟท์ ทั้งนี้ ณ เดือนตุลาคม..
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและเพลย์สเตชัน 4
เกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาท
เกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาท หรือ Massive Multiplayer Online Role-Playing Game (MMORPG) เป็นเกมปืนอาร์พีจีที่ผู้เล่นหลายคนเข้ามาเล่นในเวลาเดียวกัน และเสมือนอยู่ในโลกเดียวกัน โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ และผู้เล่นแต่ละคนจะสวมบทบาทเป็นตัวละครตัวหนึ่งในโลกนั้นด้วย เช่นเกม World of Warcraft, Ragnorok Offline, Mu Offline เป็นต้น รวมถึงเกมที่อยู่ในสมาร์ทโฟนอีกด้วย หมวดหมู่:เกม.
ดู ดราก้อนเควสต์ Xและเกมออนไลน์แบบเล่นตามบทบาท
เอลฟ์
''Ängsälvor'' "เอลฟ์แห่งท้องทุ่ง" ภาพวาดของนิลส์ บลอมเมอร์ ในปี ค.ศ. 1850 เอลฟ์ (elf) คือสิ่งมีชีวิตอมนุษย์ในตำนานนอร์สและตำนานปรัมปราในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิก (สแกนดิเนเวียและเยอรมัน) เมื่อแรกเริ่ม แนวคิดเกี่ยวกับพวกเอลฟ์คือ ชนเผ่าที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์ ภาพวาดของชนเหล่านี้มักเป็นมนุษย์ทั้งชายและหญิงที่แลดูอ่อนเยาว์และงดงาม อาศัยอยู่ในป่า ในถ้ำ ใต้พื้นดิน หรือตามบ่อน้ำและตาน้ำพุ มักเชื่อกันว่าพวกเขามีชีวิตยืนยาวมากหรืออาจเป็นอมตะ รวมทั้งมีพลังเวทมนตร์วิเศษ แต่หลังจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ผลงานอันโด่งดังของ เจ.
ดูเพิ่มเติม
วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2555
- การ์เดียนครอส
- คิงดอมส์ออฟแอมะเลอร์: เรกคอนนิ่ง
- ซับเวย์เซิร์ฟเฟอส์
- ดราก้อนเควสต์ X
- ดอกไม้ มิตรภาพ และความทรงจำ
- ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '13
- ดิ อะเมซิ่ง สไปเดอร์แมน (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- นีดฟอร์สปีด: โมสท์วอนเต็ด (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- น้องสาวของผมไม่น่ารักขนาดนั้นหรอก
- ปกรณัมของเหล่าภูต
- ฟาร์คราย 3
- ฟีฟ่าออนไลน์ 3
- มาโฮสึไค โนะ โยรุ
- รีไรต์
- สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ
- สไนเปอร์อีลีต วีทู
- อัสแซสซินส์ครีด 3
- อัสแซสซินส์ครีด 3: ลิเบอเรชัน
- อินาสึมะอีเลฟเวน GO 2 โครโน สโตน
- ฮิตแมน: แอบโซลูชั่น
- เคาน์เตอร์-สไตรก์: โกลบัลออฟเฟนซิฟ
- เดอะวอล์กกิงเดด (วิดีโอเกม)
- เดียโบล III
- เบรฟ (วิดีโอเกม)
- เรซิเดนต์อีวิล 6
- เอนด์เกม: ซีเรีย
- แคลชออฟแคลนส์
- แบดพิกกีส์
- แร็กนาร็อกออนไลน์สอง: เลจเจนด์ออฟเดอะเซคันด์
- แอ็งกรีเบิดส์ สตาร์วอร์ส
- โปรโตไทป์ 2
- โรงเรียนป่วน ก๊วนคนบ๊อง
- โลกบ้องแบ๊วของแมวตัวกลม
เกมสำหรับนินเท็นโด 3ดีเอส
- ซูเปอร์สแมชบราเธอร์สฟอร์นินเท็นโด 3ดีเอส แอนด์วียู
- ดราก้อนเควสต์ III
- ดราก้อนเควสต์ VII
- ดราก้อนเควสต์ X
- ดราก้อนเควสต์ XI
- ดิ อะเมซิ่ง สไปเดอร์แมน (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- นีดฟอร์สปีด: เดอะรัน
- ฟีฟ่า 14
- ฟีฟ่า 15
- ร็อคแมน 2 ความลับของดร.ไวลี่
- อินาสึมะอีเลฟเวน
- อินาสึมะอีเลฟเวน 2 เคียวอิ โนะ ชินเรียคุฉะ
- อินาสึมะอีเลฟเวน 3 เซไค เอะ โนะ โจเซ็น!!
- อินาสึมะอีเลฟเวน GO
- อินาสึมะอีเลฟเวน GO 2 โครโน สโตน
- เดอะซิมส์ 3
- เทอราเรีย
- เมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์
- แอ็งกรีเบิดส์ สตาร์วอร์ส
- โปรอีโวลูชันซ็อกเกอร์ 2014
- โปเกมอน ซูเปอร์มิสทะรีดันเจียน
- โลกบ้องแบ๊วของแมวตัวกลม
- ไซคิหนุ่มพลังจิตอลเวง
- ไมเคิลแจ็กสัน: ดิเอกซพีเรียนซ์
เกมสำหรับนินเท็นโดวี
- 2010 ฟีฟ่าเวิลด์คัพเซาท์แอฟริกา
- กังฟูแพนด้า (วิดีโอเกม)
- คอลล์ออฟดิวตี: มอเดิร์นวอร์แฟร์ 3
- คาเมนไรเดอร์ ไคลแม็กซ์ฮีโร่ส์
- จัสแดนซ์ 2018
- จัสแดนซ์ 2019
- ซามูไรโชดาวน์ VI
- ซามูไรโชดาวน์ แอนโธโลจี
- ดราก้อนเควสต์ X
- ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '12
- ดับเบิลยูดับเบิลยูอี '13
- ดิ อะเมซิ่ง สไปเดอร์แมน (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- ทัตสึโนโกะ vs. แคปคอม: อัลติเมตออล-สตาร์ส
- ทีเอ็นเอ อิมแพ็ค! (วิดีโอเกม)
- นีดฟอร์สปีด: คาร์บอน
- นีดฟอร์สปีด: อันเดอร์คัฟเวอร์
- นีดฟอร์สปีด: ฮอตเพอร์ซูต (วิดีโอเกม พ.ศ. 2553)
- นีดฟอร์สปีด: เดอะรัน
- นีดฟอร์สปีด: โปรสตรีท
- นีดฟอร์สปีด: ไนโตร
- บอล ออฟ ฟูรี่ ศึกปิงปองดึ๋งดั๋งสนั่นโลก
- บูลลี (วิดีโอเกม)
- ฟีฟ่า 15
- มาดากัสการ์ คาร์ทซ์
- มายซิมส์ เรซซิ่ง
- มาริโอแอนด์โซนิคแอตดิโอลิมปิกเกมส์
- เชร็ค 3 (วิดีโอเกม)
- เดอะซิมส์ 2 ตัวโปรดจอมป่วน
- เดอะซิมส์ 3
- เดอะเฮาส์ออฟเดอะเดด 2
- เบรฟ (วิดีโอเกม)
- เรซิเดนต์อีวิล 4
- เรซิเดนต์อีวิล ซีโร่
- แอ็งกรีเบิดส์ สตาร์วอร์ส
- แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม (วิดีโอเกม)
- โปรอีโวลูชันซ็อกเกอร์ 2009
- ไมเคิลแจ็กสัน: ดิเอกซพีเรียนซ์
เกมสำหรับวียู
- คาเมนไรเดอร์ แบทไทรด์วอร์ส
- จัสแดนซ์ 2018
- จัสแดนซ์ 2019
- ซูเปอร์สแมชบราเธอร์สฟอร์นินเท็นโด 3ดีเอส แอนด์วียู
- ดราก้อนเควสต์ X
- ดิ อะเมซิ่ง สไปเดอร์แมน (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- นีดฟอร์สปีด: โมสท์วอนเต็ด (วิดีโอเกม พ.ศ. 2555)
- บาโยเน็ตตา
- มาริโอคาร์ต 8
- มาริโอแอนด์โซนิคแอตเดอะโซชี 2014 โอลิมปิกวินเทอร์เกมส์
- วอริเออร์โอโรจิ 3
- สไนเปอร์อีลีต วีทู
- อัสแซสซินส์ครีด 3
- อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก
- อินจัสติส: ก็อดส์อมองอัส
- เทคเคน แท็กทัวร์นาเมนท์ 2
- เทอราเรีย
- เรย์แมน เลเจนดส์
- แบทแมน: อาร์แคมซิตี
- แบทแมน: อาร์แคมออริจินส์
- แอ็งกรีเบิดส์ สตาร์วอร์ส
- ไมน์คราฟต์
- ไมน์คราฟต์: สตอรีโหมด
เกมออนไลน์ผู้เล่นจำนวนมากแบบเล่นตามบทบาท
- Lost Saga
- RuneScape
- คาบาลออนไลน์
- ซีลออนไลน์
- ดราก้อนเควสต์ X
- ทริกสเตอร์ออนไลน์
- ปังย่า
- ฟลิฟ ออนไลน์
- มาสเตอร์ออฟเอพิก
- ยุทธภพครบสลึง
- ลินเนจ
- ลินเนจ 2
- วันเดอร์แลนด์ออนไลน์
- สตาร์ วอร์ส: ดิโอลด์รีพับลิค
- อสุรา
- เดอะซิมส์ ออนไลน์
- เทลส์รันเนอร์
- เมเปิลสตอรี
- แบล๊คโร้ค
- แร็กนาร็อกออนไลน์
- แร็กนาร็อกออนไลน์สอง: เลจเจนด์ออฟเดอะเซคันด์
- โยเกิร์ตติ้ง
- ไฟนอลแฟนตาซี XI
- ไฟนอลแฟนตาซี XIV
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Dragon Quest X